You are on page 1of 41

โครงสร้างอะตอม

ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.ศศิ ก านต์ สุ ว รรณประที ป


ค ณ ะ วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ศ า ส ต ร์

ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี ร า ช ม ง ค ล สุ ว ร ร ณ ภู มิ

1
โครงสร้างอะตอม

2
เลขอะตอมและมวลอะตอม

3
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
เมื่อ A = เลขมวล (Mass number)
= p+n
**เลขมวล เลขมาก

Z = เลขอะตอม (Atomic number)


= p = e-
A=Z+N เมื่อ: N เป็ นจานวนนิวตรอน
4
สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
เลขมวล ( A )
เลขอะตอม ( Atomic Numbers )
=จำนวนโปรตอนที่อยู่ในนิวเคลียส 64
เลขมวล ( Mass Number ; A ) เลขอะตอม ( Z ) 29 Cu
=จำนวนโปรตอนรวมกับจำนวนนิวตรอนที่อยู่
ในนิวเคลียส
A= P+N
64 = 29 + N
N = 35 5
มวลอะตอม ( Atomic Mass )
1
● เป็ นตัวเลขที่บอกว่ำธำตุนัน้ 1 อะตอม มีมวลเป็ นกี่เท่ำของ เท่ำ
12
คำร์บอน ( C12 )
● มวลเป็ นกรัมของธำตุนัน้ จำนวน 6.02 x 1023 อะตอม
ซึ่งตัวเลข 6.02 x 1023 นี้ เรียกว่ำ Avogadro’s number

● กำรบอกปริมำณสำรอำจบอกเป็ น โมล
สารปริมาณ 1 โมล จานวน 6.02 x 1023 อะตอม จะมีมวลเท่ากับ
26
มวลอะตอมของธาตุนัน้

* เหล็กปริมำณ 1 โมล จำนวน 6.02 x 1023 อะตอม มีมวล เท่ำกับ 55.847 กรัม
Fe
55.85

6
Ex 1 ให้หำ ก) ทองแดง 1 อะตอมมีมวลกี่กรัม 29

ข) ทองแดงมวล 1 กรัมมีกี่อะตอม Cu63.54

Solution : ทองแดงปริมำณ 1 โมล จำนวน 6.02 x 1023 อะตอม มีมวล 63.54 กรัม

ก) ทองแดง 1 อะตอมมีมวล =
63.54
6.02 10 23
= 1.05  10 − 22
g ◄

6.02 1023
ข) ทองแดงมวล 1 กรัม มีจำนวน
63.54
= 9.47 1021 atoms ◄

7
Ex 2 โลหะผสมทีม่ ที องแดง 75 % โดยนา้ หนัก และ นิกเกิล 25 % โดยนา้ หนัก
ให้หา % อะตอมของ ทองแดงและ นิกเกิล

Cu = 63.54 g/mol , Ni = 58.69 g/mol


Solution : ให้โลหะผสมมีมวล 100 g

จำนวนโมลของทองแดง =
75 g
= 1.1803mol
63.54 g / mol

จำนวนโมลของนิกเกิล =
25 g
= 0.4260mol
58.69 g / mol

จำนวนโมลรวม = 1.1803 + 0.4260 = 1.6063 mol


Atomic % ของทองแดง  1.1803 
=
 1.6063
 100 = 73.5%


Atomic % ของนิกเกิล  0.4260 
=  100 = 26.5%
 1.6063  ◄
8
3. โครงสร้างทางอิเล็กทรอนิกส์ของอะตอม
3.1 ไฮโดรเจนอะตอม

E = h
 (nu ) = Frequency of the Photon
h = Planck ' s Cons tan t = 6.63 x 10 −34 joule. sec ond (J.s ) 9
แบบจำลองไฮโดรเจนอะตอมของ Bohr
Niels Henrik Bohr in 1913
Using Hydrogen Spectrum Data
(Bohr Equation)

10
E = h
c = 
c
=

hc
E =

2 2 me 4 13.6
E = − 2 2 = − 2 ev (n = 1, 2, 3, 4, 5,....)
n h n
e = electron ch arg e
m = electron mass
n = principal quantum number
1.00 eV = 1.60 x 10 −19 J .
11
ภาพ กลุ่มหมอกอิเล็กตรอน
ของไฮโดรเจนอะตอม

ภาพ สเปกตรัมระดับพลังงานของไฮโดรเจนอะตอม

12
Ex 4 ให้คำนวณหำพลังงำนของโฟตอนที่มีควำมยำวคลื่น 121.6 nm ในหน่ วย
1eVและ Joule ( h = 6.63 x 10-34J.s , 1 eV = 1.6 x 10-19 J )

Solution hc
E =

E =
(6.63 10 −34
)(
J .s 3.00 108 m / s )
121.6 10−9 m

= 1.63  10 −18 J ◄

 
E = (1.63 10 −18
J )
1eV
−19  = 10.2eV ◄
 1.60 10 J 

13
3.2 เลขควอนตัมของอิเล็กตรอนในอะตอม

Principal quantum
n number
n = 1, 2, 3, 4,… All positive integers

Subsidiary quantum n allowed value of l


l number
l = 0, 1, 2, 3,…n-1
l=spdf

Integral Values from


Magnetic quantum
ml number
–l to +l, including 2l +1
Zero

ms Spin quantum number +1/2, -1/2 2

หลักของ Pauli “ไม่มีอิเล็กตรอนทีม่ ีเลขควอนตัมเหมือนกันทัง้ 4 ค่า”

14
3.3 โครงสร้ำงทำงอิเล็กทรอนิกส์ที่มีหลำยอิเล็กตรอนในอะตอม

Shell number, n Maximum number of


Maximum number of
(Priciple quantum electron in each shell
electron in orbitals
number) (2n2)

1 2(12) = 2 s2

2 2(22) = 8 s2 p6

3 2(32) = 18 s2 p6 d10

4 2(42) = 32 s2 p6 d10 f14

5 2(52) = 50 s2 p6 d10 f14…….

6 2(62) = 72 s2 p6.....

7 2(72) = 8 s2 ……

15
ภาพ แสดงขนาดอะตอมในหน่ วยนาโนเมตร

16
การจัดอิเล็กตรอนในอะตอมทีม่ ีหลายอิเล็กตรอน

17
Ex 6 .ให้จดั อิเล็กตรอนของธำตุต่อไปนี้ ก) เหล็ก ข) ซำมำเรียม

s2
p6
Solution: ก) เหล็ก ( Z =26 ) d  10
26
f  14
Fe 55.85

กำรจัดอิเล็กตรอน ;
2 2 6 2 6 2 6
1s 2s 2 p 3s 3 p 4s 3d

18
Ex 7 .ให้จดั อิเล็กตรอนไอออนของ
เหล็กต่อไปนี้ Fe2+ , Fe3+ s2
p6
d  10
Solution: 26
f  14
Fe
55.85
2 2 6 2 6 2 6
กำรจัดอิเล็กตรอนของ Fe (26) ; 1s 2 s 2 p 3s 3 p 4 s 3d
กำรจัดอิเล็กตรอนของ Fe2+ (24); 1s 2 2 s 2 2 p 6 3s 2 3 p 6 3d 6

กำรจัดอิเล็กตรอนของ Fe3+ (23) ; 1s 2 2 s 2 2 p 6 3s 2 3 p 6 3d 5

19
Ex 8 .ให้จดั อิเล็กตรอนของธำตุต่อไปนี้ s2
p6
ข) ซำมำเรียม
d  10
f  14
Solution: 62
ข) ซำมำเรียม
Sm
150.4

กำรจัดอิเล็กตรอน ;

2 2 6 2 6 2 10 6 2 10 6 2 6
1s 2 s 2 p 3s 3 p 4s 3d 4 p 5s 4d 5 p 6s 4 f
20
3.4 โครงสร้ำงทำงอิเล็กทรอนิกส์และควำมไวในกำรเกิดปฏิกิริยำ
• สมบัติทางเคมีของอะตอม ของธาตุ ต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับความสามารถในการท า
ปฏิกริ ิยาของอิเล็กตรอนทีอ่ ยูใ่ นวงโคจรนอกสุด
• แก๊สเฉื่อย (Noble gas) ธาตุในกลุ่ม 8A (ยกเว้น He )
- มีเสถียรภาพมากทีส่ ุด ทาปฏิกริ ิยากับธาตุอนื่ ๆ น้อยทีส่ ุด
- ธาตุในกลุ่มนีไ้ ด้แก่ Ne, Ar, Kr, Xe , Rn มีการจัดอิเล็กตรอนแบบ s2p6

21
ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างอะตอมกับสมบัติทางเคมีบางประการ
ของโลหะกับอโลหะ

โลหะ อโลหะ
1. จำนวนอิเล็กตรอนที่โคจรวงนอกสุด 1. จำนวนอิเล็กตรอนที่โคจรวงนอกสุด
ไม่เกิน 3 อิเล็กตรอน อย่ำงน้อย 4 อิเล็กตรอน
2. เกิด cations เนื่องจำกสูญเสีย อิเล็กตรอน 2. เกิด anions โดยกำรรับอิเล็กตรอน
3. มีคำ่ Electronegativity ต่ำ 3. มีคำ่ Electronegativity สูง

22
4. ชนิดของพันธะ
● กำรพันธะระหว่ำงอะตอมเพื่อลดพลังงำนศักย์ไฟฟ้ ำ
● พันธะเคมีระหว่ำงอะตอมแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม ได้แก่
พันธะปฐมภูมิ ( Primary bonds) และ พันธะทุติยภูมิ ( secondary bonds)

23
พันธะปฐมภูมิ ( Primary bonds)
1) พันธะไอออนิก
● จ่ำยและรับอิเล็กตรอน

2) พันธะโควำเลนต์
● ใช้รบั อิเล็กตรอนร่วมกัน

3) พันธะโลหะ
● ใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน แต่
อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้อย่ำงอิสระ
24
พันธะทุติภมู ิ ( Seondary bonds)
1) พันธะทีเ่ กิดจากขัว้ ถาวร ( Permanent dipole bonds)

2) พันธะทีเ่ กิดจากขัว้ แปรผัน ( Fluctuating dipole bonds)

25
5. พันธะไอออนิก

Fnet = Fattractive + Frepulse


26
แรงระหว่างพันธะไอออนิก

− Z1Z 2e 2
Fattractive =
4  a 2

− nb
Frepulsive = n +1
a

27
Ex 9 แรงดึงดูดระหว่ำงคู่ไอออน Mg2+ กับ S-2 มีค่ำเท่ำกับ 1.49x10-8 N
ให้หำรัศมีของ Mg2+ rS = 0.184nm 2−

e = 1.6 10−19 C ,   = 8.85 10−12 C 2 / Nm 2

Solution:
− Z1Z 2e 2
Fattractive =
4  a 2

(2)(− 2)(1.6 10 )


−19 2
C
1.49  10 −8 N = −
(
4 8.85 10 −12 C 2 / Nm 2 ) (r
2
Mg 2+ )
+ 0.184 10 −18 m 2
2

rMg 2+ = 0.065 10 −9 m ◄

28
พลังงานระหว่างพันธะไอออนิก

Enet = Eattractive + Erepulsive


2
ZZe b
Enet =+ 1 2 + n
4  a a
29
6.พันธะโควาเลนต์
● ใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน ค่ำอิเล็กโทรเนกำติวิตี้ของอะตอมต่ำงกันเล็กน้ อย

1s1electron

H● + H● H●
● H
อะตอม อะตอม โมเลกุล

พันธะโควาเลนต์ในโมเลกุลของไฮโดรเจน 30
พันธะโควาเลนต์ในอะตอมคู่อน่ื ๆ
Fluorine(F) 1s22s22p5 F + F F F F F
Oxegen(O) 1s22s22p4 O + O O O O O
Nitrogen(N) 1s22s22p3 N + N N N N N

31
32
พันธะโควาเลนต์ของคาร์บอน

s2
p6
d  10
f  14

กำรจัดอิเล็กตรอนของ C (6) ; 1s 2 2 s 2 2 p 2

33
อะตอมคำร์บอนที่จดั รูป sp3 พันธะโควำเลนต์ของ tetrahedral sp3
เกิดโครงสร้ำงรูป tetrahedral เป็ นโครงสร้ำงของเพชร 34
พันธะโควาเลนต์ของคาร์บอน
● พันธะโควำเลนต์ของมีเทน เป็ นแบบ sp3
● พลังงำนพันธะโควำเลนต์ระหว่ำง อะตอม ของมีเทนค่อนข้ำงสูง 1650 kJ/mol
● พลังงำนพันธะโควำเลนต์ระหว่ำง โมเลกุล ของมีเทนมีค่ำต ่า

CH 4

35
สำรประกอบไฮโดรคำร์บอนพันธะเดี่ยว มวลโมเลกุลเพิ่ม จุดหลอมตัวจะเพิ่ม

สำรประกอบไฮโดรคำร์บอนหลำยพันธะ

36
Benzene (C6H6)

สูตรโครงสร้างทีเ่ ขียน สูตรโครงสร้าง พันธะโควาเลนต์ทีผ่ ิด สูตรโครงสร้าง


ระนาบ
พันธะเป็ นเส้นตรง อย่างง่าย อย่างง่าย

37
7. พันธะโลหะ
● พันธะโลหะอะตอมจะอยู่ชิดกันมำก โครงสร้ำงผลึกมีลกั ษณะแน่ นอน
เช่น ทองแดง ทองคำ เงิน และ อะลูมินัม เป็ นต้น

38
8.พันธะทุติยภูมิ
● พลังงำนของพันธะทุติยภูมิมีค่ำน้ อย 4 – 42 kJ/mol
● เมือ่ ประจุแยกจำกกัน จะเกิดขัว้ ไฟฟ้ ำของอะตอม ทำให้เกิดโมเมนต์ทำงไฟฟ้ ำ
 = qd

(b) โมเมนต์ทางไฟฟ้ าของพันธะ


ขัว้ ไฟฟ้ า
โควาเลนต์ ทาให้ประจุบวกและ
ประจุลบแยกจากจุดศูนย์กลาง

39
พันธะทุติภมู ิ ( Seondary bonds)
1) พันธะทีเ่ กิดจากขัว้ แปรผัน ( Fluctuating dipole
bonds)

ลบ
บวก

● กำรที่อิเล็กตรอนโคจรในลักษณะที่ไม่สมมำตร 40
2) พันธะทีเ่ กิดจากขัว้ ถาวร ( Permanent dipole
bonds)

41

You might also like