You are on page 1of 33

โครงสร้างผลึก

ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.ศศิ ก านต์ สุ ว รรณประ ที ป


ค ณ ะ วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ศ า ส ต ร์

ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี ร า ช ม ง ค ล สุ ว ร ร ณ ภู มิ

1
III. Crystal and Amorphous Structure in Materials
1. The Space Lattice and Unit Cells
2. Crystal System and Bravais Lattice
3. Principle Metallic Crystal Structures
4. Atom Positions in Cubic Unit Cells
5. Directions in Cubic Unit Cells

6. ดรรชนีมิลเลอร์ของระนาบผลึกในหน่วยเซลล์คิวบิก
7. ระนาบและทิศทางในโครงสร้างผลึก HCP

8. การเปรี ยบเทียบโครงสร้าง FCC , BCC และ HCP


9. การคานวณหาความหนาแน่นใน unit cell

10. Polymorphism
11. การวิเคราะห์โครงสร้างผลึก

12. Amorphous Materials


2
1.THE SPACE LATTICE AND UNIT CELLS

* โครงสร้ างของวัสดุทเี่ ป็ นผลึก


อะตอมจะเรียงตัวเป็ นระเบียบ
* การจัดเรียงของอะตอม ใช้ จุดตัดใน
โครงร่ างสามมิตแิ ทนอะตอม โดยไม่ มี
ขีดจากัด ทีเ่ รียกว่ า Space Lattice
* การอธิบายโครงสร้ างผลึกใช้ Unit
Cell

(a) Space Lattice ของโครงสร้ างผลึก


(b) Unit Cell อธิบายด้ วย Lattice Vector a,b,c

3
2. Crystal System and Bravais Lattice

4
3. Principle Metallic Crystal Structures

Unit Cell ของโครงสร้ างผลึก


(a) BCC (b) FCC (c) HCP

5
อะตอมอยู่ที่มุมทั้ง 8 ของ Unit Cell และจะมีอะตอมอยู่ที่ตรงกลางของUnit
Cell

Unit Cell แบบ BCC (a) ตาแหน่ งอะตอมใน Unit Cell


(b) Unit Cell ของอะตอม
(c ) อะตอมใน Unit Cell

BODY CENTER CUBIC (BCC) CRYSTAL STRUCTURE 6


ความสั มพันธ์ ระหว่ าง Lattice Constan (a) กับรัศมี R
ของโครงสร้ าง BCC

4R
3 a = 4R หรือ a =
3

BODY CENTER CUBIC (BCC) CRYSTAL STRUCTURE 7


Ex. 1 เหล็กทีอ่ ุณหภูมิ 20 ๐C มีโครงสร้ างแบบ BCC รัศมีของ
อะตอม มีขนาด 0.124 นาโนเมตร จงหา Lattice Constant (a) ใน
Unit Cell ของเหล็ก

4R
3 a = 4R หรือ a =
3
4(0.124nm)
a= = 0.2864nm
3

BODY CENTER CUBIC (BCC) CRYSTAL STRUCTURE 8


ตัวอย่ าง ค่ าคงทีโ่ ครงร่ างและรัศมีอะตอม ของโลหะบางชนิดซึ่งมีโครงสร้ างผลึกแบบ
BCC ทีอ่ ุณหภูมิห้อง 20 ๐C
Lattice Atomic
Metal Constant radius
a, nm R, nm
Chromium 0.289 0.125
Iron 0.287 0.124
Molybdenum 0.315 0.136
Potassium 0.533 0.231
Sodium 0.429 0.186
Tantalum 0.330 0.143
Tungsten 0.316 0.137
Vanadium 0.304 0.132

BODY CENTER CUBIC (BCC) CRYSTAL STRUCTURE 9


Atomic Packing Factor (APF)
หาได้ จากสมการ

ปริมาตรของอะตอมใน Unit Cell


APF =
ปริมาตรของ Unit Cell

BODY CENTER CUBIC (BCC) CRYSTAL STRUCTURE 10


Ex. 2 ให้ หา atomic packing factor (APF) ของโครงสร้ างผลึกแบบ
BCC ใน Unit Cell โดยสมมติให้ อะตอมมีรูปทรงกลม
ปริมาตรของอะตอมใน Unit Cell
APF = (A)
ปริมาตรของ Unit Cell
4 3
Vatoms = (2)( R ) = 8.373R 3
3
Vunit cell = a 3

BODY CENTER CUBIC (BCC) CRYSTAL STRUCTURE 11


4R
3 a = 4R หรือ a =
3

Vunit cell = a 3
= 12.32R 3

3
Vatims / Unit cell 8.373R
APF = = 3
= 0.68
Vunit cell 12.32R

BODY CENTER CUBIC (BCC) CRYSTAL STRUCTURE 12


อะตอมอยู่ที่มุมทั้ง 8 ของ Unit Cell และจะมีอะตอมอยู่ที่ตรงกลาง
ของแต่ ละผิวหน้ า

Unit Cell แบบ FCC (a) ตาแหน่ งอะตอมใน Unit Cell


(b) Unit Cell ของอะตอม
(c ) อะตอมใน Unit Cell

FACE - CENTER CUBIC (FCC) CRYSTAL STRUCTURE 13


ความสั มพันธ์ ระหว่ าง Lattice Constant (a) กับรัศมี R
ของโครงสร้ าง FCC

4R
2 a = 4R หรือ a =
2

FACE - CENTER CUBIC (FCC) CRYSTAL STRUCTURE 14


ตัวอย่ าง ค่ าคงทีโ่ ครงร่ างและรัศมีอะตอม ของโลหะบางชนิดซึ่งมีโครงสร้ างผลึกแบบ
FCC ทีอ่ ุณหภูมิห้อง 20 ๐C

Lattice Atomic
Metal Constant radius
a, nm R, nm
Aluminum 0.405 0.143
Copper 0.3615 0.128
Gold 0.408 0.144
Lead 0.495 0.175
Nickel 0.352 0.125
Platinum 0.393 0.139
Silver 0.409 0.144

FACE CENTER CUBIC (BCC) CRYSTAL STRUCTURE 15


* APF ของอะตอมที่เรียงตัวแบบ HCP มีค่า 0.74
* Coordinate Number = 12
* มี 6 อะตอม/Unit cell
HEXAGONAL CLOSE-PACKED (HCP) CRYSTAL STRUCTURE 16
โลหะบางชนิดซึ่งมีโครงสร้ างผลึกแบบ HCP ที่อุณหภูมิห้อง 20 ๐C
Lattice Atomic
Metal Constants, nm radius % devlation
a c R, nm C/a ratio from Ideallty
Cadmiun 0.2973 0.5618 0.149 1.890 +15.7
Zinc 0.2665 0.4947 0.133 1.856 +13.6
Ideal HCP 1.633 0
Magnesium 0.3209 0.5209 0.160 1.623 -0.66
Cobalt 0.2507 0.4069 0.125 1.623 -0.66
Zirconium 0.3231 0.4683 0.147 1.587 -2.81
Titanium 0.2950 0.4683 0.147 1.587 -2.81
Beryllium 0.2286 0.3584 0.113 1.568 -3.98

HEXAGONAL CLOSE-PACKED (HCP) CRYSTAL STRUCTURE 17


4. Atom Positions in Cubic Unit Cells

ตาแหน่งของอะตอม

18
5. Directions in Cubic Unit Cells
ทิศทางของผลึก

* ดัชนีทิศทาง X, Y และ Z แทนด้ วย [UVW]


* Family ของทิศทาง แทนด้ วย UV W เช่ น
<100> [100, 010, 001, 010, 001, 100]
19
วิธีการหาทิศทางในผลึก
1.กำหนดโคออร์ดิเนตของจุดเริ่ มต้น และสิ้ นสุ ดของทิศทำง (ใช้หวั ลูกศรเป็ นตัวกำหนด)
โครงสร้างอะตอม
2. ใช้โคออร์ดิเนตปลำยทำง (หัวลูกศร) ลบ โคออร์ดิเนตต้นทำง (หำงลูกศร)
3.ทำให้ตวั เลขเป็ นจำนวนเต็มที่ค่ำน้อยๆ
และผลึก
4.เขียนใส่ ในวงเล็บใหญ่ [ ] โดยไม่ตอ้ งใส่ เครื่ องหมำยแยกใดๆ และถ้ำตัวใดติดลบ ให้ขีดเส้นไว้
บนตัวเลขนั้นๆ
ผู้ ช่ ว ย ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . ศ ศิ ก า น ต์ สุ ว ร ร ณ ป ร ะ ที ป
ค ณ ะ วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ศ า ส ต ร์

ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี ร า ช ม ง ค ล สุ ว ร ร ณ ภู มิ
Ex. 4 จงเขียนเวกเตอร์ ทิศทางต่ อไปนี้ ในUnit Cell

(a) [1 0 0] และ
[1 10]
(b) [1 1 2]
(c) [1 1 0]
(d) [3 2 1]

DIRECTION IN CUBIC UNIT CELLS 21


Ex. 5 ให้ บอกดัชนีทศิ ทางทีแ่ สดงในรู ปลูกบาศก์ (จากภาพ)

66 1 

DIRECTION IN CUBIC UNIT CELLS 22


Ex. 6 ให้ หาดัชนีทศิ ทางในรู ปลูกบาศก์ ระหว่ างตาแหน่ งพิกดั
3 1 1 1 1
( , 0, ) และ ( , , )
4 4 4 2 2

1 1 1 3 1  2 1 1
 , ,  −  ,0,  =  − , , 
4 2 2 4 4  4 2 4

221
 2 1 1
4 − , ,  = −2,2,1
 4 2 4
DIRECTION IN CUBIC UNIT CELLS 23
6. ดรรชนีมิลเลอร์ ของระนาบผลึกในหน่ วยเซลล์ ควิ บิก

* การกาหนดระนาบของผลึกใช้ ระบบสั ญกรณ์ ของมิลเลอร์ (h k l)


* ขั้นตอนการหาดัชนีมิลเลอร์ ของระนาบผลึก
1. เลือกจุดกาเนิดระนาบทีไ่ ม่ ผ่าน (0, 0, 0)
2. หาจุดตัดแกน X, Y และ Z ของระนาบ
3. หาส่ วนกลับของจุดตัด
4. ทาเศษส่ วนให้ เป็ นจานวนเต็ม ซึ่งเป็ นอัตราส่ วนน้ อยสุด 24
1 2
x, y, z  , ,1
3 3
1 1 1 3
, ,  3, ,1
x y z 2

 3 
2   3, ,1  (632)
 2 

ระนาบ (632)

MILLER INDICES CRYSTALLOGRAPHIC PLANE IN UNIT CELLS 25


Ex. 7 จงเขียนระนาบของผลึก ในUnit Cell ต่ อไปนี้

(a) (1 0 1)
(b) (1 1 0)
(c) (2 2 1)
(d) (1 1 0) และเขียน
พิกดั อะตอมที่ระนาบ (1 1 0)
ตัดผ่ านจุดศูนย์ กลาง
อะตอม

MILLER INDICES CRYSTALLOGRAPHIC PLANE IN UNIT CELLS 26


* ในระบบลูกบาศก์ ดัชนีทศิ ทางจะตั้งฉากกับ
ระนาบ เมื่อตัวเลขที่แสดงดัชนีทิศทาง
เหมือนกันกับดัชนีมิลเลอร์ ของระนาบ เช่ น
ทิศทาง [1 0 0] จะตั้งฉากกับระนาบ (1 0 0)
*ระยะห่ างระหว่ างระนาบทีข่ นานกันและอยู่
ติดกัน

a
dhkl =
h +k +l
2 2 2

MILLER INDICES CRYSTALLOGRAPHIC PLANE IN UNIT CELLS 27


Ex. 8 จงหาดัชนีมิลเลอร์ ของระนาบ ในผลึกรู ปลูกบาศก์
2 1 5
x = 1, y = − −  = − , z =
3 4 12

1 1 1 12
reciprocal  , ,  1,− ,0
1 − 5  5
12

 12 
51, ,0  
 5  (5 12 0)
MILLER INDICES CRYSTALLOGRAPHIC PLANE IN UNIT CELLS 28
Ex. 9 จงหาดัชนีมิลเลอร์ ของระนาบ ในผลึกรู ปลูกบาศก์
ซึ่งมีพกิ ดั ดังนี้ C (1, 1/4, 0)
A (1, 1, 1/2)
B (3/4, 1, 1/4)
1 
D ,1,0  1 3
x = − ,y = − ,z =
1
2  2 4 2
1 1 4 1
reciprocal = −2, = − , = 2
x y 3 z
 3  −6,−4,6

(6 46)
MILLER INDICES CRYSTALLOGRAPHIC PLANE IN UNIT CELLS 29
Ex. ทองแดงมีโครงสร้างผลึกแบบ FCC ค่า lattice constant
เท่ากับ 0.361 nm ให้หา ระยะห่างระหว่างระนาบ d220

a
d hkl =
h +k +l
2 2 2

0.361nm
d 220 =
22 + 22 + 02
= 0.128nm

30
7. ระนาบและทิศทางในโครงสร้ างผลึก HCP

* ระนาบของผลึก HCP แทนด้ วย


ดัชนี Miller-Bravais (hkil)
* h, k, i, l เกิดจากส่ วนกลับของ
จุดตัดบนแกน a1, a2, a3 และ C
แล้ วทาให้ เป็ นจานวนเต็ม ซึ่งเป็ น
อัตราส่ วนน้ อยสุ ด

แกน a1 , a2 , a3 และ C ที่ใช้ในระบบผลึก HCP

31
ระนาบของ HCP (a) ฐาน (b) ด้านข้าง

CRYSTALLOGRAPHIC PLANE AND DIRECTIONS IN HEXAGONAL UNIT CELLS 32


[uvtw] u + v = -t

33

You might also like