You are on page 1of 14

ขอสอบภาคทฤษฎีระดับมัธยมปลาย

การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 10
The Tenth Thailand Astronomy Olympiad: 10th TAO
ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ
26 เมษายน 2556 เวลา 8:00 – 13:00 น.

คําแนะนํา
1. มีขอสอบ 4 ขอ คะแนนรวม 60 คะแนน ใหเวลาทําขอสอบ 5 ชั่วโมง
2. ใชปากกาสีน้ําเงินหรือสีดําเทานั้น
3. ในแตละขอมีกระดาษสรุปคําตอบและกระดาษเขียนตอบ
4. กระดาษเขียนตอบใชเฉพาะดานหนาและเขียนภายในกรอบที่กําหนดใหเทานั้น เขียนทุก
สิ่งที่คิดวาจําเปนในการแสดงวิธีทําและตองการใหตรวจลงบนกระดาษเขียนตอบ
5. ใหนักเรียนใชคาคงที่ที่กําหนดใหเทานั้น
6. ในการตอบคํ า ถามที่ เ ป น ตั วเลขตอ งตอบให มีจํา นวนเลขนัยสํ า คัญที่สอดคลองกั บ
ขอมูลที่ใหมา
7. ตอ งใส ห มายเลขประจํา ตั ว นั ก เรี ยนในช อ งที่ หัว กระดาษเขี ย นตอบทุ กแผ น ที่ ใ ช
นอกจากนั้ น บนกระดาษเขีย นตอบของแต ล ะขอใหเขีย นเลขข อและเลขหน า ของข อ
ดานบนกระดาษเขียนตอบที่ใชทุกแผนใหชัดเจน ถาแผนใดใชทดหรือไมตองการใหตรวจ
ใหขีดกากบาทตลอดหนานั้น
8. เมื่อทําเสร็จแลวใหจัดเรียงกระดาษสรุปคําตอบไวบนสุด ตามดวยกระดาษเขียนตอบ
กระดาษคําถาม กระดาษทด กระดาษเปลาที่เหลือไวลางสุด หนีบกระดาษทั้งหมดเขา
ดวยกันแลวใสซองวางไวบนโตะสอบ

หามนํากระดาษใดๆ ออกนอกหองสอบโดยเด็ดขาด
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 10 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ขอสอบภาคทฤษฎี 26 เมษายน 2556
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คาคงที่และสูตรที่กําหนดให
มวลของดวงอาทิตย M  = 1.99 × 1030 kg

รัศมีของดวงอาทิตย R = 6.96 × 108 m

กําลังการสองสวาง (luminosity) ของดวงอาทิตย L = 3.826 × 1026 W

คาโชติมาตรปรากฏ (apparent magnitude) ของดวงอาทิตย m = − 26.7


solar constant f  = 1370 Wm −2
มวลของโลก =mE 5.977 × 1024 kg

รัศมีของโลก =RE 6.378 × 103 km

รัศมีของดวงจันทร =
RM 1.738 × 103 km

ระยะทางเฉลี่ยของดวงจันทรจากโลก = 3.844 ×105 km


ระยะทางเฉลี่ยของดาวศุกรจากดวงอาทิตย = 0.72 AU
ระยะทางเฉลี่ยของดาวอังคารจากดวงอาทิตย = 1.52 AU
1 Astronomical Unit ( AU ) = 1.496 ×1011 m
1 parsec ( pc ) = 3.0857 ×1016 m = 206265 AU = 3.2615 ly
1 light year ( ly ) = 9.4605 ×1015 m = 63240 AU = 0.3066 pc
1 tropical year = 365.24219 days
1 sidereal year = 365.25636 days
1 sidereal day = 23h 56m 04s
ระนาบสุริยวิถีเอียงทํามุมกับระนาบศูนยสูตรฟา 23 27′
คาบดาราคติของดวงจันทร (sidereal orbital period) = 27.32166 days
มวลของอิเล็กตรอน me 9.109 × 10−31 kg
=

มวลของโปรตอน m p 1.673 ×10−27 kg


=
คาคงที่ของ Wien’s Displacement law: = 2.898 × 10−3 mK
Stefan-Boltzmann constant σ = 5.67 ×10−8 Wm −2 K −4
Boltzmann constant: =
kB 1.38 × 10−23 J/K
Universal gravitational constant: =
G 6.67 × 10−11 m3 kg −1s −2
Hubble constant: H = 67.80 km.s −1 / Mpc
Planck constant: =h 6.626 × 10−34 Js
อัตราเร็วแสงในสุญญากาศ: =c 2.998 ×108 m/s

2
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 10 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ขอสอบภาคทฤษฎี 26 เมษายน 2556
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
Avogadro constant = N a 6.0225 × 1023 per mole
Mass-luminosity relation สําหรับดาวใน Main Sequence: L ∝ M 3.5
h hf
โมเมนตัมของโฟตอน = =
λ c

กําหนดให ทรงกลมมีรัศมีเทากับ 1
sin a sin b sin c
1. = =
sin α sin β sin γ
=
2. cos a cos b cos c + sin b sin c cos α
α b
3. cos α =
− cos β cos γ + sin β sin γ cos a
γ
O c
β a

3
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 10 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ขอสอบภาคทฤษฎี 26 เมษายน 2556
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 1. (30 คะแนน ขอยอยละ 3 คะแนน)

1.1) นักดาราศาสตรซึ่งอยูที่ตําแหนง A และตําแหนง B บนดาวเคราะหดวงหนึ่งพบวาที่เวลาเดียวกันแสงจากดาว


ฤกษไกลดวงหนึ่งเปนดังในรูป ตําแหนง A กับ B อยูหางกัน 1000 km บนระนาบเดียวกันกับดาวฤกษและผานจุด
O (ระนาบแผนกระดาษ) จงประมาณคารัศมีของดาวเคราะห

แสงจากดาวฤกษไกลๆ

10
B

A
O
ดาวเคราะห

1.2) จงหาเวลาสุริยะปรากฏจากนาฬิกาแดดที่กรุงโซลประเทศเกาหลีใตซึ่งมีละติจูด 37° 33’ เหนือ ลองจิจูด 126°


58’ ตะวันออก ณ เวลา 14 นาฬิกา 25 นาที ตามเวลามาตรฐาน GMT +7 ในวันที่ 20 พฤษภาคม 2556 เมื่อ
สมการเวลาแสดงดังกราฟตอไปนี้

4
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 10 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ขอสอบภาคทฤษฎี 26 เมษายน 2556
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.3) ดาว Sirius A มีอุณหภูมิพื้นผิว 10000 K มี apparent magnitude ≈ −1.5 อยูหางจากโลก 2.67 pc จงหา

คารัศมีของดาวนี้

1.4) กล องโทรทรรศนขนาด 2.4 เมตร สามารถสังเกตดาวที่มีโชติมาตรปรากฏต่ําสุดเทาใด เมื่อเทียบกับตามนุษย


(กําหนดใหรูมานตามีเสนผานศูนยกลาง 5 มิลลิเมตร)

1.5) จากภาพ จงหาอัตราสวนของรัศมีดาวแคระขาวเทียบกับดวงอาทิตย

ที่มีอุณหภูมิพื้นผิวเดียวกันกับดวงอาทิตย

1.6) จากการสังเกตซูเปอรโนวาที่อยูหางไกล สามารถวัดความยาวคลื่นของสเปกตรัม Hα ไดเทากับ 682.6 nm จงหา

โชติมาตรปรากฏ (Apparent Magnitude: m) ของซูเปอรโนวานี้ ถากําหนดให Hα มาตรฐานเทากับ 656.3 nm


และซูเปอรโนวานี้มีโชติมาตรสัมบูรณ (Absolute Magnitude: M) เทากับ –20

1.7) ดาวเคราะห m และดาวฤกษ M ตางก็โคจรเปนแนววงกลมรอบจุดศูนยกลางมวลและมีรัศมีของวงโคจรและ


อัตราเร็วรอบจุดศูนยกลางมวลเปน r , R, v,V ตามลําดับ จงหาระยะหางระหวางดาว ในรูปของคาคงที่โนมถวงสากล
G มวล m, M และอัตราเร็ว v,V

5
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 10 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ขอสอบภาคทฤษฎี 26 เมษายน 2556
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.8) ผูสังเกตที่เสนศูนยสูตรมองดูดวงอาทิตยใกลตก พบวา ยอดเขาสูง 1800 เมตร ซึ่งหางไปบนผิวโลก 10 km บัง
แนวการตกของดวงอาทิตยพอดี จงหามุมเงย (altitude) จากขอบฟาที่ดวงอาทิตยเริ่มลับสายตาไป โดยคํานึงถึงความ
โคงของผิวโลก

1.9) จงหาเวลาทองถิ่นที่ดวงอาทิตยขึ้นที่ตําแหนง C ( 100 E 10 N ) เมื่อผูสังเกตที่ตําแหนง B (บนเสนศูนยสูตร)


เห็นดวงอาทิตยขึ้นที่เวลาทองถิ่น 06:00 น. พรอมกับผูสังเกตที่ตําแหนง C พอดี

ขั้วโลก

แนวแสงอาทิตยทํามุม

23 27′ 23 27′
100 E 10 N
กับระนาบอิเควเตอร
C
O
B อิเควเตอร

แนวแสงอาทิตยสัมผัสโลก

1.10) วัตถุมวล m กําลังเคลื่อนที่ภายในกลุมกาซทรงกลมความ


หนาแนนคงที่เทากับ ρ มวล m เคลื่อนที่ในระนาบ XY ซึ่งมี Y

v0
จุดกําเนิด (origin, O) อยูที่ศูนยกลาง โดยมีรูปแบบของสมการ
การเคลื่อนที่ของมวล m ในแนวแกน X และ Y เปน O
r0 m
X

=x (t ) A cos (ωt ) , y ( t )
= B sin (ωt )

ที่เวลาตั้งตนวัตถุอยูหางจากศูนยกลาง r0 และมีความเร็ว v0 ใน

แนวแกน Y
จงหาคาคงที่ ω คาคงที่ A คาคงที่ B และคาความรี (eccentricity) ของวงโคจร

6
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 10 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ขอสอบภาคทฤษฎี 26 เมษายน 2556
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 2. (10 คะแนน)
ดาวฤกษ ทั่วๆ ไปในกาแล็กซีทางชางเผือกจะเคลื่อนที่บนวงโคจรที่แตกตางกัน ที่บริเวณใกลกับดวงอาทิตยดาวฤกษ
สวนมากจะเคลื่อนที่มีแนวโนมไปทางเดียวกัน ซึ่งในบางเวลาจะสามารถเคลื่อนที่เขาใกลกันได
ปจจุบัน Barnard’s star ปรากฏในกลุมดาว Ophiuchus และเคลื่อนที่เปลี่ยนตําแหนงบนทองฟาไดเร็วมาก โดย
สามารถเคลื่อนที่ไดระยะเชิงมุมเทากับขนาดเชิงมุมของดวงจันทรไดในเวลา 180 ป เทานั้น
หากพิจารณาใหดวงอาทิตยอยู ณ ศูนยกลางของระบบพิกัดฉาก จะไดวา ปจจุบัน Barnard’s star อยูที่ตําแหนง
(2.00, 5.67) ปแสง และตําแหนงของ Barnard’s star เมื่อเทียบกับดวงอาทิตยมีการเปลี่ยนแปลงซึ่งสามารถเขียน
เปนสมการไดดังนี้
X (T ) = 2.00 + 0.16T , Y (T ) = 5.67 − 0.45T
โดย T มีหนวยเปน พันป และระยะทางมีหนวยเปน ปแสง
ก. จงหาการเคลื่อนที่เฉพาะ (proper motion) ของ Barnard’s star
ข. ปจจุบัน Barnard’s star อยูหางจากดวงอาทิตยเทาใด
ค. จากนี้ไปนานประมาณกี่ป Barnard’s star จึงจะเขาใกลดวงอาทิตยที่สุด และขณะใกลสุดจะอยูหางกี่ปแสง

ขอ 3. (10 คะแนน)

สมมุติวาดาวดวงหนึ่งมีวิวัฒนาการจนมีโชติมาตรเพิ่มขึ้น 3.1 มันหมุนชาลง 20% โดยระหวางนั้นเสียมวลไปนอยมาก


อุณหภูมิตอนหลังเปนกี่เปอรเซนตของอุณหภูมิที่เริ่มตนเปนเคลวิน

ขอ 4. (10 คะแนน)

การคนหา Extra-Solar Planets นับวาเปนแขนงหนึ่งของดาราศาสตรที่นับวามีความตื่นตัวอยางมากใน


หลายทศวรรษที่ ผ า นมา โดยมี วั ต ถุ ป ระสงคที่ จ ะคน หาดาวเคราะห อื่น นอกระบบสุริย ะที่มีส ภาวะความ
คลายคลึงกับในระบบสุริยะของเรา ในปญหาขอนี้จะไดแสดงใหเห็นถึงความยากลําบากในการคนหา

ก. ถาระบบดาวเคราะหนอกระบบสุริยะ (Extra-Solar Planets) ที่อยูหางออกไป 10 pc มีดาวฤกษที่


เหมือนกันกับดวงอาทิตย (โชติมาตรโบโลเมตริกสมบูรณ, Absolute bolometric magnitude, เทากับ
+4.75) และมีดาวเคราะหที่คลายกับดาวพฤหัสบดีมวล 1.9 ×1027 kg ประพฤติตัวเหมือนกับวัตถุดําที่
มีอุณหภูมิ 122 K โดยมีรัศมีเทากับ 71,400 km โคจรรอบดาวฤกษที่ระยะ 5.203 AU คาบการโคจร
11.86 ป ความรี ว งโคจร 0.048 กล อ งโทรทรรศน อ วกาศฮั บ เบิ ล มี กํ า ลั ง แยกเชิ ง มุ ม ( angular
resolution) อยูที่ประมาณ 0.1′′ สามารถตรวจพบวัตถุที่มีโชติมาตรนอยกวา +30 กลองโทรทรรศน

7
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 10 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ขอสอบภาคทฤษฎี 26 เมษายน 2556
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ฮับเบิลจะสามารถตรวจพบดาวเคราะหดวงนี้ไดหรือไม ในชวงความยาวคลื่นที่ตามองเห็น (visible) ดวย
เทคนิคโฟโตเมตรี (photometry) จงแสดงการคํานวณเพื่ออธิบาย
ข. ถาเราใชวิธีวัดการสายของดาวฤกษโดยดูจากอัตราเร็ววงโคจร (orbital speed) ของดาวฤกษที่หมุนรอบ
จุดศูนยกลางมวลของระบบดาวฤกษและดาวเคราะห จงคํานวณหาอัตราเร็วในวงโคจรของดาวเคราะหนี้
รอบจุดศูนยกลางมวลของระบบ
ค. ถาเทคนิคสเปกโตรสโคป (spectroscopy) ในปจจุบันสามารถวัดความเร็วของดาวฤกษตามแนวรัศมี
มีคา ≥ 1 m s −1 อยากทราบวาคาครึ่งแกนเอก (Semi-major axis) นอยที่สุดของดาวเคราะหที่คลาย
กับดาวพฤหัสบดีที่จะตรวจวัดไดดวยเทคนิคสเปกโตรสโคปมีคาเปนเทาไร จงแสดงการคํานวณเพื่อ
อธิบาย
ความรูเพิ่มเติม : ถานักเรียนทําการคํานวณแบบเดียวกันกับขอ ค. แตพิจารณาดาวเคราะหที่คลายโลก จะพบวา ดวย
เทคนิค สเปกโตรสโคปในปจจุบันจะพบวา คาครึ่งแกนเอกจะมีคานอยมาก จนสิ่งมีชีวิตที่เรารูจักในปจจุบันจะไม
สามารถกําเนิดขึ้นได

*************************

8
กระดาษสรุปคําตอบขอสอบภาคทฤษฎี
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 10 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช 26 เมษายน 2556
รหัสนักเรียน
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 1. (30 คะแนน ขอยอยละ 3 คะแนน)

1.1) คารัศมีของดาวเคราะห .

1.2) เวลาสุริยะปรากฏ นาที

1.3) คารัศมีของดาว Sirius A .

1.4) โชติมาตรปรากฏต่ําสุด .

1.5) อัตราสวนของรัศมีดาวแคระขาว
เทียบกับดวงอาทิตย .
กระดาษสรุปคําตอบขอสอบภาคทฤษฎี
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 10 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช 26 เมษายน 2556
รหัสนักเรียน
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1.6) โชติมาตรปรากฏของซูเปอรโนวา .

1.7) ระยะหางระหวางดาว .

1.8) มุมเงย (altitude) จากขอบฟาที่


ดวงอาทิตยเริ่มลับสายตาไป .

1.9) เวลาทองถิ่นที่ดวงอาทิตยขึ้นที่
ตําแหนง C .

1.10) คาคงที่ ω .

คาคงที่ A .

คาคงที่ B .

คาความรี (eccentricity) .
กระดาษสรุปคําตอบขอสอบภาคทฤษฎี
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 10 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช 26 เมษายน 2556
รหัสนักเรียน
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 2 (10 คะแนน)
ก) การเคลื่อนที่เฉพาะ (proper
motion) ของ Barnard’s star .

ข) ปจจุบัน Barnard’s star อยูหางจาก


ดวงอาทิตย AU

ค) Barnard’s star จึงจะเขาใกลดวง


อาทิตยที่สุดในเวลา ป

ขณะใกลสุดจะอยูหาง ปแสง
กระดาษสรุปคําตอบขอสอบภาคทฤษฎี
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 10 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช 26 เมษายน 2556
รหัสนักเรียน
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 3 (10 คะแนน)

อุณหภูมิตอนหลังเปน เปอรเซนตของอุณหภูมิที่เริ่มตน
กระดาษสรุปคําตอบขอสอบภาคทฤษฎี
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 10 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช 26 เมษายน 2556
รหัสนักเรียน
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 4 (10 คะแนน)
ก) กลองโทรทรรศนฮับเบิลจะสามารถ
ตรวจพบดาวเคราะหดวงนี้ไดหรือไม .

ข) อัตราเร็วในวงโคจรของดาวเคราะห
รอบจุดศูนยกลางมวลของระบบ .

ค) คาครึ่งแกนเอก (Semi-major axis)


นอยที่สุดของดาวเคราะห์ที่คล้ ายกับ
ดาวพฤหัสบดี ที่จะตรวจวัดไดดวย .
เทคนิคสเปกโตรสโคป
กระดาษเขียนตอบขอสอบภาคทฤษฎี
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 10 (ระดับมัธยมปลาย)
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ จังหวัดนครศรีธรรมราช 26 เมษายน 2556
ขอที่.........หนาที่ .......... รหัสนักเรียน
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

You might also like