You are on page 1of 19

ขอสอบภาควิเคราะหขอมูลระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17
The Seventeenth Thailand Astronomy Olympiad: 17th TAO
ณ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
6 ธันวาคม 2563 เวลา 09:00 –12:00 น.

คําแนะนํา
1. มีขอสอบ 2 ขอ คะแนนรวม 150 คะแนน ใหเวลาทําขอสอบ 3 ชั่วโมง
2. ใชปากกาสีน้ําเงินหรือสีดําเทานั้น
3. ในแตละขอมีกระดาษสรุปคําตอบและกระดาษเขียนตอบ
4. กรรมการจะตรวจเฉพาะกระดาษสรุปคําตอบและกระดาษเขียนตอบเทานั้น ใชเฉพาะ
ดานหนาและเขียนภายในกรอบที่กําหนดใหเทานั้น เขียนทุกสิ่งที่คิดวาจําเปนในการ
แสดงวิธีทําและตองการใหตรวจลงบนกระดาษเขียนตอบ
5. ในการตอบคํ าถามที่ เป น ตัวเลขตองตอบใหมีจํา นวนเลขนัยสํา คัญที่ส อดคลองกับ
ขอมูลที่ใหมา
6. ตองใสหมายเลขประจําตัวนักเรียนในชองที่หัวกระดาษสรุปคําตอบและกระดาษเขียน
ตอบทุกแผนที่ใช นอกจากนั้นบนกระดาษเขียนตอบของแตละขอใหเขียนเลขขอและเลข
ลําดับหนาของกระดาษเขียนตอบของขอนั้นดานบนกระดาษเขียนตอบที่ใชทุกแผนให
ชัดเจน ถาแผนใดใชทดหรือไมตองการใหตรวจใหขีดกากบาทตลอดหนานั้น
7. ถานักเรียนตองการกระดาษเขียนตอบหรือกระดาษทดเพิ่มเติมใหแจงกรรมการคุมสอบ
8. เมื่อทําเสร็จแลวใหจัดเรียงกระดาษสรุปคําตอบไวบนสุด ตามดวยกระดาษเขียนตอบ
กระดาษคําถาม กระดาษทด กระดาษเปลาที่เหลือไวลางสุด หนีบกระดาษทั้งหมดเขา
ดวยกันแลวใสซองวางไวบนโตะสอบ

หามนํากระดาษใดๆ ออกนอกหองสอบโดยเด็ดขาด
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
6 ธันวาคม 2563
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คาตอไปนี้กําหนดใหใชได
มวล (M ☉ ) 1.99 × 1030 kg
รัศมี (R ☉ ) 6.96 × 108 m
กําลังสองสวาง (L ☉ ) 3.83 × 1026 W ดวงอาทิตย
โชติมาตรสัมบูรณ (ℳ ☉ ) 4.80 mag
ขนาดเชิงมุมปรากฏ 0.5 degrees
ความเร็วในการโคจรรอบกาแล็กซี 220 km s−1
ระยะทางจากใจกลางกาแล็กซี 8.5 kpc

1 a.u. 1.50 × 1011 m


1 pc 206,265 a. u.
คานิจโนมถวงสากล (G) 6.67 × 10−11 N ⋅ m2 ⋅ kg −2
Planck constant (h) 6.62 × 10−34 J ⋅ s
Boltzmann constant (k B ) 1.38 × 10−23 J ⋅ K −1
คาคงตัว
Stefan-Boltzmann constant (σ) 5.67 × 10−8 W ⋅ m−2 ⋅ K −4
Wien’s Displacement law λmT
= 2.898 ×10−3 mK
Hubble constant (H 0 ) 67.8 km s −1 Mpc −1
อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ (c) 2.998 × 108 m s −1
คาคงที่ของแกส R G =8.314 J/mol/K

∆x
เปอรเซ็นตความแตกตาง % ความแตกต่
= าง ×100%
xaverage

วิธีกําลังสองนอยที่สุด (least squares method) สําหรับความสัมพันธ 𝑦 = a + bx

n ∑(xy) − ∑ x ∑ y
b=
n ∑(x 2 ) − (∑ x)2

∑y − b∑x
a=
n

2
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
6 ธันวาคม 2563
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 1. หลุมดํามวลยิ่งยวด ณ ใจกลางกาแล็กซีทางชางเผือก [75 คะแนน]
รางวัลโนเบลสาขาฟสิกสในปนี้มอบใหแก ไรนฮารด เกนเซล (Reinhard Genzel) ที่ใชกลองโทรทรรศน
Very Large Telescope (VLT) และ แอนเดรีย เกซ (Andrea Ghez) ที่ใชกลองโทรทรรศน Keck ในยานอินฟราเรด
สําหรับการคนพบหลุมดํามวลยิ่งยวด (Supermassive blackhole) ณ ใจกลางกาแล็กซีทางชางเผือก
(https://www.nobleprize.org/physics/2020/summary) โดยคาดวาใจกลางของหลุมดํามวลยิ่งยวดนี้อยู ณ
ตําแหนงแหลงกําเนิดคลื่นวิทยุพลังงานสูงที่เรียกวา Sagittarius A* ซึ่งอยูหางจากโลก 8.178 kpc

การศึกษาหลุมดํามวลยิ่งยวดทําไดโดยการศึกษาวงโคจรของดาวฤกษรอบ Sagittarius A* โดยหนึ่งในดาว


ฤกษที่นักดาราศาสตรใชในการศึกษาคือดาวฤกษ S55 หรือ S0–102

ตารางที่ 1 เปนขอมูลการสังเกตการณของตําแหนงดาวฤกษ S55 สัมพัทธกับ Sagittarius A* ตั้งแตป ค.ศ.


2004 ถึง 2017 โดยคา ∆l และ ∆b เปนคา Galactic longitude (l) และ Galactic latitude (b) ของดาวฤกษ S55
เทียบกับ Galactic longitude และ Galactic latitude ของ Sagittarius A* ซึ่งอยูที่ตําแหนง (l,b) = (0,0) ในหนวย
arcsecond และปเขียนอยูรูป Decimal time (เชน ป 2004.000 หมายถึงเริ่มวันปใหมของป ค.ศ. 2004 และ
2004.500 หมายถึงผานป ค.ศ. 2004 มา 0.500 ป หรือผานมาครึ่งปพอดี) (ขอมูลดัดแปลงจาก Parsa et al. 2017)

หมายเหตุ: วงโคจรของดาวฤกษ S55 มีขนาดเล็กมากบนทรงกลมทองฟา

3
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
6 ธันวาคม 2563
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตารางที่ 1
Decimal Year ∆l ∆b
(ป) (arcsecond) (arcsecond)
2004.511 0.0549 -0.1552
2004.516 0.0711 -0.1536
2005.268 0.0707 -0.1437
2006.726 0.0790 -0.1180
2007.205 0.0835 -0.0883
2007.255 0.0797 -0.0763
2007.455 0.0784 -0.0635
2008.268 0.0711 -0.0309
2008.456 0.0692 -0.0167
2008.598 0.0678 -0.0144
2008.708 0.0620 -0.0058
2009.334 -0.0017 0.0358
2009.501 -0.0257 0.0291
2009.605 -0.0305 0.0243
2010.444 -0.0620 -0.0453
2010.455 -0.0523 -0.0404
2012.374 -0.0345 -0.1180
2013.488 -0.0134 -0.1380
2015.581 0.0239 -0.1678
2017.312 0.0550 -0.1592

เนื่องจากหลุมดํามวลยิ่งยวดมีมวลมหาศาล จึงสงผลใหวงโคจรของดาวฤกษ S55 เกิดการควง (Precession


of periastron หรือ Periastron shift) ในระนาบตั้งฉากกับแนวเล็ง ซึ่งเกิดจากการเลื่อนของแกนเอกของวงโคจรโดย
เปนผลจากความโคงงอของกาล-อวกาศรอบหลุมดํามวลยิ่งยวด ซึ่งสามารถคํานวณไดโดยใชทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป
(ดังเชน การควงของวงโคจรของดาวพุธรอบดวงอาทิตยเปนตน) การควงนี้สังเกตไดคอนขางยากตอการโคจรใน 1 รอบ
เนื่องจากมีมุมของการควงนอยมาก อยางไรก็ตามเราสามารถสรางแบบจําลองการเคลื่อนที่ของดาวฤกษ S55 ในอีก
หลายปขางหนาโดยอางอิงจากขอมูลที่มีอยูในปจจุบัน เพื่อใหมุมของการควงมีความชัดเจนมากขึ้น

4
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
6 ธันวาคม 2563
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตารางที่ 2 เปนขอมูลที่ไดจากแบบจําลองการเคลื่อนที่ แสดงตําแหนงดาวฤกษ S55 สัมพัทธกับ Sagittarius
A* ตั้งแตป ค.ศ. 4564 ถึง 4575 โดยคา ∆l และ ∆b เปนคา Galactic longitude (l) และ Galactic latitude (b)
ของดาวฤกษ S55 เทียบกับ Galactic longitude และ Galactic latitude ของ Sagittarius A* ซึ่งอยูที่ตําแหนง
(l,b) = (0,0) ในหนวย arcsecond และปเขียนอยูรูปทศนิยมเชนเดียวกับตารางที่ 1

ตารางที่ 2
Decimal Year ∆l ∆b
(ป) (arcsecond) (arcsecond)
4564.511 0.1009 -0.1384
4565.268 0.1104 -0.1160
4566.726 0.1106 -0.0890
4567.205 0.1051 -0.0596
4567.455 0.0947 -0.0368
4568.268 0.0771 -0.0082
4568.708 0.0609 0.0130
4569.334 -0.0123 0.0336
4569.501 -0.0332 0.0200
4569.605 -0.0363 0.0141
4570.455 -0.0378 -0.0541
4572.374 0.0023 -0.1229
4573.488 0.0299 -0.1404
4575.581 0.0729 -0.1530

5
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
6 ธันวาคม 2563
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
จงตอบคําถามตอไปนี้ พรอมประมาณความคลาดเคลื่อนสําหรับคําตอบที่เปนตัวเลข

a) จงเขียนกราฟของวงโคจรของดาวฤกษ S55 รอบ Sagittarius A* จากขอมูลการสังเกตการณในตารางที่ 1


และจากขอมูลแบบจําลองการโคจรในตารางที่ 2 ลงในกราฟเดียวกัน โดยกําหนดให Sagittarius A* อยูที่จุด
กําเนิด (0,0) และระบุจุดของขอมูลจากตารางที่ 1 ใหแตกตางจากจุดของขอมูลจากตารางที่ 2 (ใชสัญลักษณจุด
ตางกัน)

เมื่อเขียนครบทุกจุดแลวใหลากเสนแนวโนมที่ดีที่สุดเพื่อใหไดภาพของวงโคจรทั้งสองวงโคจร โดยเรียกวงโคจรที่
ไดจากขอมูลการสังเกตการณในตารางที่ 1 วา “วงโคจรที่ 1” และ เรียกวงโคจรที่ไดจากขอมูลแบบจําลองการ
โคจรในตารางที่ 2 วา “วงโคจรที่ 2”

ลากเสนแกนเอกตามความสมมาตรของวงรีลงใน “วงโคจรที่ 1” และ “วงโคจรที่ 2”

ระบุจุดที่ใกล Sagittarius A* ที่สุด และระบุจุดที่ไกล Sagittarius A* ที่สุดลงใน “วงโคจรที่ 1” เทานั้น


[33 คะแนน]

b) จากกราฟของ “วงโคจรที่ 1” จงหาระยะทางเชิงมุมของครึ่งแกนเอก ( α ) ระยะทางเชิงมุมที่ดาว S55 ใกล


Sagittarius A* ที่สุด ( ρ1 ) ระยะทางเชิงมุมที่ดาว S55 ไกล Sagittarius A* ที่สุด ( ρ2 ) ในหนวย arcsecond
และจงประมาณหาคาบ T ในหนวยปอยางคราวๆ [10 คะแนน]

c) จากกราฟของ “วงโคจรที่ 1” จงคํานวณหาระยะครึ่งแกนเอก ( a ) ระยะทางที่ดาว S55 ใกล Sagittarius A*


ที่สุด ( R1 ) ระยะทางทีด่ าว S55 ไกล Sagittarius A* ที่สุด ( R2 ) ในหนวย AU [9 คะแนน]

d) จงหามุมที่แกนเอกกวาดไป ( Φ ) ในหนวยองศา คํานวณหาจํานวนรอบการโคจร ( N ) ของดาวฤกษใน


ชวงเวลาระหวางวงโคจรที่ 1 และ 2 และคํานวณหามุมควง (Precession) ( θ ) หรือมุมที่แนวแกนเอกของดาว
ฤกษ S55 เบนไปตอ 1 รอบของการโคจรรอบ Sagittarius A* ในหนวย arcminute/รอบการโคจร [8 คะแนน]

e) จงคํานวณหามวลของหลุมดําโดยใชกฎของเคปเลอร (ตอบในหนวย M ) [4 คะแนน]

6
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
6 ธันวาคม 2563
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
f) อีกวิ ธีหนึ่งในการคํานวณหามวลของหลุมดําคือการใชทฤษฎี สัม พัทธภาพทั่วไป ซึ่งขึ้นอยูกับมุมควง
(Precession of periastron) ที่เบนไปตอ 1 รอบของการโคจรดังสมการ
φc2 1
M GR =
3π G  1 1
R + R 
 1 2

เมื่อ φ คือมุมควง (Precession) ที่เบนไปตอ 1 รอบของการโคจรในหนวยเรเดียน


R1 คือระยะทางที่ดาว S55 ใกล Sagittarius A* ที่สุด
R2 คือระยะทางที่ดาว S55 ไกล Sagittarius A* ที่สุด
G คือคานิจโนมถวงสากล และ c คืออัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ
จงคํานวณหามวลของหลุมดําโดยใชทฤษฎีสมั พัทธภาพทั่วไป (ตอบในหนวย M ) [3 คะแนน]

g) จงหาเปอรเซ็นตความแตกตางของการหามวลจาก 2 วิธี [3 คะแนน]

h) จงคํานวณหา Schwarzschild radius เฉลี่ยของหลุมดํามวลยิ่งยวด ณ บริเวณ Sagittarius A* ในหนวยของ


รัศมีของดวงอาทิตย [5 คะแนน]

7
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
6 ธันวาคม 2563
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ขอ 2. กาแล็กซี M105 [75 คะแนน]
กาแล็กซี M105 หรือ NGC3379 เปนกาแล็กซีชนิดทรงรีในกลุมกาแล็กซีลีโอวัน (Leo I) ซึ่งอยูในทิศทาง
ของกลุมดาวสิงโต กาแล็กซี M105 มีลักษณะโครงสรางที่เรียบเนียน (smooth structure) ดังภาพดานลาง และ
ในอดีตถูกใชเปนกาแล็กซีมาตรฐานสําหรับศึกษาการกระจายตัวของความสวางเชิงพื้นผิวของกาแล็กซี (surface
brightness distribution) โดยนักดาราศาสตร

กาแล็กซี M105

ตารางที่กําหนดใหแสดงคาโชติมาตรปรากฏ (apparent magnitude, mB ) ที่วัดไดจากฟลักซรวมภายใน


บริเวณวงกลมเสนผานศูนยกลาง D รอบจุดศูนยกลางของกาแล็กซี M105 โดยสมมุตวิ ากาแล็กซีนี้เปนกาแล็กซี
ชนิด E0 (มีลักษณะปรากฏเปนวงกลม)

8
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
6 ธันวาคม 2563
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตารางที่ 1
D (arcsec) mB
2.0 15.59
4.9 14.08
10.1 13.01
20.4 12.29
37.9 11.75
64.3 11.30
90.8 11.00
137.5 10.78
218.0 10.60
330.0 10.57

a) คาโชติมาตรของกาแล็กซี อาจหาไดจากคา asymptotic magnitude ซึ่งเปนคาลูเขาของโชติมาตรที่


ระยะไกลมากจากใจกลางกาแล็กซี

จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางโชติมาตรปรากฏ mB และ log D ของกาแล็กซี M105 แลวอานคา


asymptotic B magnitude, mB,asym จากกราฟที่ได โดยกําหนดให log D เปนตัวแปรตน [14.5 คะแนน]

b) ในขั้นตอนนี้ เราจะศึกษาการเปลี่ยนแปลงของความสวางเชิงพื้นผิวของกาแล็กซี M105 เมื่อเทียบกับระยะ D


โดยความสวางเชิงพื้นผิว (surface brightness, μ) เปนปริมาณที่บอกถึงฟลักซการแผรังสี โดยมีหนวยวัดเปน
โชติมาตรตอตารางพิลิปดา (magnitude/arcsec2)

b.1) ในบริเวณศูนยกลางของกาแล็กซี เราสามารถประมาณไดวาความสัมพันธระหวาง μ และ มีลกั ษณะดังนี้


μ = mB + 5 log D − 0.262 จงคํานวณคา log D และ μ ภายในแตละระยะ D ของกาแล็กซีนี้ลงในตาราง
[2.5 คะแนน]

b.2) ทีร่ ะยะ D มากๆ เราอาจพิจารณาวา mB เปนคาคงที่ จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวาง μ และ


log D โดยกําหนดให log D เปนตัวแปรตน [10 คะแนน]

b.3) จงแสดงวิธีทําเพื่อคํานวณหาคาคงที่ในความสัมพันธระหวาง μ และ log D โดยใชวิธีกําลังสองนอยที่สุด


9
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
6 ธันวาคม 2563
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
(Linear least square method) โดยเลือกเฉพาะขอมูลในบริเวณระยะ D มากๆ ที่ความสัมพันธมีลกั ษณะเปน
เสนตรง จากนั้นลากเสนแสดงความสัมพันธที่ไดลงในกราฟในขอ b.2) [10 คะแนน]

b.4) หากคาความสวางเชิงพื้นผิวของทองฟาคือ 23 magnitude/arcsec2 ผูสังเกตการณบนโลกจะสามารถวัด


ขนาดเชิงมุมของกาแล็กซี M105 ไดเทาใด (ใหตอบเปนคา log D) [2 คะแนน]

c) จากคาความชันของความสัมพันธระหวาง μ และ D ตามในขอ a) และ b) แสดงใหเห็นวาตัวแปรทั้งสองจริงๆ


แลวไมไดมีความสัมพันธกันในลักษณะเสนตรง

โดยทั่วไป ลักษณะความสัมพันธระหวาง μ และระยะหางจากศูนยกลางของกาแล็กซี (R) จะอยูในรูป de


Vaucouleurs R1/N law หรือ μ = a + b × R1/N โดยที่ a, b, และ N คือคาคงที่ และ a เปนปริมาณที่สื่อถึง
surface brightness ที่ศูนยกลางของกาแล็กซี และ N มีคาเปนจํานวนเต็ม และมีความสัมพันธกับสมบัติทาง
ฟสิกสของกาแล็กซีทรงรี ในขัน้ ตอนนี้เราจะประมาณคาของ a, b, และ N ของกาแล็กซี M105

ในความเปนจริงแลว กาแล็กซี M105 เปนกาแล็กซีทรงรีชนิด E1 การประมาณคา surface brightness โดย


สมมุติวากาแล็กซีเปนชนิด E0 จึงมีความคลาดเคลื่อน ตารางตอไปนี้แสดงคาความสวางเชิงพื้นผิวที่วัดตามรัศมี R
ในแนวแกนเอก (major axis) ของกาแล็กซี

ตารางที่ 2
2
R (arcsec) μ (mag/arcsec )
0.1 14.07
1.2 17.09
2.1 17.56
2.9 18.04
5.9 18.79
10 19.41
25 20.80
49 22.03
80 23.07
120 24.02
190 25.25
10
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
ขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
6 ธันวาคม 2563
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

c.1) จงประมาณคาของ a ในบริเวณใกลจุดศูนยกลางของกาแล็กซีจากจุดขอมูลบางจุด [2 คะแนน]

c.2) จากคาของ a ที่ประมาณได จงเขียนสมการแสดงความสัมพันธ ที่จะนําไปสูสมการเสนตรงระหวาง μ และ


R โดยกําหนดให log R เปนตัวแปรตน [3 คะแนน]

c.3) จงคํานวณคาตัวแปรที่ไดจากขอ c.2) และแสดงลงในตารางในกระดาษสรุปคําตอบ [5 คะแนน]

c.4) จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางคาตัวแปรที่ไดจากขอ c.3) โดยกําหนดให log R เปนตัวแปรตน


[10 คะแนน]

c.5) จงวิเคราะหหาคาคงทีจ่ ากความสัมพันธระหวางตัวแปรในกราฟขอ c.4) โดยใชวิธีกําลังสองนอยที่สุด


(Linear least square method) โดยกําหนดให log R เปนตัวแปรตน จากนั้นลากเสนแสดงความสัมพันธที่ได
ลงในกราฟในขอ c.4) [12 คะแนน]

c.6) จงคํานวณคาคงที่ b และ N จากขอ c.5) [4 คะแนน]

11
กระดาษเขียนตอบขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
6 ธันวาคม 2563
รหัสนักเรียน

ขอ 1. หลุมดํามวลยิ่งยวด ณ ใจกลางกาแล็กซีทางชางเผือก (75 คะแนน)


a)
- กราฟของวงโคจรของดาว S55 รอบ
Sagittarius A* (ทําในกระดาษกราฟ)
b)
- ระยะทางเชิงมุมของครึ่งแกนเอก ( α ) ± arcsecond
- ระยะทางเชิงมุมทีด่ าว S55 ใกล
Sagittarius A* ที่สุด ( ρ1 ) ± arcsecond
- ระยะทางเชิงมุมทีด่ าว S55 ไกล
Sagittarius A* ที่สุด ( ρ2 ) ± arcsecond
- คาบ T (ไมตองคิดความคลาดเคลื่อน) ป
c)
- ระยะครึ่งแกนเอก ( a ) ± a.u.
- ระยะทางทีด่ าว S55 ใกล Sagittarius
A* ที่สุด ( R1 ) ± a.u.
- ระยะทางทีด่ าว S55 ไกล Sagittarius
A* ที่สุด ( R2 ) ± a.u.
d)
- มุมที่แกนเอกกวาดไป ( Φ ) ± องศา
- จํานวนรอบการโคจร ( N ) ± รอบ
- มุมควง (Precession) ( θ ) ± arcminute/รอบการโคจร
e)
- มวลของหลุมดํา ± M
f)
- มวลของหลุมดํา ± M
กระดาษเขียนตอบขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
6 ธันวาคม 2563
รหัสนักเรียน

g)
- เปอรเซ็นตความแตกตาง ± %
h)
- Schwarzschild radius ± R
กระดาษเขียนตอบขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
6 ธันวาคม 2563
รหัสนักเรียน

ขอ 2. กาแล็กซี M105 (75 คะแนน)


a) ความสัมพันธระหวางโชติมาตรปรากฏ mB และ log D

D (arcsec) mB log D

2.0 15.59
4.9 14.08
10.1 13.01
20.4 12.29
37.9 11.75
64.3 11.30
90.8 11.00
137.5 10.78
218.0 10.60
330.0 10.57

- กราฟแสดงความสัมพันธระหวางโชติมาตรปรากฏ mB และ log D ของกาแล็กซี M105 (ทําในกระดาษกราฟ)

- Asymptotic B magnitude, mB,asym .


กระดาษเขียนตอบขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
6 ธันวาคม 2563
รหัสนักเรียน

b.1) ความสัมพันธระหวาง μ และ log D


2
D (arcsec) μ (mag/arcsec )
2.0
4.9
10.1
20.4
37.9
64.3
90.8
137.5
218.0
330.0

b.2) กราฟแสดงความสัมพันธระหวาง
μ และ log D (ทําในกระดาษกราฟ)
กระดาษเขียนตอบขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
6 ธันวาคม 2563
รหัสนักเรียน

b.3) ความสัมพันธระหวาง μ และ log D โดยใชวิธีกําลังสองนอยที่สุด (Linear least square method)

D (arcsec) 𝑥 𝑦 𝑥2 𝑥𝑥
2.0
4.9
10.1
20.4
37.9
64.3
90.8
137.5
218.0
330.0
Total

ความสัมพันธระหวาง μ และ log D .

b.4)
- ขนาดเชิงมุมของกาแล็กซี M105 (ให
ตอบเปนคา log D) .
กระดาษเขียนตอบขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
6 ธันวาคม 2563
รหัสนักเรียน

c.1)
- คาของ a ในบริเวณใกลจุดศูนยกลาง
ของกาแล็กซี .
c.2)
- สมการแสดงความสัมพันธ (แสดงวิธีทําในกระดาษคําตอบ)

c.3)
- ความสัมพันธระหวาง μ และ R
2
R (arcsec) μ (mag/arcsec )
0.1 14.07
1.2 17.09
2.1 17.56
2.9 18.04
5.9 18.79
10 19.41
25 20.80
49 22.03
80 23.07
120 24.02
190 25.25
กระดาษเขียนตอบขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
6 ธันวาคม 2563
รหัสนักเรียน

c.4) กราฟแสดงความสัมพันธระหวาง
คาตัวแปรที่ไดจากขอ c.3) (ทําในกระดาษกราฟ)

c.5) คาคงที่ในความสัมพันธระหวางตัวแปรในกราฟขอ c.4) โดยใชวิธีกําลังสองนอยที่สุด (Linear least square


method)
𝑥2
2
R (arcsec) μ (mag/arcsec ) 𝑥 𝑦 𝑥𝑥
0.1 14.07
1.2 17.09
2.1 17.56
2.9 18.04
5.9 18.79
10 19.41
25 20.80
49 22.03
80 23.07
120 24.02
190 25.25
Total

สมการความสัมพันธ .

c.6)
- คาคงที่ b .
- คาคงที่ N .
กระดาษเขียนตอบขอสอบภาควิเคราะหขอมูล
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 17 (ระดับมัธยมปลาย)
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
6 ธันวาคม 2563
รหัสนักเรียน

You might also like