You are on page 1of 29

การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 1. ดวงอาทิตย์ในอนาคต [10 คะแนน]
จาก H-R diagram ที่กำหนดให้ จงหาว่าเมื่อดวงอาทิตย์มีวิวัฒนาการไปเป็นดาวยักษ์แดงซึ่งมีสมบัติท างฟิสิกส์
เดียวกับดาว Arcturus ดวงอาทิตย์จะมีขนาดของรัศมีเท่าใด และจงประมาณค่าอุณ หภูมิผิวของโลกในตอนนั้ น
โดยไม่คิดผลของปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect)

เฉลยข้อ 1. ดวงอาทิตย์ในอนาคต
อ่านค่าจาก H-R diagram:
𝐿Arcturus = 102 LSun , 𝑇Arcturus = 4000 K, 𝑇Sun = 5800 𝐾 [2 คะแนน]
ใช้ 𝐿 = 4π𝑅2 σ𝑇 4
𝑅𝐴𝑟𝑐𝑡𝑢𝑟𝑢𝑠 2 𝐿𝐴𝑟𝑐𝑡𝑢𝑟𝑢𝑠 𝑇𝑆𝑢𝑛 5800
( RSun
) = LSun
(𝑇
𝐴𝑟𝑐𝑡𝑢𝑟𝑢𝑠
)4 = 102 (4000)4 [2 คะแนน]
𝑅𝐴𝑟𝑐𝑡𝑢𝑟𝑢𝑠 = 21.0R Sun = 1.46 × 107 km [1 คะแนน]
ดวงอาทิตย์จะมีขนาดรัศมี 1.5 × 107 km

4
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ประมาณอุณหภูมิผิวโลกจาก thermal equilibrium
Black body radiation ของโลก = (พลังงานที่โลกได้รับจากดวงอาทิตย์)(พลังงานที่โลกสะท้อนกลับ)
𝐿Arcturus
4𝜋𝑅Earth 2 𝜎𝑇Earth 4 = 4𝜋𝑑 2
𝜋𝑅Earth 2 (1 − 𝑎) [3 คะแนน]
เมื่อ 𝑑 คือระยะห่างของโลกจากดวงอาทิตย์ และ 𝑎 คือค่า albedo ของโลก
Note: 1 คะแนนจาก term: Black body radiation ของโลก
1 คะแนนจาก term: พลังงานที่โลกได้รับจากดวงอาทิตย์
1 คะแนนจาก term: พลังงานที่โลกสะท้อนกลับ
102 𝐿Sun
𝑇Earth 4 = (1 − 0.29)
16𝜋𝑑 2 𝜎

𝑇Earth 4 = 4.26 × 1011 K 4


จะได้ 𝑇𝐸 = 808 𝐾 [2 คะแนน]

5
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 2. ดาว Vega [10 คะแนน]
a) จงแสดงว่าอายุขัยของดาวฤกษ์ในแถบลำดับหลัก (main sequence) (𝑇𝑀𝑆 ) สามารถประมาณได้จาก
𝑇𝑀𝑆 𝑀𝑀𝑆 −2.5
=( )
𝑇𝑆𝑢𝑛 MSun
หากดาวฤกษ์อ อกจากแถบลำดับหลัก เมื่อ ใช้มวลไป 10% กำหนดให้ปฏิกิริย าเทอร์โมนิ วเคลียร์ฟิ วชัน (fusion)
ของไฮโดรเจนเป็นฮีเลียมมีการเปลี่ยนมวลเป็นพลังงาน 0.71% b) จงแสดงการประมาณอายุขัยของดวงอาทิตย์ใน
แถบลำดับหลัก และ c) จงประมาณโดยใช้สมการที่กำหนดให้ ว่าดาว Vega ซึ่งมีมวล 2.1 เท่าของดวงอาทิตย์ จะ
มีอายุขัยในแถบลำดับหลักเท่าใด

เฉลยข้อ 2. ดาว Vega


a) อายุขัย (𝑇) ของดาวฤกษ์ สามารถประมาณได้จาก มวลทั้งหมดที่เปลี่ยนเป็นพลังงาน (∆𝑚) /กำลัง
ส่องสว่าง (𝐿)
𝑇 ∝ (∆𝑚 ∙ c 2 )/𝐿
นั่นคือ
𝑇 ∝ 𝑀/𝐿 [2 คะแนน]
เมื่อ 𝑀 คือมวลของดาวฤกษ์ ดังนั้น
𝑇𝑀𝑆 𝑀 𝐿
= (M 𝑀𝑆 )( L𝑆𝑢𝑛)
𝑇𝑆𝑢𝑛 Sun MS

จะได้
𝑇𝑀𝑆 𝑀 𝑀
= (M 𝑀𝑆 )(M 𝑀𝑆 )−3.5
𝑇𝑆𝑢𝑛 Sun Sun
𝑇𝑀𝑆 𝑀𝑀𝑆 −2.5
𝑇𝑆𝑢𝑛
=(
MSun
) [2 คะแนน]
โดย 𝑀𝑆 ในสมการหมายถึง main sequence

b) ประมาณอายุขัยของดวงอาทิตย์
𝑇 = (0.1 × 0.0071 × MSun c 2 )/LSun [2 คะแนน]
𝑇 = (0.1 × 0.0071 × 1.99 × 1030 × c 2 )/(3.83 × 1026)
𝑇 = 3.3 × 1017 seconds = 1.0 × 1010 years [2 คะแนน]

4
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
c) อายุขัยของดาว Vega
𝑇𝑉𝑒𝑔𝑎
= (2.1)−2.5 = 0.16
𝑇𝑆𝑢𝑛

จะได้ 𝑇𝑉𝑒𝑔𝑎 = 1.6 𝐺𝑦𝑟 [2 คะแนน]

5
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยม)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 3. พลังค์ฟังก์ชัน [10 คะแนน]
ระบบดาวคู่ ประกอบด้วยดาวฤกษ์ A ที่มีอุณหภูมิพื้นผิว 6,000 K และดาวฤกษ์ B ที่มีอุณหภูมิพื้นผิว 3,000 K
เมื่อ สัง เกตการณ ์ใ นช่ว งความยาวคลื่น 600 nm ดาวฤกษ์ A มีโ ชติม าตรปรากฏน้อ ยกว่า ดาวฤกษ์ B
1.0 magnitude อยากทราบว่าเมื่อสังเกตในช่วงความยาวคลื่น 1,200 nm ดาวฤกษ์ดวงใดมีความสว่างกว่า และ
มีโชติม าตรปรากฏต่า งกัน เท่า ใด กำหนดให้ก ารสังเกตการณ์ท ั้งสองความยาวคลื่น ทำในช่ว งความยาวคลื่น
(Bandwidth) แคบๆ
$%&'
กำหนดให้พลังค์ฟังก์ชัน 𝐸" = "( W·steradian−1·m−2·Hz−1
) *+/-./ 01

เฉลยข้อ 3. พลังค์ฟังก์ชัน [10 คะแนน]


จาก
<=
𝑚3 − 𝑚5 = −2.5 log
<>
[1]
<=(BCCDE)
−1.0 = −2.5 log
<>(BCCDE)

<=(BCCDE)
<>(BCCDE)
= 2.511 [2]
< " ) ( 01*+/-GHCCDE ./
อัตราส่วนกำลังของสองความยาวคลื่น <(GHCCDE)
(BCCDE)
= GHCCDE
"( ) *+/-BCCDE ./ 01
[2]
BCCDE

KL ).(BCCC)
<=(BCCDE) ) *+/(GHCC×GC 01
ดาว A <=(GHCCDE)
=2 I
KL
) *+/(BCC×GC ).(BCCC) 01

<=(BCCDE)
<=(GHCCDE)
= 3.815 [1]

KL ).(OCCC)
<>(BCCDE) ) *+/(GHCC×GC 01
ดาว B <>(GHCCDE)
=2 I
KL
) *+/(BCC×GC ).(OCCC) 01

<>(BCCDE)
<>(GHCCDE)
= 0.576 [1]
<=(GHCCDE)
<>(GHCCDE)
= 0.379 [1]

𝑚3 − 𝑚5 = 1.05 [1]

ดาว B สว่างกว่า โดยมีโซติมาตรปรากฏต่างกัน 1.05 เมื่อสังเกตการณ์ในช่วงความยาวคลื่น 1200 nm [1]

4
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยม)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 4. Greatest elongation [10 คะแนน]
ดาวศุกร์อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 0.72 AU และ ดาวอังคารอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 1.52 AU ถ้าขณะหนึ่งดาวศุกร์
อยู่ในตำแหน่ง Greatest elongation และผู้สังเกตบนโลกเห็นดาวศุกร์และดาวอังคารอยู่ในแนวเล็งเดียวกัน
(Planetary conjunction) ดาวศุกร์และดาวอังคารจะอยู่ห่างกันกี่ AU สมมติให้ดาวเคราะห์เคลื่อนที่เป็นวงกลม
รอบดวงอาทิตย์

เฉลยข้อ 4. Greatest elongation [10 คะแนน]


แสดงความเข้าใจตำแหน่งของดาวเคราะห์โดยการวาดรูปหรือใช้สมการอธิบายได้ชัดเจน [2]
เมื่อดาวศุกร์อยู่ในตำแหน่ง Greatest elongation ผู้สังเกตบนโลกจะเห็นดาวศุกร์มีมุมห่างจากดวงอาทิตย์
&.()
sin 𝜃 =
*.&&
[1]

𝜃 = 46.05° [1]

ระยะห่างระหว่างโลกถึงดาวศุกร์
&.()
tan 46.05° =
23
[1]

𝑑5 = 0.69 [1]

ระยะห่างระหว่างโลกถึงดาวอังคาร
)
1.52) = 𝑑9 + 1) − 2𝑑9 cos 46.05° [1]
𝑑9 = 2.03, −0.64

เนื่องจากเป็นตำแหน่งที่ผู้สังเกตบนโลกเห็นดาวศุกร์ และดาวอังคารอยู่ในตําแหน่งร่วมทิศ เลือกคำตอบ


𝑑9 = 2.03 [2]

ระยะห่างระหว่างดาวศุกร์ถึงดาวอังคาร

𝑑9 − 𝑑5 = 1.34 [1]

ดาวศุกร์และดาวอังคารจะอยู่ห่างกัน 1.34 หน่วยดาราศาสตร์

4
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยม...)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 5. อาทิตย์เที่ยงคืน [10 คะแนน]
ผู้สังเกตที่ละติจูด 80 องศาเหนือ จะมีโอกาสเห็นปรากฏการณ์พระอาทิตย์เที่ยงคืนประมาณกี่วันในหนึ่งปี

เฉลยข้อ 5. อาทิตย์เที่ยงคืน [10 คะแนน]

ผู้สังเกตที่ละติจูด 80 องศาเหนือ จะมีโอกาสเห็นปรากฏการณ์พระอาทิตย์เที่ยงคืนเมื่อดวงอาทิตย์มี Declination


มากกว่า 10 องศา [2]

sin 𝛿 = sin 𝜆 sin 23°26′21″. 411 [3]

sin 10° = sin 𝜆 sin 23°26′21″. 411

𝜆 = 25° 533 , 154° 7′ [2]

ปรากฏการณ์พระอาทิตย์เที่ยงคืนเมื่อดวงอาทิตย์มี Ecliptic longitude ระหว่าง 25° 333 และ 154° 44′


กล่าวคือมีจำนวนวันที่เกิดปรากฏการณ์ดังกล่าวทั้งหมด
678° 9:; <97° ==;
×365d 05h 48m 45.19s = 130 วัน
=:>°
ควรใช้ Tropical year ในการคำนวณที่ถูกต้อง หากใช้ 365.25 วัน หรือค่าใกล้เคียงยังคงได้คะแนนเต็มใน
การแข่งขันครั้งนี้ หากตอบ 130 วัน หรือ 131 จะได้คะแนนเต็ม [3]

4
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยม)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 14 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 6. ดาว Dubhe [20 คะแนน]
ดาว Dubhe มีเดคลิเนชัน (Declination) เท่ากับ +61° 45′ 03” และไรท์แอเซนชัน (Right ascension) เท่ากับ
11, 03- 43. ให้ผ ู้ส ัง เกตอยู่ท ี่ล ะติจ ูด 20° 00′ 00” ใต้ ลองจิจ ูด 95° 00′ 00” ตะวัน ตก ในวัน วสัน ตวิษ ุว ัต
(Vernal Equinox) ขณะที่ RA เท่ากับ 0, ตรงกับเวลาท้องถิ่นปานกลาง (Local mean time) 18:00 น. และไม่
พิจารณาสมการเวลา (Equation of time)
a) ดาว Dubhe ขึ้นและตกที่มุมทิศ (Azimuth) เท่าใด (มุมทิศเริ่มจากทิศเหนือวนไปทางตะวันออก) พร้อม
ทั้งวาดรูปแสดงวิธีการคำนวณ [7 คะแนน]
b) ดาว Dubhe ขึ้นและตกที่เวลามาตรฐานท้องถิ่น (Local standard time) เท่าใด กำหนดให้ผู้สังเกตอยู่ที่
เขตเวลา UTC-6
[13 คะแนน]

เฉลยข้อ 6. ดาว Dubhe [20 คะแนน]


a) มุม Azimuth ที่ดาว Dubhe ขึ้นและตกที่ขอบฟ้า [2]

Zenith
Celestial 90°+L
Meridian 𝜃

HA SCP
90° 90°+𝛿
E

N S
Dubhe

W Horizon

NCP

จาก

𝜃 = 180° − 𝐴

หามุม 𝜃 จากกฎของ Cosine

4
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยม)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 14 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

cos(90° + 𝛿) = cos(90°) cos 90° + 𝐿 + sin(90°) sin 90° + 𝐿 cos 𝜃 [1]

cos(151° 45′ 03” ) = sin 70° cos 𝜃

𝜃 = 159° 37′ 28”, 200° 22′ 31" [2]

𝐴 = 20° 22′ 31”, 339° 23′ 27”

ดาว Dubhe ขึ้นที่มุม Azimuth 20° 22′ 31” [1]

ดาว Dubhe ตกที่มุม Azimuth 339° 23′ 27” [1]

b) หามุม HA ขณะดาว Dubhe ขึ้น และตกลับขอบฟ้า จากกฎของ sine


.BC DE .BC HIF° JKL MN”
.BC FG°
=
.BC(HIH° OIL GJ”)
[1]

𝐻𝐴 = 47° 21′ 31′′

𝐻𝐴 = 3, 9- 26. , 20, 50- 34. [2]

คำนวณเวลาดาราคติท้องถิ่นของดาว Dubhe

𝐿𝑆𝑇 = 𝑅𝐴 + 𝐻𝐴

𝐿𝑆𝑇 = 11, 03- 43. + 𝐻𝐴

𝐿𝑆𝑇 = 14, 13- 9. , 7, 54- 16. [2]

ดวงอาทิตย์ในวัน Vernal equinox มีค่า RA เท่ากับ 0° และ ณ เวลา 18:00 น. มี HA เท่า 6T มี LST เท่ากับ
6T แสดงว่าดาว Dubhe ขึ้นหลัง

7, 54- 16. − 6, = 1, 54- 16. [1]

และตกหลัง

5
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยม)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 14 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
14, 13- 9. − 6, = 8, 13- 9. [1]

ดวงอาทิตย์ ในหน่วย Sidereal time ปรับช่วงเวลา ซึ่งช่วงเวลาดาราคติ 24T เท่ากับเวลาสุริยคติ 23T 56U 4V
23ℎ 56𝑚 4𝑠
𝐿𝑆𝑇× = 1, 53- 57. , 8, 11- 48. [2]
24ℎ

จากการที่คำนวณ ณ เวลา 18:00 น. ดังนั้นจะได้เวลา Local mean time เท่ากับ

𝐿𝑀𝑇 = 19: 53: 57, 02: 11: 48 [2]

เนื่องจากผู้สังเกตอยู่ที่ลองจิจูด 95 องศาตะวันตก แต่เวลามาตรฐานเปรียบเทียบกับลองจิจูด 90 องศาตะวันตก


แสดงว่าเวลา Local time ช้ากว่าเวลามาตรฐาน 20 นาที

𝑆𝑇𝑍 = 20: 13: 27, 02: 31: 48 [2]

6
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยม)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 14 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 7. Daylight saving time [20 คะแนน]
Daylight saving time คือการปรับเวลาท้องถิ่นมาตรฐานให้เร็วขึ้นจากเดิม 1 ชั่วโมงในฤดูร้อนและฤดูใบไม้ผลิ
และช้าลงในฤดูหนาวและฤดูใบไม้ร่วง เพื่อให้สอดคล้องกับกิจกรรมประจำวันของมนุษย์
ในการขึ้นตกของดวงอาทิตย์คิดจากตำแหน่งกึ่งกลางดวงอาทิตย์ และไม่คิดผลของการหักเหแสง โดยประมาณว่า
ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่บนเส้นสุริยวิถี (Ecliptic) อย่างสม่ำเสมอ และไม่คิดถึงสมการเวลา (Equation of time)
a) จงหาสมการความยาวของช่วงเวลากลางวัน (ดวงอาทิตย์อยู่เหนือขอบฟ้า) ในรูปของ 𝛿 และ 𝜙 เมื่อดวง
อาทิตย์มี Declination 𝛿 และผู้สังเกตอยู่ที่ละติจูด 𝜙 องศาเหนือ [4 คะแนน]
b) จากข้อ a) จงหาสมการความยาวของช่วงเวลากลางวัน ในรูปของ 𝜆 และ 𝜙 เมื่อผู้สังเกตอยู่ที่ละติจูด 𝜙
องศาเหนือ และค่าลองจิจูดสุริยะวิถี (Ecliptic longitude) ของดวงอาทิตย์มีค่าเท่ากับ 𝜆 [2 คะแนน]
c) หากไม่มีการใช้ Daylight saving time ผู้สังเกตที่ละติจูด 45 องศาเหนือจะมีวันที่ดวงอาทิตย์ตกหลัง
เวลาท้องถิ่นปานกลาง (Local mean time) 20:00 น. จำนวนกี่วัน [7 คะแนน]
d) หากมีการใช้ Daylight saving time ระหว่างวันที่ 21 มีนาคม ถึง 21 กันยายน ผู้สังเกตที่ละติจูด 45
องศาเหนือจะมีวันที่ดวงอาทิตย์ตกหลังเวลา 20:00 น. ในเวลาท้องถิ่นท้องถิ่นปานกลาง (Local mean
time) จำนวนกี่วัน [7 คะแนน]

4
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยม)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 14 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลยข้อ 7. Daylight saving time [20 คะแนน]
a)

Zenith
90°-L
Celestial
Meridian 𝜃

NCP HA 90°
E
90°-𝛿
N S
Sun

W
Horizon SCP

จากกฎของ Cosine

cos 90° = cos(90° − 𝛿) cos 90° − 𝐿 + sin(90° − 𝛿) sin 90° − 𝐿 cos 𝐻𝐴


[1]
cos 𝐻𝐴 = − cot(90° − 𝛿) cot 90° − 𝐿

𝐻𝐴 = cos 56 (− cot 90° − 𝛿 cot 90° − 𝐿 ) [2]

ระยะเวลากลางวัน 2 cos−1 (− cot 90° − 𝛿 cot 90° − 𝐿 ) [1]

b) จาก
sin 𝛿 = sin 𝜆 sin 23°26′21″. 411 [1]
ระยะเวลากลางวัน 2 cos56 (− cot 90° − sin56 (sin 𝜆 sin 23°26′21″. 411) cot 90° − 𝐿 ) [1]

5
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยม)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 14 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
c) วันที่ดวงอาทิตย์ตกหลัง 20:00 น. ในเวลาท้องถิ่น คือวันที่ระยะเวลากลางวันมากกว่า 16 ชั่วโมง [2]
16@ > 2 cos 56 (− cot 90° − sin56 (sin 𝜆 sin 23°26′21″. 411) cot 90° − 𝐿 ) [1]

8@ > cos 56 (− cot 90° − sin56 (sin 𝜆 sin 23°26′21″. 411) )

0.5 < cot 90° − sin56 (sin 𝜆 sin 23°26′21″. 411)

63°26′5" > 90° − sin56 (sin 𝜆 sin 23°26′21″. 411)

0.447 < sin 𝜆 sin 23°26′21″. 411

sin 𝜆 > 1.11

ไม่มีวันที่ดวงอาทิตย์ตกหลัง 20:00 น. ในเวลาท้องถิ่น [4]

d) วันที่ดวงอาทิตย์ตกหลัง 20:00 น. ในเวลาท้องถิ่น เมื่อมีการคิด Day light saving time เปรียบเสมือน


วันที่ระยะเวลากลางวันมากกว่า 14 ชั่วโมง [2]

14@ > 2 cos 56 (− cot 90° − sin56 (sin 𝜆 sin 23°26′21″. 411) cot 90° − 𝐿 ) [1]

7@ > cos 56 (− cot 90° − sin56 (sin 𝜆 sin 23°26′21″. 411) )

0.258 < cot 90° − sin56 (sin 𝜆 sin 23°26′21″. 411)

75°29′21" > 90° − sin56 (sin 𝜆 sin 23°26′21″. 411 ′)

0.250 < sin 𝜆 sin 23°26′21″. 411

𝜆 = [38°56H 20":141°3'40"] [2]

Δ𝜆 = 102° [1]

มีวันที่ดวงอาทิตย์ตกหลัง 20:00 น. ในเวลาท้องถิ่น เมื่อมีการคิด Day light saving time ทั้งหมด


6MN°
×365d 05h 48m 45.19s = 103 วัน
NOM°

ควรใช้ Tropical year ในการคำนวณที่ถูกต้อง หากใช้ 365.25 วัน หรือค่าใกล้เคียงยังคงได้คะแนนเต็มใน


การแข่งขันครั้งนี้ หากตอบ 103 วัน จะได้คะแนนเต็ม [1]

6
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยม)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15มิถุนายน 2565
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 8. ระบบดาวคู่ [20 คะแนน]
ระบบดาวคู่ระบบหนึ่งประกอบด้วยดาวนิวตรอนรัศมี 10 กิโลเมตร และดาวแคระน้ำตาลอีกดวงหนึ่ง ดาวทั้ง
สองโคจรเป็นวงกลมด้วยคาบ 42 นาที ดาวนิวตรอนมีความเร็วในการโคจร 11 กิโลเมตรต่อวินาที ในขณะที่
ดาวอีกดวงโคจรด้วยความเร็ว 770 กิโลเมตรต่อวินาที และในระบบดาวคู่นี้มีการถ่ายเทมวลสาร Δ𝑚 จาก
ดาวแคระน้ำตาลมายังผิวดาวนิวตรอนด้วยอัตรา 𝑚 = ∆𝑚 ∆𝑡
พลังงานศักย์โน้มถ่วงของมวลสารที่ถูกถ่ายเทใน
ระบบดาวคู่ถูกเปลี่ยนไปเป็นรังสีความร้อน โดยมีการปลดปล่อยพลังงานทั้งหมดนี้ในรูปของการแผ่รังสีแบบ
วัต ถุด ำที่ผ ิวดาวนิวตรอน กำลังส่อ งสว่างของดาวนิวตรอนจึงสัม พัน ธ์ก ับ มวลสารที่ถ ูก ถ่ายเทมาจนถึงดาว
นิวตรอน ตามสมการ 𝐿 = 𝐺𝑀𝑚 𝑅
เมื่อ 𝑀 และ 𝑅 คือมวลและรัศมีของดาวนิวตรอน ตามลำดับ
a) จงคำนวณหามวลของดาวนิวตรอนและดาวแคระน้ำตาล [10 คะแนน]

b) ถ้าวัดค่าอุณหภูมิที่ผิวดาวนิวตรอนได้ 12.7 x 106 เคลวิน จงคำนวณค่าอัตราการถ่ายเทมวลสารที่เกิดขึ้น


ในหน่วยกิโลกรัมต่อวินาที [6 คะแนน]

c) สมมติให้อัตราการถ่ายเทมวลสารในระบบดาวคู่นี้มีค่าคงที่ นานเท่าใดมวลสารจากดาวแคระน้ำตาล จะถูก


ถ่ายเทไปยังดาวนิวตรอนจนหมด (ตอบในหน่วยปี) [4 คะแนน]

เฉลยข้อ 8. ระบบดาวคู่
a) คำนวณหาขนาดมวลของดาวนิวตรอนและดาวแคระน้ำตาล [10 คะแนน]
𝑣𝑛 𝑃
รัศมีวงโคจรของดาวนิวตรอน 𝑎+ =
2𝜋
[1]
11 km
s ×42 ×60 𝑠
𝑎+ =
2𝜋
= 4,410 km [1]
𝑣 𝑃
รัศมีวงโคจรของดาวอีกดวง 𝑎< = 𝑏
2𝜋
770 km
s ×42 ×60 𝑠
𝑎< =
2𝜋
= 308,700 km [1]

4𝜋2 𝑎3
จาก 𝑀ABCDE = 2 [1]
𝑃 𝐺
3
4𝜋2 (308,700+4,410 km)
𝑀ABCDE = 2 −11 [1]
42 ×60 s (6.67 ×10 m3 kg−1 s−2 )
𝑀ABCDE = 2.858×10MN kg = 1.436 𝑀⊙ [1]
𝑀
พิจารณา 𝑀+ + 𝑀< = 𝑀+ 1 + 𝑏 = 1.436 𝑀⊙ [1]
𝑀𝑛

1
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยม)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15มิถุนายน 2565
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
𝑀 𝑏 𝑎𝑛
และจาก =
𝑀 𝑛 𝑎𝑏
𝑎𝑛
จะได้ 𝑀+ + 𝑀< = 𝑀+ 1 +
𝑎𝑏
= 1.436 𝑀⊙ [1]
4,410
𝑀+ 1+ = 1.436 𝑀⊙
308,700
𝑀+ = 1.416 𝑀⊙ [1]
และ 𝑀P = 0.02 𝑀⊙ [1]

b) พิจารณาสมการ 𝐿 = 𝜎 𝑇 S 4𝜋𝑅T [1]


𝐿 = 5.67 ×10UV 12.7×10W S 4 𝜋 (10S )T [1]
𝐿 = 1.85 ×10MN W [1]
จาก 𝐿 = 𝐺𝑀𝑚
𝑅
[1]
30 4
𝐿𝑅 (1.85 ×10 )(10 )
𝑚= =
𝐺𝑀 (6.67 ×10−11 )(1.416 ×1.99 ×1030 )
[1]
𝑚 = 9.84 ×10ZM kg/s [1]

c) ดาวแคระน้ำตาลมีมวล 𝑀< = 0.02 𝑀⊙ = 3.98×10TV kg [1]


และอัตราการถ่ายเทมวลสารมีค่าคงที่ คือ 𝑚 = 9.84 ×10ZM kg/s
เวลาที่มวลสารจากดาวฤกษ์ถูกถ่ายเทจนหมด คือ
Δ𝑡 = 𝑀𝑏 /𝑚 = (3.98×1028 )/(9.84 ×1013 ) = 4.04×1014 s [2]
Δ𝑡 = 1.28×107 yr [1]

2
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ข้อ 9. Hohmann Transfer [30 คะแนน]


เราอาจเปลี่ยนรัศมีวงโคจรของยานอวกาศโดยใช้ Hohmann Transfer
B
Orbit ซึ่งเป็นเส้นทางการเคลื่อนที่แบบวงรีระหว่างวงโคจรที่เป็นวงกลม 2
วง การเปลี่ยนวงโคจรแบบนี้โดยปกติใช้พลังงานจากเชื้อเพลิงน้อยที่สุด 𝑟$
ภาพด้านขวาแสดงการโคจรรอบมวล 𝑀 โดยมีการเผาไหม้เชื้อเพลิงเป็น
ระยะเวลาสั้น ๆ ที่จุด A ของวงโคจรเริ่มต้นรัศมี 𝑟# และเผาไหม้อีกครั้งที่ 𝑀
จุด B เมื่อยานอวกาศเดินทางมาถึงวงโคจรเป้าหมายรัศมี 𝑟$ แรงขับจาก 𝑟#
เชื้อเพลิงจะอยู่ในแนวสัมผัสวงโคจร (หรือตั้งฉากกับรัศมีวงโคจร) A

a) จงหาเวลาการเคลื่อนที่จาก A ไป B เขียนคำตอบในรูปของ 𝑀, 𝑟# และ 𝑟$ [4 คะแนน]


b) แทนค่าเพื่อหาเวลาเป็นตัวเลขในหน่วยปี สำหรับการเปลี่ยนจากวงโคจรของโลกไปยังวงโคจรของดาว
อังคาร แล้วคำนวณหามุมห่าง (elongation) ของดาวอังคารเมื่อวัดจากโลกที่จุด A เพื่อให้ยานอวกาศไป
เจอดาวอังคารที่จุด B พอดี (ไม่ต้องคำนึงถึงผลของแรงโน้มถ่วงของโลกและการหมุนรอบตัวเองของโลก)
[6 คะแนน]
c) การเผาเชื้อเพลิงเป็นเวลาสั้น ๆ ทำให้อัตราเร็วของยานเปลี่ยนไป Δ𝑣# ที่จุด A และ Δ𝑣$ ที่จุด B
เมื่อรวมการเปลี่ยนอัตราเร็ว Δ𝑣 = Δ𝑣# + Δ𝑣$ = 𝛽 +, -.
จงหาค่า 𝛽 ในรูปของ 𝑟# และ 𝑟$
[13 คะแนน]
d) กำหนดให้ระยะห่างวงโคจรเฉลี่ยของดาวเคราะห์มีค่าดังนี้

ดาวอังคาร 1.52 AU
ดาวพฤหัสบดี 5.20 AU
ดาวเสาร์ 9.54 AU
ดาวยูเรนัส 19.2 AU
ดาวเนปจูน 30.0 AU
ดาวเคราะห์ X ∞

จงหาค่า 𝛽 สำหรับการเปลี่ยนจากวงโคจรของโลกไปยังวงโคจรของดาวเคราะห์ทั้ง 6 ดวง พร้อมทั้งระบุว่า


การเปลี่ยนวงโคจรไปยังดาวเคราะห์ดวงใดที่ต้องใช้เชื้อเพลิงมากที่สุด (Δ𝑣 มากที่สุด) [7 คะแนน]

4
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เฉลยข้อ 9. Hohmann Transfer [30 คะแนน]


a)
-. 1-2
ระยะ Semi-major axis ของ transfer orbit คือ 𝑎=
3
[1]
567 -. 1-2 8
จากกฎของเคปเลอร์ คาบของ transfer orbit คือ 𝑇3 =
+, 9
[2]
; -. 1-2 8
ดังนั้นเวลาที่ใช้เคลื่อนที่ (ครึ่งคาบ) เท่ากับ 𝑡 = 3 = 𝜋 9+,
[1]

b)
B
1.52

S 𝜃

1
𝜙
A C

แทนค่า 𝑟# = 1 au และ 𝑟$ = 1.52 au ได้ 𝑡 = 0.7072 ปี [1]

คาบการโคจรของดาวอังคารเท่ากับ 1.52F = 1.874 ปี [1]


N.ONO
ดังนั้น 𝜃 = 360 × ∘
P.9O
= 135.9 ∘
[1]

ให้ C เป็นตำแหน่งของดาวอังคาร และ 𝜙 เป็น elongation


จาก cosine law ระยะ AC = 13 + 1.523 − 2 ⋅ 1 ⋅ 1.52 cos 180∘ − 135.9∘ = 1.062 au [1]
XYZ P9N∘ ]PF\.^∘
จาก sine law XYZ [
P.\3
=
P.N_3
ดังนั้น 𝜙 = 85∘ หรือ 95∘ [1]
เลือกคำตอบ 95∘ เพราะ 1.52 cos 180∘ − 135.9∘ > 1 จึงเป็นมุมป้าน [1]
[หรือใช้ cosine law อีกครั้งก็จะได้คำตอบเดียวกัน]

5
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

c)
ให้ยานมวล 𝑚 มีมวลพลังงานรวมของ transfer orbit
+,d +,d
𝐸c = −
3#
=−
-. 1-2
[2]
ระหว่างที่ยังอยู่ในวงโคจร transfer orbit 𝐸c = P3 𝑚𝑣 3 − +,d
-
=−
+,d
-. 1-2
[2]

ที่จุด A
𝐺𝑀
มีความเร็วต้นของการโคจรวงกลม 𝑣e = -.
[1]
หลังจากเผาเชื้อเพลิงมีอัตราเร็ว 𝑣# = 𝑣e + Δ𝑣# [1]
เมื่อเข้าสู่ transfer orbit ที่จุด A พลังงาน 𝐸c = P3 𝑚 𝑣e + Δ𝑣# 3

+,d
-.
=−
+,d
-. 1-2
[1]
3+, 3+, +, +, 3-2
จัดรูป Δ𝑣# = -.

-. 1-2

-.
หรือ
-. -. 1-2
−1 [1]

ที่จุด B
วงโคจร transfer orbit ที่จุด B พลังงาน 𝐸c = P3 𝑚𝑣$3 − +,d
-2
=−
+,d
-. 1-2
[1]
3+, 3+,
จัดรูปได้ 𝑣$ = -2

-. 1-2
[1]
𝐺𝑀
มีความเร็วสุดท้ายเมื่อโคจรเป็นวงกลม 𝑣g = -2
[1]
+, 3+, 3+, +, 3-.
ดังนั้น Δ𝑣$ = 𝑣g − 𝑣$ = -2

-2

-. 1-2
หรือ -2
1−
-. 1-2
[1]

+, 3-2 -. 3-.
สำหรับ Δ𝑣# + Δ𝑣$ = 𝛽 -.
ได้ 𝛽 = -. 1-2
−1 +
-2
1−
-. 1-2
[1]

6
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

3-2 /-. P 3
d) จาก 𝛽 = P1-2 /-.
−1 +
-2 /-.
1−
P1-2 /-.
ได้ว่า

ดาวอังคาร 1.52 AU มีค่า 𝛽 เท่ากับ 0.186 [1]


ดาวพฤหัสบดี 5.20 AU มีค่า 𝛽 เท่ากับ 0.485 [1]
ดาวเสาร์ 9.54 AU มีค่า 𝛽 เท่ากับ 0.528 [1]
ดาวยูเรนัส 19.2 AU มีค่า 𝛽 เท่ากับ 0.535 [1]
ดาวเนปจูน 30.0 AU มีค่า 𝛽 เท่ากับ 0.527 [1]
ดาวเคราะห์ X ที่ระยะไกลมาก ∞ มีค่า 𝛽 เท่ากับ 0.414 [1]

การเปลี่ยนวงโคจรของดาวยูเรนัส ต้องใช้เชื้อเพลิงมากที่สุด [1]

7
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ข้อ 10. การขยายตัวของเอกภพ [30 คะแนน]


เราอาจจำลองการขยายตัวของเอกภพอย่างง่ายโดยการวาดและตรึงตำแหน่งกาแล็กซีต่าง ๆ ลงบนผิวของลูกโป่ง
ทรงกลม การขยายตัวของผิวลูกโป่งเทียบเท่ากับการขยายตัวของเอกภพ ซึ่งจะทำให้กาแล็กซีต่าง ๆ มีระยะห่าง
ระหว่างกันมากขึ้นดังแสดงในภาพ กำหนดให้รัศมีลูกโป่งขยายตัวด้วยอัตราคงตัว โดยมีรัศมีที่เวลา 𝑡 เท่ากับ
𝑅 𝑡 = 𝑅$ + 𝛽𝑡 เมื่อ 𝑅$ เป็นรัศมีเริ่มต้นและ 𝛽 เป็นค่าคงตัว
ในแบบจำลองนี้แสงเคลื่อนที่บนผิวโค้ง 2 มิติของลูกโป่งเท่านั้น ผู้สังเกตทุกคนที่อยู่นิ่งบนผิวลูกโป่งจะวัดความเร็ว
แสงได้คงตัวเท่ากับ 𝑐 และการวัดระยะต่าง ๆ เราจะวัดตามผิวโค้งของลูกโป่ง
A A

A
𝜃 𝑅
B B B

C C
a) จงหาค่าคงที่ฮับเบิล (Hubble constant) ที่เวลา 𝑡 ของแบบจำลองเอกภพนี้ [8 คะแนน]

หากแสงเดินทางจากกาแล็กซีหนึ่งที่เวลา 𝑡( ไปถึงอีกกาแลกซีหนึ่งที่เวลา 𝑡) ซึ่งมีระยะกระจัดเชิงมุมห่างกัน Δ𝜃


𝑐 𝑅0 +𝛽𝑡2
เราจะพบว่า Δ𝜃 = ln
𝛽 𝑅0 +𝛽𝑡1

กาแล็กซี A และ C อยู่ที่ตำแหน่งขั้วตรงข้ามของลูกโป่งพอดี กาแล็กซี B อยู่ที่เส้นศูนย์สูตรของลูกโป่ง (ทั้ง 3 กา


แลกซีอยู่บนเส้นเมอริเดียนเดียวกัน) กาแล็กซี A และ B ส่งสัญญาณแสงไปยังกาแลกซี C ในขณะที่แสงกำลัง
เดิ น ทาง ความยาวคลื ่ น ของมั น จะถู ก ยื ด ออกด้ ว ยอั ต ราส่ ว นเดี ย วกั บ การขยายตั ว ของผิ ว ลู ก โป่ ง (แสงเกิ ด
cosmological redshift)
b) จงหาอัตราส่วน redshift 1123 สำหรับแสงที่ C สังเกตได้ที่ส่งมาจาก A และ B ตามลำดับ
กำหนดให้ redshift 𝑧 = 556789:;9<
9=>??9<
−1 [12 คะแนน]
c) สมมติว่ามีโฟตอนกระจายอยู่ทั่วผิวลูกโป่งและมีสมบัติเหมือนการแผ่รังสีของรังสีจากวัตถุดำ (blackbody
radiation) โดยมีอุณหภูมิ 𝑇$ ที่เวลา 𝑡 = 0 จงหาว่าที่เวลา 𝑡 ใด ๆ โฟตอนเหล่านี้จะมีอุณหภูมิ 𝑇(𝑡)
เท่าไหร่ กำหนดให้ความหนาแน่นของพลังงานโฟตอนต่อพื้นที่ผิวลูกโป่ง 𝜌(𝑡) ∝ 𝑇(𝑡)G [10 คะแนน]

4
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เฉลยข้อ 10. การขยายตัวของเอกภพ [30 คะแนน]


a)
กาแลกซีตรึงอยู่กับผิวของลูกโป่ง ดังนั้นมุม 𝜃 ระหว่างกาแลกซีคู่หนึ่งจึงมีค่าคงตัว [2]
ระยะระหว่างกาแลกซีคู่นี้ที่เวลา 𝑡 เท่ากับ 𝐷 = 𝑅 𝑡 𝜃 [2]
อัตราเร็วการถอยห่างของกาแลกซีออกจากกัน 𝑣 = JK JL
M OPJL QRMN Q
= N
JL
= 𝛽𝜃 [2]
T P P
ดังนั้นค่าคงตัว (Hubble parameter) เท่ากับ 𝐻 = K = M L = MNOPL [2]

b)
𝑐 𝑅0 +𝛽𝑡2
นำ Δ𝜃 = ln มาใช้
𝛽 𝑅0 +𝛽𝑡1

สำหรับแสงจาก A เดินทางถึง C แสงเดินทางได้มุม Δ𝜃 = 𝜋 [1]


ดังนั้นอัตราส่วนรัศมีของลูกโป่งที่ขยายขึ้นจาก A ที่เวลา 𝑡V จนถึงจุดหมาย C ที่เวลา 𝑡W
[\
M LX MN OPLX
M LY
=
MN OPLY
= 𝑅$ 𝑒 ] [3]

สำหรับแสงจาก B เดินทางถึง C แสงเดินทางได้มุม Δ𝜃 = ^) [1]


ดังนั้นอัตราส่วนรัศมีของลูกโป่งที่ขยายขึ้นจาก B ที่เวลา 𝑡_ จนถึงจุดหมาย C ที่เวลา 𝑡W
[\
M LX MN OPLX
M L`
=
MN OPL`
= 𝑅$ 𝑒 a] [3]

ข้อสังเกต อัตราส่วนรัศมีไม่ขึ้นกับเวลา 𝑡 แต่ขึ้นกับตำแหน่งของผู้ปล่อยและผู้รับ

ค่า redshift 𝑧 = 556789:;9<


9=>??9<
M
− 1 = 6789:;9< − 1
M9=>??9<
[1]
[\
ดังนั้น 𝑧b = MM6789:;9<
9=>??9<
−1=𝑒 ] −1 [1]
[\
และ 𝑧c = MM6789:;9<
9=>??9<
− 1 = 𝑒 a] − 1 [1]
[\
1Y d ] R( [\
ดังนั้น 1 = [\ หรือ = 𝑒 a] + 1 [1]
`
d a] R(

ผู้สังเกต C จะเห็นว่า A โดน redshifted มากกว่า เพราะโดนยืดออกด้วยช่วงเวลาที่มากกว่าระหว่างเดินทาง


และหาก 𝛽 มีค่าน้อย ๆ 1123 ≈ 2 เพราะใช้เวลาประมาณ 2 เท่า

5
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน 2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

c-1)
ใช้กฎของวีนส์ (ในสองมิติ) ซึ่งจะได้ว่า
59=>??9<
𝑇= 𝑇
5f789:;9< $
[4]
เนื่องจากอันตราส่วนของความยาวคลื่น เท่ากับอัตราส่วนของการขยายตัวจึงได้
M9=>??9<
𝑇= 𝑇
Mf789:;9< $
[4]
MN
= 𝑇
M OPL $
N
[2]

c-2)
สมมติว่าในเอกภพมีโฟตอน 𝑛 ตัว
h
ความหนาแน่นพลังงานลดลงตามพื้นที่ผิวที่มากขึ้น 𝜌 = i^M a𝐸 [3]
และพลังงานเฉลี่ย 𝐸 ของแต่ละโฟตอนจะลดลงตามความยาวคลื่นที่มากขึ้นเมื่อลูกโป่งขยายตัว
( (
𝐸 ∝ แสดงว่า 𝐸 ∝ [2]
5 M
(
ดังนั้น 𝜌 ∝ Mk [1]
(
จาก 𝜌(𝑡) ∝ 𝑇(𝑡)G แสดงว่า 𝑇 ∝ M [2]
MN
ดังนั้น 𝑇 = MNOPL 𝑇$ [2]

6
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน 2565
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 11. กาแล็กซีวิทยุ (radio galaxy) [30 คะแนน]
ผู้สังเกตบนโลกตรวจวัดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากกาแล็กซีวิทยุหนึ่งที่มีค่า redshift 𝑧 = 0.170 ได้ที่ความถี่
10' MHz โดยใช้ช่วงความถี่ (bandwidth) ∆𝜈 = 10. Hz และวัดค่าความหนาแน่นฟลักซ์ในย่าน
คลื่นวิทยุ (observed radio flux density) ได้ 𝐹 = 2.18×1034' W m34 Hz 37
a) จงคำนวณหาความถี่ของคลื่นวิทยุดังกล่าว ณ ขณะที่ถูกปลดปล่อยออกมาจากแหล่งกำเนิด [4 คะแนน]

b) จงคำนวณหาระยะทางไปยังกาแล็กซีวิทยุนี้ ในหน่วย Mpc [4 คะแนน]

c) จงคำนวณหา Radio luminosity ในหน่วย W Hz37 ของกาแล็กซีวิทยุ (ที่ความถี่ดังกล่าว) [4 คะแนน]

d) จงคำนวณหา Total radio luminosity ในหน่วย W [4 คะแนน]

e) Total radio luminosity ที่ได้น ั้น เทีย บเท่า กับ พลังงานจากการเผาผลาญไฮโดรเจน (1H) ปริม าณ
เท่าใด ไปเป็นฮีเลียม (4He) (ตอบในหน่วยมวลดวงอาทิตย์ต่อปี) [10 คะแนน]

f) ถ้ากาแล็ก ซีวิท ยุน ี้ย ังคงปลดปล่อ ยพลังงานที่อ ัต รานี้เป็น เวลา 108 ปี พลังงานที่ได้จ ะเทีย บเท่ากับ
พลัง งานจากมวลของไฮโดรเจนปริม าณเท่า ใดที่ถ ูก เปลี่ย นไปเป็น ฮีเลีย ม ตอบในหน่ว ยมวลของ
กาแล็กซีทางช้างเผือก กำหนดให้กาแล็กซีทางช้างเผือกมีมวล 1012 เท่าของมวลดวงอาทิตย์
[4 คะแนน]

1
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยมต้น)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน 2565
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลยข้อ 11. กาแล็กซี่วิทยุ (radio galaxy) [30 คะแนน]
:;< 3:=>?
a) จาก 𝑧=
:=>?
= 0.170 [2]
𝜈@A = 1.17×10' MHz [2]

GH
b) จาก 𝑣 = 𝑧𝑐 = 𝐻E 𝑑 จะได้ 𝑑 =
IJ
[2]
𝑑 = (3×10M )(0.17)/(71.0) = 718 Mpc [2]

c) จาก radio flux density 2.18×1034' W m34 Hz37 และจากค่ าระยะทาง 𝑑 = 718 Mpc จะได้
7EST A
𝑑 = 718×10P 𝑝𝑐 3.086×
UG
= 2.22×104M m [1]
นั่นคือ radio luminosity ที่ได้รับที่ 10' MHz คือ 𝐿 = 𝐹 4𝜋𝑑4 [1]
34'
𝐿 = (2.18×10 ) 4𝜋(2.22×10 ) 4M 4
[1]
𝐿 = 1.35×104Z W Hz 37 [1]

d) จาก 𝐿[\]^_ = 𝐿∆𝜈 [2]


𝐿[\]^_ = 1.35×104Z W Hz 37 10. Hz [1]
𝐿[\]^_ = 1.35×10'' W [1]

e) หาพลังงานในการเปลี่ยน H 4 ตัวเป็น He 1 ตัว ได้ 4.3 x 10-12 J ต่อ 1 reaction [4]


จาก total radio luminosity คำนวณอัตราการเกิดพลังงานได้
(1.35 ×10'' W)/(4.3 ×10374 J) = 3.14×10.. reaction/s [2]
จะได้อัตราการเปลี่ยนมวลของไฮโดรเจนไปเป็นฮีเลียม คือ
3.14×10.. 4×1.67×1034a kg/s = 2.10×1018 kg/s [2]
= 1.06 ×10374 M⊙ /s [1]
= 3.34×103M M⊙ /yr [1]

f) ไฮโดรเจนถูกเปลี/ยนเป็ นฮีเลียมทั5งหมด
3.34×103M M⊙ /yr ×10f yr = 3.34×10' M⊙ [2]
= 3.34×103Z Mghijklmk [2]

2
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยม)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ข้อ 12. ไมโครเลนส์ [50 คะแนน]
ปรากฏการณ์ไมโครเลนส์เกิดขึ้นเมื่อวัตถุท้องฟ้าประพฤติตัวเป็นเลนส์ขวางหน้าแหล่งกำเนิดแสง ในมุมมองของผู้
สังเกต ส่งผลทำให้ความสว่างของแหล่งกำเนิดแสงที่มองเห็นมีความสว่างเพิ่มขึ้นตามสมการ
Observed flux = Magnification ´ Source flux

สำหรับปรากฏการณ์ไมโครเลนส์ที่มีเลนส์เพียงวัตถุเดียว กำลังขยาย (Magnification, A) สามารถเขียนอยู่ในรูป


u (t ) 2 + 2
A=
u (t ) u (t ) 2 + 4

เมื่อ u (t ) คือ ระยะห่างเชิงมุมปรากฏระหว่างแหล่งกำเนิดแสงกับเลนส์ (impact parameter) ณ เวลาหนึ่งๆ (t)


ในหน่วยของ Einstein radius โดย u (t ) สามารถเขียนอยู่ในรูปของ
1/2
é æ t - t0 ö ù
2

u (t ) = êu 0 + ç
2
÷ ú
êë è t E ø úû

เมื่อ u0 คือ ระยะห่างเชิงมุมปรากฏระหว่าง Source กับ Lens ที่น้อยที่สุด (minimum impact parameter),
t0 คือ เวลาที่ Source กับ Lens ใกล้กันมากที่สุด ( u (t0 ) = u0 ) และ t E คือ Einstein radius crossing time

Source

𝑢
Lens

แผนภาพแสดงปรากฏการณ์ไมโครเลนส์ที่มีเลนส์เพียงวัตถุเดียว

4
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยม)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

𝑢5 = 1.2 𝑢5 = 0.3

𝑢5 = 0.9
𝑢5 = 0.6
𝑢5 = 0.3 𝑢5 = 0.6

𝑢5 = 0.9
𝑢5 = 1.2

𝑡 − 𝑡5
𝑡;

กราฟแสงปรากฏการณ์ไมโครเลนส์ที่มีเลนส์เพียงวัตถุเดียว
a) กล้องโทรทรรศน์ TRT-GAO ที่ประเทศจีน สามารถตรวจจับปรากฏการณ์ไมโครเลนส์ที่มีเลนส์เพียงวัตถุ
เดีย วได้เป็น ระยะเวลานาน 10 วัน ปรากฏการณ์ด ัง กล่า วเกิด จาก Source ที่ม ีโ ชติม าตรปรากฏ
𝑚, = 18.0 และระหว่างเกิด ปรากฏการณ์ ปรากฏการณ์ด ังกล่าวมีโชติม าตรปรากฏต่ำสุด 𝑚, = 16.5
กำหนดให้กล้องโทรทรรศน์ TRT-GAO สามารถสังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้าที่มีโชติมาตรปรากฏน้อยกว่า
𝑚, = 17.0

จงหาระยะห่างเชิงมุมปรากฏระหว่าง Source กับ Lens ที่น้อยที่สุด (minimum impact parameter)


u0 ของปรากฏการณ์ดังกล่าว [13 คะแนน]
b) จงหา Einstein radius crossing time ของปรากฏการณ์ในข้อ a) ในหน่วยวัน [19 คะแนน]
c) กำหนดให้ Source อยู่ท ี่ใจกลางกาแล็ก ซีท างช้างเผือ ก (Galactic centre) และ Lens อยู่ห ่างจากใจ
กลางกาแล็กซีทางช้างเผือก 4 kpc ในทิศทางเดียวกัน
โดยที่ Source, Lens และ ดวงอาทิตย์ มีเฉพาะ Rotational velocity รอบกาแล็กซีทางช้างเผือก ที่ใจ
กลางกาแล็กซีทางช้างเผือกมี Rotational velocity เท่ากับ 0 km/s ถ้ากาแล็กซีมีการหมุนแบบ Flat
rotation curve ที่ร ะยะห่า งจากใจกลางกาแล็ก ซีท างช้า งเผือ กที่ม ากกว่า 2 kpc (220 km/s) และ
ในขณะเกิดปรากฏการณ์นี้ความเร็วในแนวเล็ง (Radial velocity) เท่ากับ 0 km/s
จงหา Relative proper motion ระหว่าง Source และ Lens ในมุมของผู้สังเกตที่ดวงอาทิตย์ ในหน่วย
เรเดียนต่อวัน [11 คะแนน]
d) กำหนดให้ Einstein radius crossing time ของ Lens มวล M คือ
1 4GM ( DS - Dl )
tE =
µ c 2 DS Dl
เมื่อ Ds คือระยะห่างระหว่างผู้สังเกตกับ Source Dl คือระยะห่างระหว่างผู้สังเกตกับ Lens
จงหามวลของ Lens ของปรากฏการณ์นี้ในหน่วยของมวลดวงอาทิตย์ [7 คะแนน]
5
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยม)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เฉลยข้อ 12. ไมโครเลนส์ [50 คะแนน]
a) ปรากฏการณ์ดังกล่าวมีโซติมาตรปรากฏต่ำสุด 𝑚, =16.5 ดังนั้นปรากฏการณ์มี Maximum
magnification เท่ากับ
,@
𝑚< − 𝑚= = −2.5 log
,A

𝑚< − 𝑚= = −2.5 log 𝐴CDE

16.5 - 18.0 = -2.5log ( Amax ) [3]

Amax = 3.98 [3]


ในขณะที่ปรากฏการณ์มีความสว่างสูงสุด คือมีค่า Minimum impact parameter จาก

u (t ) 2 + 2
A=
u (t ) u (t ) 2 + 4

u (t0 ) 2 + 2
Amax = [1]
u (t0 ) u (t0 ) 2 + 4

𝐴<CDE − 1 𝑢 𝑡F G
+ 4𝐴<CDE − 4 𝑢 𝑡F <
−4=0

2 2 2 2
− 4𝐴max −4 ± 4𝐴max −4 −16 𝐴max −1
𝑢 𝑡F = 2
2 𝐴max −1

2 Amax
u (t0 ) = -2 [3]
(A 2
max - 1)

𝑢 𝑡F = 0.257 [3]
u (t0 ) = u0 = 0

b) ที่ I = 17.0 มี Magnification เท่ากับ


m2 - m1 = -2.5log ( Alim )

17.0 -18.0 = -2.5log ( Alim ) [3]

Alim = 2.51 [3]

6
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยม)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
และมีค่า impact parameter เท่ากับ
2 Alim
u (tlim ) = -2 [4]
(A 2
lim - 1)
u (tlim ) = 0.424 [3]

ดังนั้น Einstein radius crossing time ของปรากฏการณ์


1/2
é æ t - t0 ö ù
2

u (t ) = êu 0 + ç
2
÷ ú
êë è t E ø úû

1/2
é æ tlim - t0 ö ù
2

u (tlim ) = êu0 + ç
2
÷ ú [2]
êë è t E ø úû
1/2
é æ 10 days / 2 ö ù
2

0.424 = ê0.257 + ç
2
÷ ú [1]
êë è tE ø úû
tE = 14.8 days [3]

c) Source อยู่ที่ใจกลางกาแล็กซีทางช้างเผือก ดังนั้นระยะห่างระหว่างดวงอาทิตย์กับ Source เท่ากับ


DS = 8.50 kpc [1]

Lens อยู่ห่างจากใจกลางกาแล็กซีทางช้างเผือก 4 kpc ดังนั้นระยะห่างระหว่างดวงอาทิตย์กับ Lens


เท่ากับ

Dl = 8.50 - 4.00 kpc = 4.50 kpc


กำหนดให้เป็น Flat rotation curve

vs = vl = vLSR = 220 km/s [1]

Relative proper motion ระหว่าง Source และ Lens ในมุมของผู้สังเกตที่ดวงอาทิตย์


<<F XC/Z
𝜇OPQROSPTUV =
[.\F X]U
[2]

F XC/Z
𝜇OPQR^VQZ =
G.\F X]U
[2]

7
การแข่งขันดาราศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 19 (ระดับมัธยม)
โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ข้อสอบภาคทฤษฎี 15 มิถุนายน2565
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
𝜇 = 𝜇OPQROSPTUV − 𝜇OPQR^VQZ [1]

<<F XC/Z
𝜇=
[.\F X]U
[1]

𝜇 = 7.24×10R[ radian/day [3]

d) Source อยู่ที่ใจกลางกาแล็กซีทางช้างเผือก ดังนั้นระยะห่างระหว่างดวงอาทิตย์กับ Source เท่ากับ


DS = 8.50 kpc [1]

Lens อยู่ห่างจากใจกลางกาแล็กซีทางช้างเผือก 4 kpc ดังนั้นระยะห่างระหว่างดวงอาทิตย์กับ Lens


เท่ากับ

Dl = 8.50 - 4.00 kpc = 4.50 kpc [1]

มวลของ Lens
1 4GM ( DS - Dl )
tE =
µ c 2 DS Dl

= 4𝐺𝑀(8.5 kpc−4.5 kpc)


14.8 days =
c.<G×=Fde TDfgDQ/fDh 𝑐2 ×8.5 kpc×4.5 kpc
[2]

𝑀 = 1.1×10p< kg = 57 𝑀⊙ [3]

You might also like