You are on page 1of 13

250 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(2) : 250-262 (2563)

ผลของเวลาอบแช่ ในกระบวนการอบชุบความร้ อนแบบไซคลิกต่ อโครงสร้ าง


คาร์ ไบด์ แบบตาข่ ายของเหล็กกล้ าคาร์ บอนคาร์ เบอร์ ไรซิง
The Effect of Holding Time in Cyclic Heat Treatment Process
on Network Carbide Structure of Carburized Carbon Steel

ณรงค์ศกั ดิ์ ธรรมโชติ วรรณา หอมจะบก * อมรศักดิ์ มาใหญ่ และ สมบัติ น้อยมิ่ง
Narongsak Thammachot, Wanna Homjabok *, Amornsak Mayai and Sombut Noyming
Received: 7 March 2019, Revised: 30 July 2019, Accepted: 15 October 2019

บทคัดย่ อ

งานวิ จัย นี้ มี ว ตั ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาผลของเวลาอบแช่ ใ นการอบชุ บ ความร้ อ นแบบไซคลิ ก ที่ มี ต่ อ
โครงสร้างคาร์ไบด์แบบตาข่ายและสมบัติทางกลของเหล็กกล้าคาร์ บอนต่าที่ผ่านกระบวนการแพ็คคาร์ เบอไรด์ การ
ทดลองทาโดยการนาชิ้นทดสอบมาทาการให้ความร้อนเหนื ออุณหภูมิวิกฤติเส้น A1 ที่อุณหภูมิ 780 °C สลับกับต่ า
กว่าเส้น A1ที่อุณหภูมิ 680 °C จานวน 5 รอบ แต่ละรอบใช้เวลาอบแช่ 0, 5 และ 10 นาที จากนั้น นาชิ้นทดสอบมาทา
การชุบแข็งโดยให้ความร้อนที่ อุณหภูมิออสเทนไนต์ 780 °C เวลา 30 นาที จุ่มชุ บในน้ าแล้วเทมเปอร์ ที่อุณหภูมิ
180 °C เวลา60 นาที จากนั้น ทาการตรวจสอบโครงสร้างจุลภาคและสมบัติทางกล จากผลการทดลองพบว่า ชิ้ น
ทดสอบที่ผ่านกระบวนการแพ็คคาร์ เบอไรซิ งเกิ ดโครงสร้างโปรยูเทกตอยด์ซีเมนไทต์หรื อคาร์ ไบด์แบบตาข่ายใน
เมทริ กซ์เพอร์ไลต์ เมื่อผ่านกระบวนการอบชุบทางความร้อนแบบไซคลิกที่เวลาการอบแช่ที่ต่างกัน ทาให้โครงสร้าง
โปรยูเทกตอยด์ซีเมนไทต์และยูเทกตอยด์ซีเมนไทต์เปลี่ยนแปลงไปเป็ นคาร์ ไบด์กอ้ นกลมกระจายตัวอยู่ในเมทริ กซ์
เพอร์ ไลต์ โดยแนวโน้มของคาร์ ไบด์กอ้ นกลมจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อใช้เวลาอบแช่ มากขึ้น ภายหลังทาการชุ บแข็งและ
การเทมเปอร์ พบว่า เมทริ กซ์เพอร์ ไลต์เปลี่ยนไปเป็ นมาร์ เทนไซต์เมทริ กซ์โดยมีคาร์ ไบด์กอ้ นกลมกระจายอยู่ทวั่ ไป
ในขณะที่สมบัติทางกลทั้งค่าความแข็ง ความต้านทานแรงกระแทก และความต้านทานแรงดึงมีแนวโน้มสู งขึ้นเมื่อ
ใช้เวลาอบแช่มากขึ้น

คาสาคัญ: การอบชุบความร้อนแบบไซคลิก, คาร์ไบด์กอ้ นกลม, คาร์ไบด์แบบตาข่าย, แพ็คคาร์เบอไรซิ ง

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หน่ วยวิจยั โลหวิทยาและการอบชุ บความร้ อน คณะวิศวกรรมศาสตร์ และสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสี มา 30000
Metallurgy and Heat Treatment Research Unit, Faculty of Engineering and Architecture, Rajamangala University of Technology Isan, Muang,
Nakhon Ratchasima 30000, Thailand.
*
ผูน้ ิพนธ์ประสานงาน ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (Corresponding author, e-mail): whomjabok@hotmail.com
วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(2) : 250-262 (2563) 251

ABSTRACT

The objective of this research was to study the effect of holding time of cyclic heat treatment on
network carbide and mechanical properties of pack carburized low carbon steel. The experiments were conducted
by heating the specimens over critical temperature A1 line at 780 °C followed by cooling down to lower critical
temperature A1 line at temperature of 680 °C. The cycles of heating and cooling were 5 cycles, each of cycle was
held at 0, 5 and 10 minutes. They were then hardened by austenitizing temperature of 780 °C with the holding
time of 30 minutes followed by quenching in water. Finally, the specimens were tempered at 180 °C for 30
minutes. The microstructure inspection and mechanical properties testing were carried out. The results of this
experiment showed that the microstructure of pack carburized specimens consisted of pro-eutectiod cementite or
network carbide in pearlite matrix. After cyclic heat treatment, the pro-eutectiod cementite and eutectoid
cementite structure transformed to spheroidized carbides and distributed in pearlite matrix. The tendency of
spheroidized carbides grew when the holding time increased. After hardening and tempering, the pearlite matrix
transformed to martensite matrix with the distributed of spheroidized carbides. The mechanical properties such as
hardness, impact and tensile strength tended to rise when the holding time increased.

Key words: cyclic heat treatment, spheroidized carbide, network carbide, pack carburizing

บทนา (มนัส, 2537) งานวิจยั นี้ จึงอาศัยวิธีแพ็คคาร์ เบอไรซิ ง


กระบวนการทางความร้ อนมี ค วามส าคัญ เพื่ อ เพิ่ ม ธาตุ ค าร์ บ อนที่ ผิ ว ของชิ้ น งาน จะท าให้
อย่างมากในการปรับปรุ งสมบัติทางกลของโลหะให้ สามารถทาการชุ บแข็งได้โดยยังคงความเหนี ย วไว้
ดี ข้ ึ นและให้ เ หมาะสมกับ การน าไปใช้ง าน เหล็ ก ภายในโครงสร้ าง อย่า งไรก็ตาม เมื่ อเหล็กผ่านการ
เครื่ องมื อ (Tool steel) เป็ นเหล็กที่ มีธาตุ ผสมสู ง มี แพ็ ค คาร์ เ บอไรซิ งแล้ว จะท าให้ เ กิ ด โครงสร้ า ง
ความสามารถในการชุบแข็งที่ ดี ส่ งผลทาให้มีสมบัติ คาร์ ไ บด์แบบตาข่ า ยขึ้ นบริ เวณขอบเกรนของเพอร์
ทางกลที่ ดีข้ ึ นด้วย (มนัส, 2537) ส่ วนเหล็กกล้า ไลต์ ซึ่ งไม่ เ ป็ นผลดี ต่ อสมบัติ ทางกล และยังทาให้
คาร์ บอนต่ าเป็ นเหล็กที่ ไม่สามารถทาการชุ บแข็งได้ กระบวนการตัด กลึง ไส ทาได้ยาก จึงต้องมีกระบวน
เนื่ อ งจากมี ป ริ มาณคาร์ บอนที่ ต่ า จึ งไม่ สามารถเกิ ด อบชุ บ ความร้ อ นที่ ส ามารถเปลี่ ย นคาร์ ไ บด์ แ บบ
โครงสร้างมาเทนไซต์ได้ภายหลังการชุบแข็ง ทาให้มี ตาข่ายให้เป็ นคาร์ ไบด์กอ้ นกลม หนึ่ งในกระบวนการ
สมบัติท างกลที่ ด ้อยกว่า แต่ เ หล็กกล้า คาร์ บอนต่ า มี อบชุ บความร้ อนให้ ไ ด้ ค าร์ ไบด์ ก้ อ นกลมคื อ
จุดเด่นคื อต้นทุนที่ถูกกว่าเหล็กเครื่ องมืออยู่มาก จึ งมี กระบวนการอบชุ บทางความร้ อนแบบไซคลิ ก ซึ่ ง
การศึ ก ษาวิ ธี ก ารที่ จ ะท าให้ เ หล็ ก กล้า คาร์ บ อนต่ า เป็ นกระบวนที่ ทาให้คาร์ ไบด์ที่มีลกั ษณะเป็ นตาข่าย
สามารถทาการชุบแข็งได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการชุ บ ขาดออกจากกันและเปลี่ยนไปเป็ นคาร์ ไบด์กอ้ นกลม
แข็งผิวโดยการเพิ่ มธาตุ คาร์ บอนเข้าไปในเนื้ อเหล็ก โดยที่ผา่ นมาได้มีงานวิจยั ที่ทาการศึกษากระบวนการ
หนึ่งในวิธีการที่มีตน้ ทุนต่า คือ การแพ็คคาร์เบอไรซิ ง ดังกล่าว เช่ น Atanu et al. (2010) ได้ศึกษาผลของ
252 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(2) : 250-262 (2563)

กระบวนการอบชุ บทางความร้ อ นแบบไซคลิ ก ต่ อ ความแข็ง ความต้านทานแรงกระแทก ความต้านทาน


โครงสร้ า งจุ ลภาคและสมบัติ ทางกลของเหล็กกล้า แรงดึง และเปอร์เซ็นต์การยืดตัว
Fe-0.6C โดยพบว่าจานวนรอบที่มากขึ้นจะทาให้ได้
โครงสร้ างที่ เล็กละเอี ยด ช่ วยให้สมบัติทางกลดี ข้ ึ น วิธีการดาเนินการวิจัย
ต่อมา Lv et al. (2013) ได้ทาการศึกษาพฤติกรรมการ 1. การเตรียมชิ้นทดสอบ
เกิ ด คาร์ ไ บด์ก้อ นกลมจากกระบวนการอบชุ บ ทาง ชิ้ นงานทดสอบเป็ นเหล็กกล้า คาร์ บอนต่ า
ความร้อนแบบไซคลิกในเหล็กกล้า Fe-0.8C ซึ่ งทาให้ AISI 1020 มีลกั ษณะเป็ นแท่งกลมขนาดเส้นผ่าน
สมบัติทางกลดีข้ ึน นอกจากนี้ ยังมีงานวิจยั ของ Alok ศู น ย์ ก ลาง 12 มิ ลลิ เมตร เมื่ อน าไปวิ เ คราะห์
et al. (2016) ได้ทาการศึกษากระบวนการอบชุบทาง องค์ประกอบทางเคมี ดว้ ยเครื่ อง Optical Emission
ความร้อนแบบไซคลิกเพื่อใช้ในการปรับปรุ งสมบัติ Spectrometer พบว่ามีปริ มาณธาตุผสมประกอบด้วย
ทางกลให้แก่เหล็กกล้า AISI 1080 หรื อเหล็กกล้า 0.163 %C, 0.06 %Mn, 0.0042 %P และ 0.012 %S
ยูเต็กตอยด์ (eutectoid steel) จะเห็นได้ว่า งานวิจยั ที่ ตามลาดับ จากนั้นนาเหล็กมาตัดและกลึงขึ้นรู ปให้ได้
ผ่ า นมาได้ใ ช้ก ระบวนทางความร้ อ นแบบไซคลิ ก ขนาดตามมาตรฐาน ASTM A370-14 (ASTM, 2016)
ให้แก่เหล็กกล้าคาร์ บอนสู ง (high carbon steel) แต่ยงั ดังแสดงในภาพที่ 1 (ก) โดยบริ เ วณที่ จะถู กจับด้วย
ไม่พบงานวิจยั ที่ศึกษาในเหล็กกล้าคาร์ บอนต่าที่ ผ่าน เครื่ องทดสอบแรงดึ งมี การเผื่อขนาดให้มีค วามยาว
การแพ็คคาร์เบอร์ไรซิ ง มากขึ้นเพื่อตัด (ส่ วน A-A) นาไปวัดค่าความแข็งและ
งานวิจัยนี้ จึงมี วตั ถุ ประสงค์เพื่ อศึ กษาผลของ ตรวจสอบโครงสร้ างจุลภาค ส่ วนชิ้ นทดสอบความ
เวลาอบแช่ ในการอบชุ บความร้ อนแบบไซคลิ กของ ต้านทานแรงกระแทกแบบชาร์ ปี (Charpy) แสดงใน
เหล็กกล้าคาร์บอนต่าที่ผา่ นกระบวนการแพ็คคาร์เบอไรซิ ง ภาพที่ 1 (ข) จานวนชิ้นทดสอบที่ใช้แต่ละการทดลอง
ที่ มีต่อโครงสร้ างจุ ลภาคและสมบัติทางกล ได้แ ก่ จะใช้จานวน 3 ชิ้น

(ก)

(ข)
ภาพที่ 1 ขนาดชิ้นทดสอบตามมาตรฐาน ASTM (2016)
(ก) ชิ้นทดสอบแรงดึง และ (ข) ชิ้นทดสอบแรงกระแทกแบบชาร์ปี
วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(2) : 250-262 (2563) 253

2. กระบวนการอบชุบความร้ อน ถ่า นไม้ยูค าลิ ปตัส มาบดแล้ว ร่ อนผ่า นตะแกรงร่ อ น


กระบวนการอบชุ บความร้อนแบ่งออกเป็ น ขนาดรู 1 มิลลิเมตร (16 Mesh) จากนั้นนามาผสมกับ
3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนแรกเป็ นการแพ็คคาร์ เบอไรซิ ง ผงสารเร่ งปฏิ กิ ริ ยาแคลเซี ยมคาร์ บอเนตด้ ว ย
ขั้นตอนที่ สองเป็ นการอบชุ บความร้อนแบบไซคลิ ก อัตราส่ วน 80:20 โดยน้ าหนัก เมื่อผสมเสร็ จจึงนามา
และขั้นตอนที่สามเป็ นการชุบแข็ง โดยแต่ละขั้นตอน บรรจุลงในกล่องเหล็กพร้อมชิ้ นทดสอบแล้วทาการ
มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ปิ ดฝากล่อง นาเข้าเตาอบ โดยใช้อุณหภู มิ 950 °C
ขั้นตอนแรกของการแพ็คคาร์ เบอไรซิ งเป็ น เวลา 4 ชัว่ โมง แล้วนาออกจากเตาให้เย็นตัวในอากาศ
การเพิ่ มธาตุ คาร์ บอนเข้า ไปในผิวเหล็ก โดยการนา ดังแสดงในภาพที่ 2

ภาพที่ 2 การแพ็คคาร์เบอไรซิ งเพื่อเพิ่มธาตุคาร์บอนที่ผิวเหล็ก

ขั้นตอนที่ สอง หลังจากชิ้ นทดสอบถูกเพิ่ ม A1 และต่ ากว่าเส้น A1 นั้นแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มชิ้ น


ธาตุคาร์บอนด้วยกระบวนการแพ็คคาร์ เบอไรซิ งแล้ว ทดสอบ โดยชิ้ นทดสอบกลุ่มแรกให้เวลาในการอบ
จะถูกนามาอบชุ บความร้อนแบบไซคลิก เพื่อเปลี่ยน แช่ 0 นาที ส่ วนชิ้นทดสอบกลุ่มที่สองให้เวลาในการ
คาร์ไบด์แบบตาข่ายให้เป็ นคาร์ ไบด์กอ้ นกลม โดยทา อบแช่ 5 นาที และชิ้นทดสอบกลุ่มที่ สามให้เวลาใน
การให้ ค วามร้ อ นชิ้ น ทดสอบสลับ ขึ้ นลงระหว่ า ง การอบแช่ 10 นาที ดังแสดงในภาพที่ 3 การให้
อุณหภูมิวิกฤต A1 (727 °C) โดยอุณหภูมิเหนื อเส้น อุณหภู มิสลับขึ้ นลงจะกาหนดไว้ที่จานวน 5 รอบ
A1 อยู่ที่อุณหภูมิ 780 °C และอุณหภูมิต่ากว่าเส้น A1 แ ล้ ว ป ล่ อ ย ใ ห้ เ ย็ น ตั ว ใ น อ า ก า ศ
อยู่ที่ 680 °C สาหรับเวลาอบแช่ที่อุณหภูมิเหนื อเส้น
254 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(2) : 250-262 (2563)

ภาพที่ 3 การอบชุบความร้อนแบบไซคลิกเพื่อเปลี่ยนคาร์ไบด์แบบตาข่ายให้เป็ นคาร์ไบด์กอ้ นกลม

ขั้นตอนที่ 3 การชุบแข็ง โดยนาชิ้นทดสอบ ในน้ าแล้วเทมเปอร์ ที่อุณหภูมิ 180 °C เวลา 60 นาที


ที่ ผ่านการอบชุ บความร้ อนแบบไซคลิ กมาให้ความ ดังแสดงในภาพที่ 4
ร้อนที่อุณหภูมิ 780 °C เวลา 30 นาที จากนั้นจุ่มชุ บ

ภาพที่ 4 การชุบแข็งและการเทมเปอร์

3. การทดสอบสมบัตทิ างกลและตรวจสอบโครงสร้ าง ดิจิตอลยี่หอ้ MATSUZAWA รุ่ น MMT-X34 แรงกด


จุลภาค ในการทดสอบคื อ 300 gf เวลา 10 นาที และการ
ชิ้ น ทดสอบที่ ผ่ า นกระบวนทางความร้ อ น ตรวจสอบโครงสร้ า งจุ ลภาคใช้การตรวจสอบด้วย
มาแล้ว จะถูกนามาทดสอบสมบัติ ทางกล โดยการ กล้องจุลทรรศน์แบบแสง (Optical microscope) ยี่หอ้
ทดสอบความต้า นทานแรงดึ ง ทาการทดสอบด้ว ย OLYMPUS รุ่ น BX60M
เครื่ องทดสอบแรงดึงขนาด 100 kN ยี่ห้อ LLOYDK
รุ่ น LS 100 plus ความเร็ วทดสอบคือ 5 มิลลิเมตร/ ผลการวิจัยและวิจารณ์ ผล
นาที การทดสอบความต้านทานแรงกระแทกทาการ 1. โครงสร้ างจุลภาค
ทดสอบแบบชาร์ ปีด้วยเครื่ องทดสอบแรงกระแทก ชิ้ น ทดสอบที่ น ามาใช้ใ นการทดสอบ คื อ
ยี่หอ้ AVERY DENISON รุ่ น LS102DE สาหรับการ เหล็กกล้าคาร์ บอนต่ า AISI 1020 ประกอบด้วย
ทดสอบความแข็ ง ใช้เ ครื่ องไมโครวิ ก เกอร์ ส แบบ โครงสร้ า งของเพอร์ ไลต์ (Pearlite) และเฟอร์ ไ รต์
วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(2) : 250-262 (2563) 255

(Ferrite) ดังแสดงในภาพที่ 5 (ก) เมื่อผ่านการเพิ่มธาตุ โครงสร้างโปรยูเทกตอยด์ซีเมนไทต์ (Pro-eutectiod


คาร์บอนที่ผิวด้วยกระบวนการแพ็คคาร์ เบอไรซิ งเพื่อ cementite) ที่ ลอ้ มรอบโครงสร้ า งเพอร์ ไ ลต์ซ่ ึ งเป็ น
เพิ่ ม ธาตุ ค าร์ บ อนที่ ผิ ว และเมื่ อ น ามาวิ เ คราะห์ เมทริ กซ์ (Matrix) ดังแสดงในภาพที่ 5 (ข) ลักษณะ
องค์ประกอบทางเคมี ดว้ ยเครื่ อง Optical Emission ของซี เมนไทต์ที่เกิ ดขึ้ นตามขอบเกรนมีการเชื่ อมต่ อ
Spectrometer พบว่ า มี ป ริ ม าณธาตุ ค าร์ บ อนที่ ผิ ว เป็ นคาร์ ไ บด์แบบตาข่ าย (Network carbide) หรื อ
เพิ่มขึ้น จาก 0.163 % เป็ น 0.908 % ซึ่ งคือเหล็กกล้า ซี เมนไทต์ แ บบตาข่ า ย (Network cementite)
ไฮเปอร์ ยูเต็กตอยด์ (hypereutectoid steel) ทาให้เกิด

(ก) (ข)

ภาพที่ 5 โครงสร้างจุลภาคของ (ก) AISI 1020 และ (ข) หลังการผ่านกระบวนการแพ็คคาร์เบอไรซิ ง

เมื่อนาชิ้ นงานที่ ผ่านการแพ็คคาร์ เบอไรซิ ง ของ Atanu et al. (2010) ที่พบว่ากระบวนการอบชุบ


ไปทาการอบชุบทางความร้อนแบบไซคลิก ที่เวลาอบ ทางความร้ อนแบบไซคลิ กว่าซี เ มนไทต์จะเกิ ดการ
แช่ 0, 5 และ 10 นาที จานวน 5 รอบ แล้วนามา แตกออกจากกัน
ตรวจสอบโครงสร้างจุลภาค ดังแสดงในภาพที่ 6 จะ ในขณะเดี ย วกั น ที่ ร ะยะลึ ก เข้ า ไปที่ 0.8
เห็ น ได้ ว่ า ที่ ร ะยะลึ ก เข้ า ไปจากขอบชิ้ น งาน 0.2 มิลลิเมตร ปริ มาณธาตุคาร์บอนแพร่ เข้ามาที่ระยะนี้ได้
มิลลิ เมตร ที่ เวลาอบแช่ 0 นาที คาร์ ไบด์กอ้ นกลม น้อย ท าให้มีปริ มาณคาร์ บอนต่ ากว่า จุ ดยูเทกตอยด์
ข นา ด เ ล็ ก เ กิ ด ขึ้ น บ น เ มท ริ กซ์ เ พ อ ร์ ไ ล ต์ แ ต่ ส่ งผลให้เกิ ดโครงสร้างเฟอร์ ไรต์และเพอร์ ไลต์ เมื่ อ
คาร์ ไ บด์แบบตาข่ า ยที่ มีข นาดใหญ่ กว่า จะขาดออก ผ่านการให้ความร้อนแบบไซคลิก จึงปรากฏคาร์ ไบด์
จากกันแล้วเริ่ มฟอร์ มรู ปร่ างเป็ นก้อนกลม แต่ ยงั ไม่ ก้อนกลมเพียงเล็กน้อยของเวลาการอบแช่ที่ 5 และ 10
สมบูรณ์จึงมีลกั ษณะคล้ายตัวหนอน ซึ่ งแตกต่างจาก นาที เท่ า นั้น ส่ ว นที่ เ วลาอบแช่ 0 นาที จะพบ
เวลาอบแช่ ที่ 5 และ 10 นาที ที่ คาร์ ไบด์จะฟอร์ ม โปรยู เ ทกตอยด์เ ฟอร์ ไ รต์ (Pro-eutectiod ferrite)
รู ป ร่ า งเป็ นคาร์ ไ บด์ก้อนกลม (Spheroid carbide) อยูใ่ นเมทริ กซ์เพอร์ไลต์ดว้ ย
กระจายตัวอยูบ่ นเมทริ กซ์เพอร์ ไลต์ทวั่ ไป ผลในส่ วน สุ ด ท้า ยที่ ระยะลึ ก 1.0 มิ ลลิ เมตร ซึ่ งเป็ น
นี้ มีความสอดคล้องกับงานวิจยั ของ Alok et al. ระยะที่ลึกมากขึ้นทาให้ปริ มาณธาตุคาร์ บอนแพร่ เข้า
(2016) งานวิจยั ของ Lv et al. (2013) และงานวิจยั
256 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(2) : 250-262 (2563)

มาได้น้อ ยกว่า จะพบโปรยูเ ทกตอยด์เ ฟอร์ ไ รต์ที่ มี


ขนาดใหญ่กว่าที่พบในระยะลึก 0.8 มิลลิเมตร

ระยะลึกจากขอบ
เวลาอบแช่ 0 นาที เวลาอบแช่ 5 นาที เวลาอบแช่ 10 นาที
ชิ้นทดสอบ (มม.)

0.2

0.8

1.0

ภาพที่ 6 โครงสร้างจุลภาคของชิ้นทดสอบที่ผา่ นการแพ็คคาร์เบอไรซิ งแล้วทาการอบชุบทางความร้อนแบบไซคลิก


ที่เวลาอบแช่ 0, 5 และ 10 นาที จานวน 5 รอบ

ชิ้ นทดสอบที่ ผ่า นกระบวนการอบชุ บทาง eutectiod cementite) หรื อ ซี เ มนไทต์แ บบตาข่ า ย
ความร้ อนแบบไซคลิ กแล้ว ถูกนามาทาการชุ บแข็ง (Network cementite) สาหรับคาร์ไบด์กอ้ นกลมขนาด
และการเทมเปอร์ เมื่ อทาการตรวจสอบโครงสร้ า ง เล็ ก เกิ ด จากยู เ ทกตอยด์ ซี เมนไทต์ (Eutectiod
จุลภาค ดังแสดงในภาพที่ 7 จะเห็นได้ว่า ที่ระยะลึก cementite) สาหรั บที่ ระยะลึ ก 0.8 มิ ลลิ เมตร จะมี
จากขอบของชิ้ นทดสอบเข้ามา 0.2 มิ ลลิ เมตร จะ คาร์ไบด์กอ้ นกลมเม็ดเล็กๆ กระจายตัวอยู่ในเมทริ กซ์
ปรากฎคาร์ ไบด์กอ้ นกลมอย่างชัดเจนกระจายตัวอยู่ มาร์ เทนไซต์ ในขณะที่ ระยะลึก 1.0 มิลลิเมตร เป็ น
ในเมทริ กซ์มาร์เทนไซต์ โดยคาร์ ไบด์ที่เป็ นเม็ดขนาด เมทริ กซ์มาร์เทนไซต์
ใหญ่ เ กิ ด จากโปรยู เ ทกตอยด์ ซี เมนไทต์ (Pro-
วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(2) : 250-262 (2563) 257

ระยะลึกจากขอบ
เวลาอบแช่ 0 นาที เวลาอบแช่ 5 นาที เวลาอบแช่ 10 นาที
ชิ้นทดสอบ (มม.)

0.2

0.8

1.0

ภาพที่ 7 โครงสร้างจุลภาคของชิ้นทดสอบที่ผา่ นการแพ็คคาร์เบอไรซิ งแล้วทาการอบชุบทางความร้อนแบบไซคลิก


ที่เวลาอบแช่ 0, 5 และ 10 นาที จานวน 5 รอบ และผ่านการชุบแข็งและการเทมเปอร์

จะเห็ นได้ว่ากระบวนการอบชุ บทางความ 2. สมบัตทิ างกล


ร้ อ นแบบไซคลิ ก สามารถเปลี่ ย นโครงสร้ า งของ ผลการทดสอบสมบัติทางกล งานวิจยั นี้ ได้
คาร์ ไบด์แบบตาข่ายเป็ นโครงสร้างแบบก้อนกลมอยู่ ทาการทดสอบความแข็ง ความต้านทานแรงกระแทก
ในเมทริ กซ์เพอร์ ไลต์ (ก่ อนการชุ บแข็ง) ซึ่ งเกิ ดจาก และความต้า นทานแรงดึ ง โดยภาพที่ 8 แสดงการ
การให้อุณ หภู มิที่สูงกว่าอุณหภู มิวิกฤตหรื อเส้น A 1 เปรี ยบเที ย บความแข็ ง ของชิ้ น ทดสอบ เนื่ อ งด้ว ย
แต่ไม่เกินเส้น Acm เพื่อไม่ให้ซีเมนไทต์หรื อคาร์ ไบด์ กระบวนการแพ็คคาร์เบอไรซิ งเป็ นการเพิ่มความแข็ง
สลายตัวไปเป็ นออสเทนไนต์ และสลับกับ การให้ ที่ผิว ดังนั้น การทดสอบค่าความแข็งจึงเริ่ มตั้งแต่ที่ผิว
อุณหภูมิที่ต่ากว่าเส้น A1 เพียงเล็กน้อย ทาให้คาร์ ไบด์ ชิ้นทดสอบเข้าไปจนถึงระยะลึก 1.0 มิลลิเมตร จาก
แบบตาข่ า ยเกิ ดความไม่ เ สถี ย รขึ้ น เพื่ อ รั ก ษา กราฟการเปรี ยบเที ยบจะเห็นได้ว่า ชิ้ นทดสอบที่ผ่าน
เสถียรภาพดังกล่าวไว้ คาร์ ไบด์จึงพยายามลดพื้นที่ผิว กระบวนการแพ็คคาร์ เบอไรซิ งมานั้น ค่าความแข็งที่
ให้เหลือน้อยที่สุดเพื่อให้มีพลังงานต่าสุ ด ซึ่ งรู ปทรงที่ ผิวนอกจะสู งกว่าที่ระยะความลึกเพิ่มขึ้น ที่เป็ นเช่นนี้
มี พ้ื นที่ ผิวน้อยที่ สุดเมื่ อมี ป ริ มาตรเท่ ากัน คื อรู ปทรง เพราะปริ มาณธาตุคาร์ บอนจากถ่านไม้ ได้แพร่ เข้าไป
กลม และเมื่ อน าชิ้ น งานไปทาการชุ บแข็ งและการ ในเนื้ อเหล็กทาให้ปริ มาณคาร์ บอนที่ ผิวเหล็กเพิ่มขึ้ น
เทมเปอร์ เมทริ กซ์เพอร์ ไลต์จะเปลี่ยนไปเป็ นมาร์ เทน โดยจากโครงสร้างจุลภาคที่ ผิวนอกจะพบโครงสร้าง
ไซต์ซ่ ึ งเป็ นผลจากกระบวนการชุบแข็ง โปรยูเทกตอยด์ซี เมนไทต์หรื อคาร์ ไบด์แบบตาข่ า ย
258 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(2) : 250-262 (2563)

จึ ง ท าให้ค วามแข็ ง ที่ ผิ ว นอกมี ค่ า สู ง ในขณะที่ เ มื่ อ น้อ ยกว่ า ชิ้ น ทดสอบที่ ผ่ า นการแพ็ค คาร์ เ บอไรซิ ง
ความลึ กเพิ่ มขึ้ นปริ มาณธาตุ คาร์ บอนแพร่ เข้าไปได้ มาแล้วมีคาร์ไบด์แบบตาข่าย
น้อย จึงพบโครงสร้างโปรยูเทกตอยด์เฟอร์ ไรต์ส่งผล สาหรั บค่ าความแข็งของชิ้ นทดสอบที่ ผ่าน
ให้ที่ระยะลึกที่เพิ่มขึ้นค่าความแข็งจึงลดลง การอบชุบความร้อนแบบไซคลิกเวลาอบแช่ 0, 5 และ
ภายหลั ง จากการอบชุ บ ความร้ อ นแบบ 10 นาที น้ นั มี ค่าความแข็งที่ ไม่แตกต่างกัน แต่ เมื่ อ
ไซคลิ ก ทุ ก ๆ ระยะลึ ก ค่ า ความแข็ ง จะต่ า กว่ า ชิ้ น ผ่านการชุ บแข็งแล้วจะเห็นได้ว่า ชิ้ นทดสอบที่ ผ่าน
ทดสอบที่ ผ่ า นการท าแพ็ค คาร์ เ บอไรซิ ง เนื่ องจาก การอบแช่ 10 นาที มีค่าความแข็งที่ต่ากว่าเวลาอบแช่
โปรยู เ ทกตอยด์ ซี เ มนไทต์ ที่ มี รู ปร่ างเป็ นตาข่ า ย ที่ 0 และ 5 นาที ทั้งนี้ เป็ นไปได้ว่าเป็ นผลมาจากการ
ล้อ มรอบเพอร์ ไ ลต์แ ละยู เ ทกตอยด์ ซี เ มนไทต์ ที่ มี อบแช่ ใ นช่ ว งอุ ณ หภู มิที่ สู ง กว่ า อุ ณ หภู มิวิ ก ฤติ ด ้ว ย
รู ปร่ างเป็ นแผ่นสลับกับเฟอร์ ไรต์หรื อลาเมลลาเพอร์ เวลาที่ นานกว่า ทาให้การฟอร์ มตัวของคาร์ ไบด์กอ้ น
ไลต์ (Lamella pearlite) (ณรงค์ศ ักดิ์ , 2556) ได้ กลมมีเวลาที่มากกว่า จึงสามารถเกิดคาร์ ไบด์ที่มีกอ้ น
เปลี่ ยนไปเป็ นก้อนกลม เมื่ อถูกแรงกระทาคาร์ ไบด์ กลมได้มากกว่า เมื่อถูกแรงกระทาจึ งกระจายแรงได้
ก้อนกลมจะกระจายแรงได้ดีกว่ารู ปทรงแบบแผ่น จึง ดีกว่า ทาให้มีแรงต้านต่อแรงกดจากการวัดความแข็ง
ทาให้ชิ้นทดสอบที่ผ่านการอบชุ บความร้อนแบบไซ น้อย ค่ า ความแข็งที่ ไ ด้จึงต่ า กว่า อย่า งไรก็ต าม ข้อ
คลิ กเพื่ อเปลี่ ยนให้คาร์ ไบด์กอ้ นกลมมี ค่าความแข็ง สันนิ ษฐานดังกล่าวต้องทาการศึ กษาความกลมของ
คา ร์ ไบ ด์ ที่ สั ม พั น ธ์ กั บ เ วล า กา ร อบ แ ช่ ต่ อ ไ ป

800
700
600
ค่าความแข็ง (HV)

500
400
300
200
100
0
0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0

ระยะลึก (มม)
อบแช่ 0 นาที (คาร์ ไบด์กลม) อบแช่ 5 นาที (คาร์ ไบด์กลม)
อบแช่ 10 นาที (คาร์ ไบด์กลม) อบแช่ 0 นาที (ชุบแข็ง)
อบแช่ 5 นาที (ชุบแข็ง) อบแช่ 10 นาที (ชุบแข็ง)
แพ๊ กคาร์ เบอไรซิง

ภาพที่ 8 การเปรี ยบเทียบความแข็งของแต่ละขั้นตอนของกระบวนการอบชุบความร้อน


วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(2) : 250-262 (2563) 259

ผลของการทดสอบความต้ า นทานแรง ต้านทานแรงกระแทกได้สูงขึ้ น อย่างไรก็ตาม เมื่อชิ้ น


กระแทก ชิ้นทดสอบที่ผ่านการแพ็คคาร์ เบอไรซิ งมีค่า ทดสอบผ่ า นการชุ บแข็ง และการเทมเปอร์ จะท าให้
ความต้า นทานแรงกระแทก 3 จู ล แล้ว ท าการ ความต้ า นทานแรงกระแทกนั้ นลดลง เนื่ อ งจาก
เปรี ยบเที ยบชิ้ นทดสอบที่ ผ่ า นการอบชุ บด้ ว ย ภายหลังการชุบแข็งโครงสร้างที่ได้คือมาร์ เทนไซต์ซ่ ึ ง
กระบวนการต่างๆ แสดงในภาพที่ 9 จะเห็นได้ว่าชิ้น มีความแข็งสู งแต่มีความเหนี ยวต่า ความต้านทานแรง
ทดสอบที่ ผ่ า นการแพ็ ค คาร์ เ บอไรซิ งมี ค่ า ความ กระแทกจึงลดลงตามไปด้วย เมื่อพิจารณาเวลาการอบ
ต้ า นทานแรงกระแทกที่ ต่ า สาเหตุ เ นื่ อ งมาจาก แช่ ในขั้นตอนการอบชุ บความร้ อนแบบไซคลิ ก จะ
โครงสร้ างของคาร์ ไบด์แ บบตาข่ า ยที่ มีความแข็งแต่ เห็ น ได้ว่ า ที่ เ วลาการอบแช่ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ นส่ ง ผลต่ อ การ
เปราะ ทาให้มีความต้านทานแรงกระแทกน้อย เมื่อทา เพิ่มขึ้ นของความต้านทานแรงกระแทกที่ เพิ่มขึ้ นด้วย
การอบชุ บทางความร้ อนแบบไซคลิ กแล้วพบว่า ค่ า ทั้งนี้ เป็ นไปได้ว่าเป็ นผลมาจากการอบแช่ ดว้ ยเวลาที่
ความต้า นทานแรงกระแทกของชิ้ น ทดสอบสู ง ขึ้ น นานขึ้น ทาให้คาร์ ไบด์มีความกลมมากขึ้นทาให้ความ
อย่างชัดเจน ทั้งนี้ เนื่ องมาจากคาร์ ไบด์แบบตาข่ายและ แข็ ง ลดลง เหล็ก จึ ง มี ค วามเหนี ย วมากขึ้ น ส่ ง ผลให้
ลาเมลาคาร์ ไ บด์ เ ปลี่ ย นไปเป็ นคาร์ ไ บด์ ก้อ นกลม ความต้ า นทานแรงกระแทกเพิ่ ม ขึ้ นตามไปด้ ว ย
ส่ งผลให้ เ หล็ ก มี ค วามเหนี ยวเพิ่ ม ขึ้ นจึ ง มี ค วาม

ภาพที่ 9 การเปรี ยบเทียบความต้านทานแรงกระแทกของแต่ละขั้นตอนของกระบวนการอบชุบความร้อน


260 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(2) : 250-262 (2563)

ภาพที่ 10 การเปรี ยบเทียบความต้านทานแรงดึงของแต่ละขั้นตอนของกระบวนการอบชุบความร้อน

ผลการทดสอบความต้า นทานแรงดึ ง ชิ้ น คาร์ ไบด์แบบตาข่ ายได้เปลี่ ยนไปเป็ นคาร์ ไบด์กอ้ น


ทดสอบที่ ผ่ า นการแพ็ ค คาร์ เ บอไรซิ ง มี ค่ า ความ กลม ทาให้เหล็กมีความเหนี ยวและความต้านทางแรง
ต้านทานแรงดึง 188.83 MPa แล้วทาการเปรี ยบเทียบ ดึงสู งขึ้ น โดยชิ้ นงานที่ใช้เวลาในการอบแช่ 10 นาที
ชิ้ นทดสอบที่ ผ่านการอบชุ บด้วยกระบวนการต่ างๆ ซึ่ งปรากฎการเกิดคาร์ไบด์กอ้ นกลมมากที่สุดจะให้ค่า
แสดงดังภาพที่ 10 จะเห็นได้ว่า ชิ้ นทดสอบเมื่ อทา ความต้ า นทานแรงดึ งสู งที่ สุ ด ซึ่ งผลดั ง กล่ า ว
การอบชุบทางความร้อนแบบไซคลิกก่อนการชุบแข็ง สอดคล้องกับงานวิจยั ของ Lv et al. (2013) และ
จะมี ค่ า ความต้ า นทานแรงดึ ง ที่ สู ง ขึ้ น เนื่ อ งจาก งานวิจยั ของ Atanu et al. (2010)

ภาพที่ 11 การเปรี ยบเทียบเปอร์เซ็นต์การยืดตัวของแต่ละขั้นตอนของกระบวนการอบชุบความร้อน


วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(2) : 250-262 (2563) 261

ผลการทดสอบเปอร์ เซ็ นต์ ก ารยื ด ตั ว ทางความร้อนแบบไซคลิกที่ตามด้วยการชุบแข็งและ


(%elongation) ชิ้นทดสอบที่ผ่านการแพ็คคาร์ เบอไร การเทมเปอร์ จะเห็นว่ากระบวนการดังกล่าวสามารถ
ซิ งมี ค่ า เปอร์ เ ซ็ นต์การยื ด ตัว เท่ า กับ 2.28 ภาพที่ 11 ปรับปรุ งสมบัติทางกลของเหล็กให้ดีข้ ึนได้ กล่าวคื อ
แสดงผลของเปอร์ เซ็ นต์การยืดตัวของชิ้ นทดสอบที่ เหล็กจะมีค่าความแข็งเพิ่มขึ้น และสามารถต้านทาน
ผ่านการอบชุ บด้วยกระบวนการต่างๆ ซึ่ งมีแนวโน้ม แรงกระแทกและความเหนี ยว (เปอร์ เซ็นต์การยืดตัว)
ไปในทิศทางเดียวกันกับผลการทดสอบแรงกระแทก ให้ผลที่ดีข้ ึนอีกด้วย ในขณะที่ความต้านทานแรงดึงมี
กล่าวคื อ หลังจากผ่านกระบวนการอบชุ บเพื่อให้ได้ แนวโน้มที่ดีข้ ึนเช่นกัน
คาร์ไบด์กอ้ นกลม ชิ้นงานจะมีเปอร์ เซ็นต์การยืดตัวที่ ดังนั้น จึงสรุ ปได้ว่า กระบวนการอบชุบทาง
สู ง และจะลดลงเมื่ อน าไปทาการชุ บ แข็ ง และเทม ความร้ อ นแบบไซคลิ ก สามารถเปลี่ ย นแปลง
เปอร์ โดยเวลาที่ ใช้ในการอบแช่ ที่นานขึ้ นจะทาให้ โครงสร้ างของคาร์ ไบด์แบบตาข่ ายให้เป็ นคาร์ ไบด์
เปอร์เซ็นต์การยืดตัวมีค่าเพิ่มขึ้น ภายหลังการชุบแข็ง ก้อนกลมกระจายตัวอยู่บ นเมทริ กซ์ เ พอร์ ไ ลต์ โดย
และการเทมเปอร์ ค วามต้า นทานแรงดึ ง จะลดลง แนวโน้มของคาร์ ไบด์กอ้ นกลมจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อใช้
เพราะโครงสร้างมาร์ เทนไซต์ที่เกิ ดขึ้ นภายหลังการ เวลาอบแช่ มากขึ้ น และเมื่ อท าการชุ บ แข็งและการ
ชุ บแข็งจะทาให้เหล็กมี ความแข็งที่ เพิ่ มขึ้ นแต่ ความ เทมเปอร์ เมทริ กซ์ เ พอร์ ไ ลต์ จ ะเปลี่ ย นไปเป็ น
เหนียวจะลดลง โครงสร้ างมาร์ เทนไซต์ในขณะที่ คาร์ ไบด์ กอ้ นกลม
ยัง คงสภาพอยู่ กระบวนการอบชุ บ ทางความร้ อ น
สรุป แบบไซคลิกที่ ตามด้วยการชุ บแข็งและการเทมเปอร์
จากผลการตรวจสอบโครงสร้างจุลภาคและ ส่ งผลให้สมบัติทางกลทั้งค่าความแข็ง ความต้านทาน
การทดสอบสมบัติทางกล จะเห็นได้ว่า ทั้งโครงสร้าง แรงกระแทก ความต้านทานแรงดึ ง และเปอร์ เซ็ นต์
จุ ล ภาคและสมบัติ ท างกลให้ ผ ลที่ ส อดคล้อ งกั น การยืดตัวสู งขึ้น
กล่ าวคื อ เมื่ อ ชิ้ นทดสอบผ่านการเพิ่ มธาตุ ค าร์ บอน
ด้ว ยกระบวนการแพ็ ค คาร์ เ บอไรซิ ง ปริ ม าณธาตุ กิตติกรรมประกาศ
คาร์ บ อนที่ เ พิ่ มขึ้ นจะทาให้เ กิ ด โครงสร้ า งคาร์ ไ บด์ ค ณ ะ ผู ้ วิ จั ย ข อ ข อ บ คุ ณ ม ห า วิ ท ย า ลั ย
แบบตาข่ า ย ส่ ง ผลให้ชิ้ นทดสอบมี ค่ า ความแข็งสู ง เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ในการสนับสนุนทุนวิจยั
และมีความต้านทานแรงกระแทกที่ต่ากว่าชิ้นทดสอบ ขอขอบคุ ณ สาขาวิ ศ วกรรมวัส ดุ ในความเอื้ อ เฟื้ อ
ที่ผา่ นการอบชุบทางความร้อนแบบไซคลิก เนื่ องจาก สถานที่ และอุปกรณ์ ในการทดลอง และขอขอบคุ ณ
คาร์ ไบด์แบบตาข่ายถูกเปลี่ยนสภาพไปเป็ นคาร์ ไบด์ นายสิ ทธิ ศกั ดิ์ สุ ขสิ น นายอาทิ ตย์ จันทะรัง และนาย
ก้อ นกลม เมื่ อ นาชิ้ นทดสอบไปทาการชุ บแข็งและ วุ ฒิ ไ กร ประกอบกิ่ ง ผู ้เ ก็ บ ข้ อ มู ล ในการทดลอง
การเทมเปอร์ ท าให้ เ มทริ กซ์ ที่ เ ป็ นเพอร์ ไลต์ งานวิจยั ในครั้งนี้
เปลี่ ยนไปเป็ นมาร์ เทนไซต์ ในขณะที่ คาร์ ไบด์ กอ้ น
กลมยังคงสภาพอยู่จึงทาให้ชิ้นทดสอบมี ความแข็ง เอกสารอ้างอิง
สู งขึ้ นแต่ ค่ า ความต้า นทานแรงกระแทกลดลง เมื่ อ ณ ร ง ค์ ศ ั ก ดิ์ ธร ร มโ ช ติ . 2556. โ ล ห วิ ท ย า .
เ ป รี ย บ เ ที ย บ ผ ล ข อ ง ชิ้ น ท ด ส อ บ ที่ ผ่ า น ก า ร ส านัก พิ มพ์แ ห่ งจุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลัย ,
แพ็ค คาร์ เ บอไรซิ งกับ ชิ้ นทดสอบที่ ผ่า นการอบชุ บ กรุ งเทพฯ.
262 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 12(2) : 250-262 (2563)

มนัส สถิรจินดา. 2537. วิศวกรรมการอบชุ บเหล็ก. Testing of Steel Products. Available


พิมพ์ครั้งที่ 3. สมาคมวิศวกรรมสถานแห่ ง Source: http://infostore.saiglobal.com/store
ประเทศไทยในพระบรมราชู ปถั ม ภ์ , /details.aspx?ProductID=1748803, January
กรุ งเทพ. 2, 2016.
วรรณา หอมจะบก, ณรงค์ศกั ดิ์ ธรรมโชติ และ Atanu, S., Dipak, K.M. and Joydeep, M.J. 2010.
นฤดม ทาดี . 2558. ผลของอุณหภู มิออ Effect of cyclic heat treatment on
สเทนไนไทซิ งในกระบวนการแพ็คคาร์ เบอ microstructure and mechanical properties
ไรซิ งเพื่ อใช้ผ ลิ ตมี ด โต้. วารสาร มทร. of 0.6 wt% carbon steel. Journal of
อี ส าน ฉบั บ วิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี Materials Science and Engineering
8(3): 126-136. 527(1): 4001-4007.
Alok, M., Atanu, S. and Joydeep, M.J. 2016. Lv, Z.Q., Wang, B., Wang, Z.H., Sun, S.H. and Fu,
Development of high strength ductile W.T., J. 2013. Effect of cyclic heat
eutectoid steel through cyclic heat treatment treatment on spheroidizing behavior of
involving incomplete austenitization followed cementile in high carbon steel. Journal of
by forced air cooling. Journal of Materials Materials Science and Engineering
Characterization 114(1): 277-288. 574(1): 143-148.
ASTM. 2016. ASTM A371-14. Standard Test
Methods and Definitions for Mechanical

You might also like