You are on page 1of 11

ขอสอบภาควิเคราะหขอมูลระดับมัธยมศึกษาตอนตน

การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 15
The Fifteenth Thailand Astronomy Olympiad: 15th TAO
ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
9 พฤษภาคม 2561 เวลา 9:00 –12:00 น.

คําแนะนํา
1. มีขอสอบ 2 ขอ คะแนนรวม 150 คะแนน ใหเวลาทําขอสอบ 3 ชั่วโมง
2. ใชปากกาสีน้ําเงินหรือสีดําเทานั้น
3. ในแตละขอมีกระดาษสรุปคําตอบ กระดาษเขียนตอบ และกระดาษกราฟ
4. กระดาษเขี ย นตอบและกระดาษกราฟใช เ ฉพาะด า นหน า และเขี ย นภายในกรอบที่
กําหนดใหเทานั้น เขียนทุกสิ่งที่คิดวาจําเปนในการแสดงวิธีทําและตองการใหตรวจลงบน
กระดาษเขียนตอบ
5. ในการตอบคํ า ถามที่ เ ป น ตั วเลขตอ งตอบให มีจํา นวนเลขนัยสํ า คัญที่สอดคลองกั บ
ขอมูลที่ใหมา
6. ตองใสหมายเลขประจําตัวนักเรียนในชองที่หัวกระดาษเขียนตอบและกระดาษกราฟ
ทุกแผนที่ใช
7. บนกระดาษเขียนตอบของแตละขอใหเขียนเลขขอและเลขหนาบนกระดาษเขียนตอบที่
ใชทุกแผนใหชัดเจน ถาแผนใดใชทดหรือไมตองการใหตรวจใหขีดกากบาทตลอดหนานั้น
8. บนกระดาษกราฟใหเขียนเลขขอและเลขกราฟบนกระดาษกราฟที่ใชทุกแผนใหชัดเจน
ถาแผนใดทีไ่ มตองการใหตรวจใหขีดกากบาทตลอดหนานั้น
9. เมื่อทําเสร็จแลวใหจัดเรียงกระดาษสรุปคําตอบไวบนสุด ตามดวยกระดาษเขียนตอบ
กระดาษกราฟ กระดาษคํ า ถาม กระดาษทด กระดาษเปลา ที่ เ หลื อ ไวล า งสุ ด หนี บ
กระดาษทั้งหมดเขาดวยกันแลวใสซองวางไวบนโตะสอบ

หามนํากระดาษใดๆ ออกนอกหองสอบโดยเด็ดขาด
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ขอสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คาตอไปนี้กําหนดใหใชได

มวล (M ⊕ ) 5.98 × 1024 kg


รัศมี (R ⊕ ) 6.37 × 106 m
ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงที่ผิวโลก (g) 9.80 m s−2
ความเอียงวงโคจร 23°27′
โลก
Tropical Year 365.2422 mean solar days
Sidereal Year 365.2564 mean solar days
Sidereal day 23h 56m 04s
Albedo 0.39

มวล (M ☾ ) 7.35 × 1022 kg


รัศมี (R ☾ ) 1.74 × 106 m
ระยะทางเฉลี่ยจากโลก 3.84 × 108 m
ดวงจันทร
ความเอียงวงโคจร 5.14°
Albedo 0.14
โชติมาตรปรากฏ (คาเฉลี่ยเมื่อเต็มดวง) −12.74 mag

มวล (M ☉ ) 1.99 × 1030 kg


รัศมี (R ☉ ) 6.96 × 108 m

กําลังสองสวาง (L ☉ ) 3.83 × 1026 W

ดวงอาทิตย โชติมาตรสัมบูรณ (ℳ ☉ ) 4.80 mag


โชติมาตรปรากฏ (m ☉ ) −26.7 mag
ขนาดเชิงมุมปรากฏ 0.5 degrees
ความเร็วในการโคจรรอบกาแล็กซี 220 km s −1
ระยะทางจากใจกลางกาแล็กซี 8.5 kpc

2
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ขอสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1 au 149,597,870,700 m
1 pc 206,265 au
คานิจโนมถวงสากล (G) 6.67 × 10−11 N ⋅ m2 ⋅ kg −2
Planck constant (h) 6.62 × 10−34 J ⋅ s
Boltzmann constant (k B ) 1.38 × 10−23 J ⋅ K −1
Stefan-Boltzmann constant (σ) 5.67 × 10−8 W ⋅ m−2 ⋅ K −4
Wien’s Displacement law λmT
= 2.898 × 10−3 mK
Hubble constant (H 0 ) 67.8 km s−1 Mpc −1
คาคงตัว
อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ (c) 299,792,458 m s −1
คาคงที่ของแกส R G =8.314 J mol-1 K-1

มวลของโปรตอน 1.672621 × 10−27 kg


= 938.27 MeV ⋅ c −2

มวลของดิวทิเรียม 3.343583 × 10−27 kg


= 1875.60 MeV ⋅ c −2

มวลของนิวตรอน 1.674927 × 10−27 kg


= 939.56 MeV ⋅ c −2
Avogadro’s constant N A 6.0221× 1023 mol−1
=

สูตรทั่วไป
∆λ  c+v 
Redshift parameter z ≡ ≡   − 1
λ  c−v 
Mass-luminosity relation สําหรับดาวใน Main Sequence: L ∝ M 3.5
โฟตอนความถี่ f มีพลังงาน E = hf

สําหรับทรงกลมมีรัศมีเทากับ 1 a b
sin a sin b sin c γ
1. = = O c
sin a sin b sin γ
b a
2. cos a cos b cos c + sin b sin c cos a
=
3. cos a =
− cos β cos γ + sin β sin γ cos a

3
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ขอสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

D1. การหาระยะทางและมวลของดาวคู [75 คะแนน]


ระบบดาวคูคือระบบดาวที่ประกอบไปดวยดาวสองดวงโคจรรอบกันและกัน หากเราทราบโชติมาตรปรากฏ
ของดาวทั้งคู คาบของการโคจรรอบกัน และระยะครึ่งแกนหลักเชิงมุมของวงโคจร เราจะสามารถวิเคราะหหา
มวลของดาวคู และระยะหางของระหวางโลกและระบบดาวคูได

เราสามารถเขียนกฎขอที่ 3 ของเคปเลอรใหอยูในรูปแบบความสัมพันธของมุมพารัลแลกซ Π ของระบบดาว


คู ระยะครึ่งแกนหลักเชิงมุม α ของวงโคจรของดาวคู คาบของการโคจรรอบกัน T (จํานวนป) และมวลของ
ดาวคู M A และ M B (จํานวนเทาของมวลดวงอาทิตย) ไดดังนี้

α
Π= (1)
(T )
1/3
2
(M A + M B )

ตารางที่ 1 แสดงขอมูลการเคลื่อนที่ของดาว B สัมพัทธกับดาว A ตั้งแตป ค.ศ. 1928 ถึง 1984 สมมติให


ระนาบวงโคจรตั้งฉากกับแนวเล็ง (inclination เปน 0) โดย S คือระยะหางเชิงมุมระหวางดาว A และดาว B
ในหนวย arcsecond และ θ เปนมุมที่เสนตรงระหวางดาว A กับดาว B เทียบกับแกนอางอิง เมื่อพิจารณา
วาดาว A อยูนิ่ง ในหนวยองศา
ตารางที่ 1
ป θ (º) S ( '' )
1928 51.01 10.85
1930 47.60 10.05
1932 41.89 9.46
1936 30.97 7.59
1938 20.16 6.50
1939 8.15 4.39
1940 2.35 3.64
1941 340.35 3.00
1944 260.33 3.37
1945 235.32 3.09
1947 194.81 3.40
1951 144.20 4.64
1955 110.77 6.97
1956 102.46 7.43
1958 96.48 7.97
1962 85.43 9.51

4
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ขอสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1966 76.60 10.28
1970 67.54 11.20
1974 58.71 11.34
1978 52.78 10.86
1982 43.36 9.56
1984 37.84 8.79

ตารางที่ 2 แสดงชนิดของสเปกตรัมของดาวในแถบลําดับหลัก (main sequence star) ที่สัมพันธกับมวล


และโชติมาตรสัมบูรณ M V
ตารางที่ 2
ชนิดของสเปกตรัม M / M MV
O5V 60 -5.7
B0V 17.5 -4.0
A0V 2.9 +0.6
F0V 1.6 +2.7
G0V 1.05 +4.4
Sun 1.00 +4.83
K0V 0.79 +5.9
M0V 0.51 +8.8
M8V 0.06 +16.0

a. หากกําหนดใหดาว A อยูที่จุดกําเนิด {0, 0} ในระบบพิกัด {x, y} จะไดวา


= cos θ , y S sin θ
x S=

จงคํานวณหาคา x และ y ในแตละปในหนวย arcsecond โดยเติมคําตอบลงในตารางที่ 1 ใน


กระดาษคําตอบ [11 คะแนน]

b. เพื่อใหมองเห็นภาพของวงโคจรของระบบดาวคู A และ B จงเขียนกราฟของ x และ y โดยกําหนดใหดาว


A อยูที่จุดกําเนิด (0,0) เมื่อเขียนครบทุกจุดแลวใหลากเสนแนวโนมที่ดีที่สุดเพื่อใหไดภาพของวงโคจร
และลากเสนระยะครึ่งแกนหลักเชิงมุม α ตามความสมมาตรของวงรี [23 คะแนน]

c. จากกราฟ จงประมาณหาระยะครึ่งแกนหลักเชิงมุม α ในหนวย arcsecond และคาบ T ในหนวยป


[8 คะแนน]

5
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ขอสอบภาคทฤษฎี 8 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
d. สมมติวาดาว A และดาว B เปนดาวในแถบลําดับหลัก โดยดาว A และดาว B มีโชติมาตรปรากฏเปน
-1.47 และ 8.44 ตามลําดับ เนื่องจากเราไมทราบมวลของดาวทั้งคู ในขั้นแรกเราจึงเดาวามวลของดาว
ทั้งสองรวมกันคือ 2 เทาของมวลดวงอาทิตย [5 คะแนน]
d.1 จงคํานวณหาคามุมพารัลแลกซจากสมการที่ (1)
d.2 จงคํานวณหาโชติมาตรสัมบูรณของดาว A และดาว B
d.3 จงใชตารางที่ 2 คํานวณหาคามวลของดาว A และดาว B

e. ใชมวลที่ไดจากขอ d.3 คํานวณขอ d.1 ถึง d.3 อีกครั้ง และทําซ้ําไปเรื่อยๆจนกวาจะไดคามุมพารัล


แลกซ Π คงที่ถึงทศนิยมตําแหนงที่ 3 โดยแสดงผลการคํานวณอยางละเอียดทุกขั้นตอน วิธีนี้เรียกวา
“Iteration”
มวลของดาว A และดาว B เปนเทาใดในหนวยมวลของดวงอาทิตย [21 คะแนน]

f. จงหาระยะหางระหวางโลกและระบบดาวคูนี้ในหนวย parsec [7 คะแนน]

6
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ขอสอบภาควิเคราะหขอมูล 9 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
D2. Megamaser Cosmology Project (MCP) [75 คะแนน]

นักดาราศาสตรใชการสังเกตการณดวยเทคนิค Very Long Base-line Interferometry (VLBI) เพื่อทําแผนภาพ


ตําแหนงและความเร็วในแนวเล็ง (Position-Velocity diagram) แบบความละเอียดสูงในระดับ milli arc-seconds
(mas) โดยการตรวจวัดเสนสเปกตรัมของระบบ Megamaser 1 จากโมเลกุลของน้ําซึ่งมีความถี่ในกรอบนิ่งที่ 22 GHz
การทดลอง Megamaser Cosmology Project (MCP) ศึกษากาแล็กซีที่มี Megamaser โดยจะเลือกกาแล็กซีที่
มีจานของแกสที่ปลอยรังสี maser เคลื่อนที่อยูรอบๆนิวเคลียสตามกฎของเคพเลอร (Keplerian disk) ที่มีขนาดนอย
กวา 1 parsec (pc) และจานอยูในระนาบที่ใกลเคียงมุมมองของผูสังเกตการณ (edge-on) MCP พยายามทําการวัด
คา Hubble constant (H 0 ) เพื่อเปนวิธีทางเลือกในการตรวจสอบผลจากการทดลองทางจักรวาลวิทยาอื่นๆ โดยทํา
การสังเกตการณเปนเวลาตอเนื่องเพื่อวัดความเรงเขาสูศูนยกลางของแกสใน systemic regions ซึ่งสามารถใชในการ
วัดระยะทางไปยังกาแล็กซีนั้นๆ ได
Top view
สเปกตรัมของ megamaser แสดงปรากฏการณ
ดอปเพลอรของเสน maser ซึ่งสามารถแบงเปน 2
บริเวณหลักๆ ไดแก
1) บริเวณที่มีความเร็วในแนวเล็งใกลเคียงกับ
ความเร็วถดถอย (recessional speed) ของกาแล็กซี
ซึ่งเรียกวาsystemic region เปนแกสที่อยูระหวางผู
สังเกตการณ (observer) กับหลุมดํามวลยิ่งยวด Vrot
(Supermassive Black hole) ที่นิวเคลียสของกาแล็กซี
2) บริเวณที่แกสอยูในทิศตั้งฉากกับแนวเล็ง โดยที่
เสนสเปกตรัมจะเกิด blue-shift และ red-shift
เนื่องจากความเร็วในแนวเล็งของแกสสัมพัทธกับ มุมมองของผูสังเกตการณ (Line of Sight: LOS)
ความเร็วถดถอยของกาแล็กซี รูปที่ 1 ภาพ Top-view ของระบบ megamaser และทิศ
ทางการเคลื่อนที่ของแกสในกรอบนิ่งของกาแล็กซี

1
ระบบ Megamaser เปนแกสที่เคลื่อนที่อยูเปนวงแหวนในจานพอกพูนมวล (accretion disk) ของหลุมดําที่อยูที่
นิวเคลียสของกาแล็กซี Megamaser มีกําลังสองสวางสูง สามารถใชสังเกตการณกาแล็กซีที่อยูหางออกไปไดถึงระยะ
หลายรอย Mpc จึงเหมาะสําหรับการนํามาใชเปนเทคนิคในการศึกษาจักรวาลวิทยา

7
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ขอสอบภาควิเคราะหขอมูล 9 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เราจะศึกษากาแล็กซี NGC 5765b ซึ่งมีวงแหวน megamaser ที่มีขนาดบางและอยูในระนาบเดียวกับทิศการ
มองของผูสังเกตการณ และวงโคจรของแกสบนวงแหวนเปนวงกลมรอบนิวเคลียส

ใหใช non-relativistic approach ไดในกรณีแกสหมุนรอบนิวเคลียส และ cosmological redshift ของ


กาแล็กซีมีคาต่ํา
มวล M ของระบบ ภายในรัศมี R < 1 pc มีคาคงที่ซึ่งเปนมวลของนิวเคลียสดาราจักรกัมมันต (Active Galactic
Nuclei: AGN) M AGN

a)
a.1) จงเขียนสมการความสัมพันธระหวางความเร็วของแกส (𝑉rot ) ในวงแหวน ที่ระยะหางเชิงมุม 𝜃 จาก
𝐺𝐺
ศูนยกลางนิวเคลียส กับมวล M ของระบบ กําหนดใหคาคงที่ 𝐶1 = � 𝐷 เมื่อ 𝐷 คือระยะหางจากโลกจง
หาคา 𝐶1 ในรูปของ 𝑉rot และ 𝜃 [4 คะแนน]

a.2) จงเขียนสมการความเรงเขาสูศูนยกลางของแกสในวงแหวน
ในรูปของ 𝑉rot และ 𝜃 [4 คะแนน]
ตารางที่ 1 ขอมูล P-V Blue-shifted
a.3) จงใชขอมูล Position-velocity (P-V) ของแกสในบริเวณ component
blue-shift จากตารางที่ 1 คํานวณหาคา 𝐶1 เมื่อ 𝑉𝐿𝐿𝐿 คือ
ความเร็ ว ในแนวเล็ ง สั ม พั ท ธ เ ที ย บกั บ ผู สั ง เกตการณ บ นโลก
(Local Standard of Rest frame: LSR) และ impact
Impact 𝑽𝑳𝑳𝑳
parameter(mas) (km/s)
parameter 𝜃 คือระยะหางเชิงมุมจากนิวเคลียสของกาแล็กซี -1.1110 7763.5
นักเรียนสามารถใชรูปที่ 2 ในการประมาณความเร็วถดถอย -1.0660 7754.8
(recessional speed) ของกาแล็กซี 𝑉recess -1.0220 7743.2
-0.9777 7728.7
[17 คะแนน] -0.9422 7722.9
-0.9066 7717.1
-0.8533 7688.2

8
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ขอสอบภาควิเคราะหขอมูล 9 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

รูปที่ 2 แผนภาพตําแหนงและความเร็ว (Position-Velocity diagram) ของ megamaser NGC5765b

9
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ขอสอบภาควิเคราะหขอมูล 9 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตารางที่ 2 ขอมูล P-V ของ
จากรูปที่ 2 จะสังเกตเห็นไดวาความเร็วของแกสใน systemic Systemic region
region มีความสัมพันธเปนเสนตรงกับ impact parameter จากการ Impact 𝑽𝑳𝑳𝑳
วัดคา 𝑉𝐿𝐿𝐿 ที่ 𝜃 ตางๆ ไดขอมูลดังตารางที่ 2 parameter(mas) (km/s)
-0.2755 8241.3
กําหนดให 𝑉𝐿𝐿𝐿 = 𝐶2 × 𝜃 + constant
-0.2400 8252.8
-0.2311 8258.6
-0.2044 8276.0
b) จงใช ข อ มู ล ในตารางที่ 2 วาดกราฟระหว า ง impact
parameter 𝜃 กับ 𝑉𝐿𝐿𝐿 และหาคาความชัน 𝐶2 แลวหา -0.1866 8284.7
อัตราสวน 𝐶1 /𝐶2 [18 คะแนน] -0.1511 8305.0
-0.1422 8313.7
-0.1244 8328.1
-0.0978 8339.7

จากการศึกษา megamaser หลายๆ ระบบ เราพบวาบริเวณแกส maser จะเกาะกลุมรวมตัวเปนวงแหวนของ


gas โดยที่รัศมีของ megamaser มีคา 𝜃𝑠 = 𝐶1 /𝐶2 และในที่นี้เราจะประมาณวา megamaser gas อยูที่ ระยะ
𝜃𝑠 เทานั้น

c) MCP ใชกลองโทรทรรศนวิทยุ Green Bank Telescope (GBT) ในการเฝาสังเกตการณกาแล็กซี NGC


5765b เปนเวลาเกือบ 2 ป จากกราฟการเปลี่ยนแปลงความเร็วของเสนสเปกตรัม (รูปที่ 3) จงหาคาความเรง
เฉลี่ย จากขอมูล 6 ชุด ที่อยูระหวางความเร็ว 8260 – 8280 km/s ในหนวย km s−1 yr −1คาที่ไดนี้
สามารถประมาณวาเทากับความเรงเขาสูศูนยกลาง [18 คะแนน]

d) จงใช ความความสั มพันธ ของความเรงเขาสูศูน ยกลางที่ไดในขอ a) เพื่อหารัศมี 𝑅𝑠 ของวงแหวน


megamaser และใชรูปที่ 2 ในการประมาณความเร็ววงโคจร 𝑉rot ของแกสในวงแหวน megamaser
[10 คะแนน]

e) จงหาระยะหางถึงกาแล็กซี NGC 5765b และคํานวณหาคา Hubble constant (H 0 ) ในหนวย


km s −1 Mpc −1 [4 คะแนน]

10
การแขงขันดาราศาสตรโอลิมปกระดับชาติ ครั้งที่ 15 (ระดับมัธยมตน)
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ขอสอบภาควิเคราะหขอมูล 9 พฤษภาคม 2561
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

รูปที่ 3 ความเร็วในแนวเล็งของแกสเปนฟงกชันของเวลาที่สังเกตการณ

..............................................................................

11

You might also like