You are on page 1of 8

การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28 The 28th National Convention on Civil Engineering

วันที่ 24-26 พฤษภาคม 2566 จ.ภูเก็ต May 24-26, 2023, Phuket, THAILAND

การศึกษาพฤติกรรมของเหล็กเสริมที่ฝังในท่อ Corrugated Duct


A Study of Behavior of Reinforcement Steel Embedded in Corrugated Duct

วัฒนพงศ์ หิรัญมาลย์1, ศิรัณ หงษ์ยศ2, ชวลิต แซ่ฟ้า3, วุฒชิ ัย หาญสุวรรณชัย3 และ สิทธิพร กุลวงศ์3

1
อาจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา สถาบันวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร จ.กรุงเทพมหานคร
2
Solution Manager บริษัท Allplan software Singapore Pte,.Ltd, Singapore
3
นักศึกษาปริญญาตรี ภาควิชาวิศวกรรมโยธา สถาบันวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร จ.กรุงเทพมหานคร
*Corresponding author; E-mail address: Chawalitsaefa@gmail.com

บทคัดย่อ corrugated steel pipes together with cementitious materials in


the ratio of 1:0, 1:1 and 1:2 can support the tensile strength
งานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นศึกษาพฤติกรรมและลักษณะการวิบัติของรอยต่อ
until failure at the steel reinforcement. In terms of behavior of
โครงสร้า งคอนกรีต สำเร็ จ รูป ซึ่งใช้ เหล็ ก เสริม ที่ ฝังในท่ อ เหล็ก ลู ก ฟู ก ชุ บ
reinforcing steel working in corrugated steel pipe with binder in
สังกะสี ภายใต้อั ตราส่ว นของวัสดุป ระสานที่ แ ตกต่ างกัน 4 สัดส่ว น คื อ
ratio 1:3 may not be clear. Due to the tensile behavior of the
อัตราส่วนการผสมระหว่างปูนเกร้า ท์ (Non-Shrink Grout) กับปูนซีเมนต์
reinforcing steel of 1 of the 3 test specimens, it was unable to
ประเภทที่ 1 (Portland Cement Type 1) ในอั ต ราส่ ว นปู น เกร้ า ท์ ต่ อ
support the tensile strength until failure occurred at the
ปูนซีเมนต์ 1:0, 1:1, 1:2 และ 1:3 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสามารถ
reinforcing steel.
ในการรับ แรงดึงและพฤติก รรมของรอยต่อ ประเภทนี้ผ่านกำลังที่พัฒ นา
ร่วมกันระหว่างเหล็กเสริมกับวัสดุประสานในท่อลูกฟูก จากผลการทดสอบ Keywords: Corrugated duct, Bonding material, Non-shrink grout,
พบว่ า เหล็ ก เสริ ม ที่ ท ำงานในท่ อ เหล็ ก ลู ก ฟู ก ร่ ว มกั บ วั ส ดุ ป ระสานใน Precast concrete
อัตราส่วน 1:0, 1:1 และ 1:2 สามารถรับกำลังดึงจนเกิดการวิบัติที่เหล็ก ใน
ส่ว นของเหล็ ก เสริม ที่ ท ำงานในท่ อ เหล็ ก ลู ก ฟู ก ร่ว มกั บ วั ส ดุ ป ระสานใน 1. คำนำ
อั ต ราส่ ว น 1:3 อาจจะยังไม่ ชัด เจนว่าสามารถนำมาประยุก ต์ใช้ กับ งาน ปัจจุบันโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูป (Precast Concrete) เป็นที่นิยม
ก่อสร้างจริงได้ เนื่องจากพฤติกรรมการรับกำลังดึงของเหล็กเสริมของชิ้น อย่างแพร่หลายเนื่องจากมีข้อดีหลายประการ เช่น สามารถควบคุมคุณภาพ
ตัวอย่างทดสอบ 1 จาก 3 ชิ้น รับกำลังได้ถึงจุดครากและจุดประลัยแต่ไปไม่ ในการผลิตชิ้นงานได้ดี มีความสะดวกและรวดเร็วในงานก่อสร้างจริง เป็นต้น
ถึงจุดวิบัติของเหล็ก เนื่องจากเกิดการรูดระหว่างเหล็กเส้นกับวัสดุประสาน ซึ่งในโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูปจำเป็นต้องมีจุดต่อ (Joint Connection)
คำสำคัญ: ท่อเหล็กลูกฟูกชุบสังกะสี, วัสดุประสาน, ปูนเกร้าท์, คอนกรีต ไว้ต่ อ กับ โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก หล่อ ในที่ ห รือ โครงสร้า งคอนกรีต
สำเร็จรูป สำเร็จรูปด้วยกัน ซึ่งเกิดความไม่ต่อเนื่องของเหล็กเสริ มและคอนกรีต ความ
ยาวของระยะทาบเหล็กเสริมที่ไม่เพียงพอ ส่งผลให้พฤติกรรมการรับน้ำหนัก
Abstract และโมเมนต์ดัดของรอยต่อลดลง ทำให้ ความปลอดภัยในการใช้อาคารลด
น้อยลง
This research aims to study the behavior and failure
จุดต่อของโครงสร้างมีหลากหลายรูปแบบ วิธีหนึ่งของการเว้นระยะต่อ
characteristics of precast concrete structure joints using
ทาบในโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูป คือ การใช้ท่อ เหล็ก ลูกฟูก ชุบ สังกะสี
reinforcing steel embedded in galvanized corrugated duct. The
(Corrugated Duct) ความสามารถในการรับ กำลังของจุ ดต่อ ทาบด้วยท่อ
fours mixing ratio between non-shrink grout and Portland
เหล็กลูกฟูกถึงพฤติกรรมของโครงสร้างยังไม่เป็นที่ชัดเจนนัก
Cement Type 1 will be used as grouting material to fill in
โครงงานวิ ศ วกรรมนี้ ท ำการศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ พฤติ ก รรมของรอยต่ อ
corrugated duct are 1:0, 1:1, 1:2 and 1:3. The tensile strength
โครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูปโดยใช้ท่อเหล็กลูกฟูกชุบสังกะสีในการเชื่อมต่อ
and behavior of this type of joint due to the joint strength that
มุ่งเน้นที่จะศึกษาพฤติกรรมและลักษณะการวิบัติของรอยต่อโดยใช้ท่อ เหล็ก
developed between reinforcing steel and grouting material in
ลูกฟูกชุบสังกะสีภายใต้แรงดึง เพื่อให้ทราบถึงความสามารถในการรับแรงดึง
corrugated duct will be investigated. From the test results, it
ของเหล็กเสริมคอนกรีตที่ฝังในท่อ เหล็กลูกฟูกชุบสังกะสี แล้วนำไปพัฒนา
was found that the behavior of reinforcing steel working in

STR49-1
การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28 The 28th National Convention on Civil Engineering
วันที่ 24-26 พฤษภาคม 2566 จ.ภูเก็ต May 24-26, 2023, Phuket, THAILAND

และประยุ ก ต์ ใช้ กั บ งานก่ อ สร้ า งจริ ง ช่ ว ยลดต้ น ทุ น การก่ อ สร้ า งและ ตารางที่ 1 ผลการทดสอบค่าความต้านทานแรงอัดของวัสดุประสานทีอ่ ายุ 3 วัน
ระยะเวลาทำงาน และมีความมั่นใจในประสิทธิภาพของโครงสร้าง สัดส่วนวัสดุประสาน ค่าความต้านทานแรงอัด (ksc)
1:0 564
2. วิธีการศึกษา
1:1 405
2.1 รูปแบบการวิจยั
1:2 371
ในงานวิจั ย นี้ เป็ นงานวิจั ย ที่ค ำนึ งถึ งการใช้งานจริงในเรื่อ งโครงสร้า ง 1:3 350
คอนกรีตสำเร็จรูปที่มีจุดต่อระหว่างโครงสร้างที่ใช้ท่อ เหล็กลูกฟูกชุบสังกะสี หมายเหตุ เนื่องจากคอนกรีตหลักภายนอกท่อมีกำลังอัด 240 ksc ซึ่ง
โดยจะทำการทดสอบหาแรงยึดหน่วงของเหล็กมีพฤติกรรมรับกำลังดึง ด้วย น้อยกว่ากำลังอัดของทุกอัตราส่วนที่อายุ 3 วัน ดังนั้นการออกแบบระยะฝัง
เครื่อง Universal Testing Machine, (UTM) แล้วทำการเก็บข้อมูลเพื่อนำ จึงถูกกำหนดด้วยกำลังของคอนกรีตภายนอก และไม่มีการทดสอบที่อายุ 7
ข้อมูลที่ได้จากการทดสอบไปวิเคราะห์และสรุปผลการทดสอบ วัน
2.2 วัสดุประสานภายในท่อเหล็กลูกฟูกชุบสังกะสี 2.3 ตัวอย่างทดสอบ
โดยทั่วไปแล้วในงานก่อสร้างจริงวัสดุประสานกับเหล็กเสริมภายในท่อ ชิ้นตัวอย่างทดสอบจะมีหน้าตัดและความยาวที่เท่ากันทุกชิ้นตัวอย่างใน
เหล็ก ลูก ฟู ก ชุบ สังกะสี (Corrugated Duct) นิย มใช้เป็ นปู นเกร้าท์ (Non-
ทุกสัดส่วนการผสมของวัสดุประสานกับเหล็กเสริมภายในท่อเหล็กลูกฟูกชุบ
Shrink Grout) แต่มีข้อจำกัดคือ ปูนเกร้าท์มีราคาสูงเมื่อเทียบกับปูนซีเมนต์ สังกะสี แต่จะแตกต่างกันในส่วนของระยะฝังของเหล็กภายในท่อขึ้นอยู่กับ
ทั่วไป ดังนั้นในงานก่อสร้างจริงที่ต้องใช้ปูนเกร้าท์ปริมาณมาก จะส่งผลให้ ค่าความต้านทานแรงอัดของแต่ละอัตราส่วนโดยการออกแบบตามมาตรฐาน
ค่ า ใช้ จ่ า ยในงานก่ อ สร้ า งสู ง ขึ้ น เพื่ อ ความประหยั ด ในงานก่ อ สร้ า งจริ ง
วสท. 011008-21 [3] เนื่องจากคอนกรีตหลักภายนอกท่อมีกำลังอัด 240
งานวิจัยนี้จึงมีการตั้งสมมติฐานให้มีการผสมระหว่างปูนเกร้าท์กับปูนซีเมนต์ กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ซึ่งน้อยกว่ากำลังอัดของทุกอัตราส่วนที่อายุ 3
ประเภทที่ 1 (Portland Cement Type 1) ในอัตราส่วน ดังนี้ วัน ตามตารางที่ 1 ดังนั้นการออกแบบระยะฝังจึงถูกกำหนดด้วยกำลังของ
1) อัตราส่วน ปูนเกร้าท์ล้วน (1:0) คอนกรีตภายนอก ชิ้นตัวอย่างทดสอบในแต่ละอัตราส่วนจึงมีขนาดเท่ากัน
2) อัตราส่วน ปูนเกร้าท์ 1 ส่วน ต่อ ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน (1:1) คือ 12×20×78.5 เซนติเมตร ระยะฝังของเหล็กในท่อ 47 เซนติเมตร และมี
3) อัตราส่วน ปูนเกร้าท์ 1 ส่วน ต่อ ปูนซีเมนต์ 2 ส่วน (1:2) การออกแบบให้ อี ก ด้านของชิ้น ตัว อย่างที่ จะทำการดึง ให้ มีความแข็ งแรง
4) อัตราส่วน ปูนเกร้าท์ 1 ส่วน ต่อ ปูนซีเมนต์ 3 ส่วน (1:3) มากกว่าเหล็กเสริมที่ฝังในท่อ โดยการฝังโบลท์แบบ (I Bolt) ดังตัวอย่างใน
2.2.1 อัตราส่วนของน้ำต่อซีเมนต์ (W/C) รูปที่ 1
ทำการทดสอบหาปริมาณน้ำต่อซีเมนต์ที่เหมาะสมของวัสดุประสานตาม และเนื่องด้วยข้อจำกัดของเครื่อ งทดสอบ UTM ในเรื่องของช่วงความยาว
มาตรฐาน EN 445 [1] โดยมีจุดมุ่งหมายหลักคือ ทำให้วัสดุ ประสานในทุก ช่วงการดึง งานวิจัยนี้จึงเน้น การทดสอบเฉพาะเหล็กข้ออ้อย SD40 ขนาด
อัตราส่วนมีความสามารถในการไหลที่เท่ากัน หรือ ใกล้เคียงกันมากที่สุด 12 มม. (DB12)
ดังนั้นวัสดุประสานในอัตราส่วนที่แตกต่างกันก็จะมีอัตราส่วนน้ำต่อซีเมนต์ที่
แตกต่างกันด้วยเช่นกัน
เหล็ก DB12
2.2.2 การทดสอบหาความต้านทานแรงอัดของวัสดุประสาน
ใช้การทดสอบโดยอ้ างอิงมาตรฐาน ASTM C 109/C 109M – 95 [2]
เพื่อหาค่ากำลังรับแรงอัดของตัววัสดุประสาน (fc’) โดยค่ากำลังอัดประลัย Corrugated Duct

ของวั ส ดุ ป ระสาน จะใช้ เป็ น เกณฑ์ ใ นการออกแบบระยะฝั ง ของเหล็ ก


(Development length) 4-DB12
ป RB6@0.15 Corrugated Duct
ค่ากำลังรับแรงอัดของตัววัสดุประสาน (fc’) โดยทั่วไปใช้อายุที่ 28 วัน
แต่ในงานก่ อ สร้า งจริงต้ อ งแข่ งขั น กับ เวลา ดังนั้น ในงานวิจั ย นี้จ ะทำการ
ทดสอบกำลังของวัสดุประสานที่อายุ 3 และ 7 วัน
2.2.3 ค่าความต้านทานแรงอัดของวัสดุประสานที่อายุ 3 วัน I-Bolt M16

รูปที่ 1 ลักษณะชิ้นตัวอย่างทดสอบ

STR49-2
การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28 The 28th National Convention on Civil Engineering
วันที่ 24-26 พฤษภาคม 2566 จ.ภูเก็ต May 24-26, 2023, Phuket, THAILAND

สมการสำหรับ การออกแบบระยะฝังของเหล็ก เสริมภายในท่อ เหล็ ก 3. ผลและการวิเคราะห์ผลการศึกษา


ลูกฟูกชุบสังกะสี ตามมาตรฐาน วสท.0011008-21 ดังตารางที่ 2
โครงงานวิศวกรรมนี้ทำการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของรอยต่อคาน
ตารางที่ 2 สมการแบบง่ายสำหรับระยะฝังเหล็กรับแรงดึงตามมาตรฐาน วสท. คอนกรี ต โดยใช้ ท่ อ เหล็ ก ลู ก ฟู ก ชุ บ สั ง กะสี (Corrugated Duct) ในการ
011008-21 เชื่อมต่อ มุ่งเน้นที่จะศึกษาพฤติกรรมและลักษณะการวิบัติของรอยต่อโดยใช้
ขนาดของเหล็กข้ออ้อยและลวดข้ออ้อย
เงื่อนไข ท่อภายใต้แรงดึง โดยใช้เครื่องทดสอบอเนกประสงค์ (Universal Testing
20 มม. และเล็กกว่า 22 มม. และใหญ่กว่า
1. ระยะหุ้มไม่น้อยกว่า d
Machine, UTM) ซึ่งได้ผลการทดสอบดังต่อไปนี้
b
2. ช่องว่างระหว่างเหล็กเส้นหรือ 3.1 กำลังรับแรงดึงของชิ้นตัวอย่างการทดสอบ
ลวดที่ทำให้เกิดแรงหรือต่อทาบ
กันไม่น้อยกว่า db การศึ ก ษาพฤติ ก รรมการรับ กำลั งดึงของเหล็ก เสริม ที่ ฝั งในท่ อ เหล็ ก
3. มีเหล็กลูกตั้งหรือเหล็กปลอก ลู ก ฟู ก ชุ บ สั ง กะสี โดยทำการทดสอบชิ้ น ตั ว อย่ า งช่ ว งที่ เป็ น คอนกรี ต
น้อยสุดตามมาตรฐานล้อมรอบ 𝑓𝑦 𝜓𝑡 𝜓𝑒 𝑓𝑦 𝜓𝑡 𝜓𝑒 20x20x78.5 เซนติเมตร มีระยะฝังเหล็ก 47 เซนติเมตร ในแต่ละสัดส่ว น
ตลอดความยาว ld 𝑑𝑏 𝑑𝑏
6.6λ√𝑓𝑐′ 5.3λ√𝑓𝑐′ วัสดุประสาน จำนวน 12 ตัวอย่างโดยมีผลการทดสอบดังต่อไปนี้
หรือ
1. ระยะหุ้มไม่น้อยกว่า db 3.1.1 การทดสอบชิ้นตัวอย่างที่มีวัสดุประสานในอัตราส่วน ปูนเกร้าท์
2. ช่องว่างระหว่างเหล็กเส้นหรือ
1 ส่วน ต่อ ปูนซีเมนต์ 3 ส่วน
ลวดที่ทำให้เกิดแรงหรือทาบกัน
ไม่น้อยกว่า 2db
พฤติกรรมและความสามารถในการรับแรงดึง
กรณีอื่น ในการทดสอบกำลังรับแรงดึงของชิ้นตัวอย่างทดสอบที่มีวัสดุประสานใน
𝑓𝑦 𝜓𝑡 𝜓𝑒 𝑓𝑦 𝜓𝑡 𝜓𝑒 อัตราส่วน 1:3 จากการเก็บข้อมูลและนำมาพล็อตกราฟระหว่างความเค้น
𝑑𝑏 𝑑𝑏
4.4λ√𝑓𝑐′ 3.5λ√𝑓𝑐′ (Stress) กับความเครียด (Strain) สำหรับชิ้นตัวอย่างทดสอบที่ 1, 2 และ 3
หมายเหตุ ระบบ MKS-Metric หน่วยแรงเป็น กก./ซม.2 ดังกราฟในรูปที่ 3
2.4 วิธีทดสอบ TEST 01 - 03
7000
การทดสอบแรงยึดเหนี่ย วของเหล็ก ที่ ฝังในเนื้อ คอนกรีต อ้ า งอิ งตาม TEST 01
6000 TEST 02
มาตรฐานการทดสอบกำลังดึงของเหล็ก มาตรฐาน มอก. 24-2548 [4] ซึ่ง
5000 Test 03
ทำการทดสอบค่ า ความสามารถในการรั บ กำลั งดึ งโดยใช้ เครื่อ งทดสอบ
อเนกประสงค์ (Universal Testing Machine, UTM) และมีการวัดค่ากำลัง 4000
Stress (ksc)

รับแรงดึงกับระยะการยืดตัว (Elongation) โดยตรงจากเครื่องทดสอบ UTM 3000

โดยใช้โปรแกรม TRAPEZIUMX ซึ่งได้ทำการวัดความยาวเดิมของเหล็กเสริม 2000


ก่ อ นการทดสอบ เพื่ อ นำมาคำนวณหาค่ า ความเครี ย ด (Strain) โดยมี 1000
ตัวอย่างรูปแบบการทดสอบดังรูปที่ 2 0
0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7
Strain

เหล็ก DB12 รูปที่ 3 กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง Stress-Strain ของชิ้นตัวอย่างทดสอบที่ 1, 2


และ 3
Corrugated Duct

จากกราฟรูปที่ 3 แสดงถึงพฤติกรรมการรับแรงดึงของเหล็กเสริมที่ฝัง
I-Bolt M16 ในท่อเหล็กลูกฟูกชุบสังกะสี ของชิ้นตัวอย่างทดสอบที่ 1 และ 2 จากการ
สังเกตพฤติกรรมการรับกำลังดึงของเหล็กเสริม มีจุดสำคัญที่เกิดขึ้นระหว่าง
การทดสอบ 4 จุดคือ จุดคราก (Yield Point), จุดที่เริ่มมีการแตกของวัสดุ
ประสาน, จุ ด ประลั ย (Ultimate Point) และจุ ด วิ บั ติ (Rupture Point)
พฤติกรรมการรับกำลังดึงของเหล็กเสริมที่ฝังในท่อ เหล็กลูกฟูกชุบสังกะสี
สำหรับชิ้นตัวอย่างที่ 1 และ 2 มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน คือสามารถรับแรง
ดึงได้เกินจุ ดครากของเหล็กเสริม (Yield Point) หลังจากเลยจุดครากไป
เพี ย งเล็ก น้ อ ยก็ เริ่ม มีก ารแตกของวัส ดุป ระสานบริเวณปากท่ อ แต่ก็ ยั ง
รูปที่ 2 รูปแบบการติดตั้งชิ้นตัวอย่างในการทดสอบ สามารถรั บ กำลั ง ได้ จ นถึ ง ค่ า กำลั ง ดึ ง ประลั ย (Ultimate Point) และ

STR49-3
การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28 The 28th National Convention on Civil Engineering
วันที่ 24-26 พฤษภาคม 2566 จ.ภูเก็ต May 24-26, 2023, Phuket, THAILAND

สามารถรับแรงดึงจนถึงจุดวิบัติ (Rupture Point) จนเกิดการวิบัติที่เหล็ก


เสริม โดยมีตัว อย่างการเริ่มแตกของวัสดุป ระสาน และการวิบั ติข องชิ้น
ตัวอย่างทดสอบดังรูปที่ 4 และ 5

รูปที่ 6 ลักษณะการวิบัตขิ องชิน้ ตัวอย่างทดสอบที่ 3


จากรูปที่ 4, 5 และ 6 การวิบัติที่เกิดขึ้นในระหว่างการทดสอบ พบว่า
เริ่มมีการเกิดรอยร้าวของวัสดุประสานเล็กน้อยบริเวณผิว ท่อเหล็กลูกฟูกชุบ
สังกะสีก่อนถึงจุดประลัยของเหล็กเสริม จากรอยร้าวที่เกิดขึ้นแสดงให้เห็นถึง
การยืดตัวที่แตกต่างกันระหว่างวัสดุประสานกับเหล็ก เมื่อเหล็กมีการยืดตัว
มากกว่าวัสดุประสาน ส่งผลให้เกิดรอยร้าวของวัสดุประสาน แต่ สำหรับชิ้น
รูปที่ 4 รอยแตกของวัสดุประสานที่เริ่มเกิดขึ้นที่บริเวณผิวของท่อเหล็กลูกฟูก ตัวอย่างทดสอบที่ 1 และ 2 ยังสามารถรับแรงดึงได้ถึงจุด ประลัยของเหล็ก
ชุบสังกะสีของชิ้นตัวอย่างที่ 1 แสดงให้เห็นว่าวัสดุประสานมีแรงยึดหน่วงที่มากพอต่อเหล็กเสริมที่ไม่ทำให้
เหล็กเสริมหลุดออกมาจากท่อและทำให้เกิดการวิบัติที่เหล็กเสริม ดังรูปที่ 5
ซึ่งแตกต่างจากชิ้นตัวอย่างทดสอบที่ 3 ที่เกิดการเลื่อนหลุดของเหล็กจากท่อ
เหล็กลูกฟูกชุบสังกะสีเป็นระยะประมาณ 6.38 เซนติเมตร
การวิเคราะห์การยืดตัวของชิ้นตัวอย่าง จากกราฟในรูปที่ 3 การยืดตัว
ในแกนนอนเป็นการยืดตัวของเหล็กเสริมเป็นหลักซึ่งได้จากการอ่านค่าจาก
เครื่อ ง UTM เพราะไม่สามารถวัดค่า การยืดตัว ของวัสดุในชิ้น ตัว อย่างได้
โดยตรง และค่าการยืดตัวส่วนใหญ่เกิดบริเวณปากจับเหล็กเสริมของเครื่อง
ทดสอบสำหรับตัวอย่างทดสอบที่ 1 และ 2 ตามภาพการวิบัติในรูปที่ 5 ใน
ส่วนของชิ้นตัวอย่างทดสอบที่ 3 การยืดตัวในช่วงแรกของการทดสอบเป็น
การยืดตัวของเหล็กเนื่องจากการดึง แต่หลังจากเกิดการเลื่อนหลุดของเหล็ก
ออกจากท่อที่ค่ากำลังรับแรงดึงประมาณ 5800 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
ค่าการยืดตัวที่อ่านค่าจากเครื่องทดสอบส่วนใหญ่เป็นการยืดตัวเนื่องจากการ
เลื่อนหลุดของเหล็กเสริม
รูปที่ 5 ลักษณะการวิบัตขิ องชิน้ ตัวอย่างทดสอบที่ 1
3.1.2 สรุปผลการทดสอบชิ้นตัวอย่างที่มีวัสดุประสานในอัตราส่วน ปูน
ส่วนชิ้นตัวอย่างทดสอบที่ 3 จากการทดสอบผลปรากฏว่าเหล็กเสริมมี เกร้าท์ 1 ส่วน ต่อ ปูนซีเมนต์ 3 ส่วน
การหลุ ดออกจากท่ อ เหล็ ก ลูก ฟู ก ชุ บ สั งกะสี โดยมี จุ ด ที่ ส ำคั ญ ที่ เกิ ด ขึ้ น จากผลการทดสอบชิ้ น ตั ว อย่ า งทดสอบทั้ ง 3 ชิ้น ผลปรากฏว่ า ชิ้ น
ระหว่างการทดสอบ 5 จุด คือ จุดคราก (Yield Point), จุดที่เริ่มมีการแตก ตัวอย่า งทุ ก ชิ้นสามารถรับ แรงดึงได้เกิ นจุ ดครากของเหล็ก เสริม และยั ง
ของวัสดุประสาน, จุดประลัย (Ultimate Point), จุดที่เริ่มมีการเลื่อนหลุด สามารถรับกำลังได้จนถึงค่ากำลังดึงประลัย เพียงแต่ว่าชิ้นตัวอย่างที่ 3 ไม่
ของเหล็กเสริม และจุดที่เริ่มเกิดการสูญเสียแรงยึดหน่วง พฤติกรรมการรับ สามารถรับกำลังดึงจนถึงจุดวิบัติ ซึ่งอาจเป็นผลมาจากการเทวัสดุประสาน
กำลังดึงของเหล็กเสริมที่ฝังในท่อเหล็กลูกฟูกชุบสังกะสีสำหรับชิ้นตัวอย่างที่ ภายในท่อที่อาจมีโพรงเกิดขึ้นจึงหยุดทำการทดสอบ โดยที่เหล็กเสริมไม่
3 คื อ สามารถรั บ แรงดึ ง ได้ เกิ น จุ ด ครากของเหล็ ก เสริ ม (Yield Point) วิบั ติ ซึ่งแตกต่างจากชิ้นตัวอย่างที่ 1 และ 2 ที่สามารถรับ กำลังจนถึ งจุ ด
หลังจากเลยจุ ด ครากไปเพี ย งเล็ก น้ อ ยก็ เริ่มมี ก ารแตกของวัส ดุป ระสาน วิบั ติ ดังนั้ นจึ งได้สรุป ค่าเฉลี่ย ของผลการทดสอบของทั้ ง 3 ตั วอย่าง ดั ง
บริเวณปากท่อเหล็กลูกฟูกชุบสังกะสี แต่ก็ยังสามารถรับกำลังได้จนถึงค่า ตารางที่ 3
กำลังดึงประลัย (Ultimate Point) และหลังจากจุดประลัยก็เกิดการเลื่อน
หลุด ของเหล็ ก เสริม ออกจากท่ อ โดยไม่ เกิด การวิ บั ติที่ เหล็ ก เสริม โดยมี
ตัวอย่างการวิบัติของชิ้นตัวอย่างทดสอบดังรูปที่ 6

STR49-4
การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28 The 28th National Convention on Civil Engineering
วันที่ 24-26 พฤษภาคม 2566 จ.ภูเก็ต May 24-26, 2023, Phuket, THAILAND

ตารางที่ 3 สรุปผลค่าการทดสอบชิ้นตัวอย่างที่มีวัสดุประสานในอัตราส่วน 1:3


ค่ากำลังดึง ณ จุดต่าง ๆ (กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร)
กำลังดึงที่จุดคราก (Yield Strength) 5119
กำลังดึงที่จุดประลัย (Ultimate Strength) 6223
กำลังดึงที่จุดวิบัติ (Rupture Strength) 4581
หมายเหตุ ค่าเฉลี่ยกำลังดึงที่จุดคราก (Yield Strength) และกำลังดึงที่
จุดประลัย (Ultimate Strength) คำนวณได้จากค่ากำลังดึงของชิ้นตัวอย่าง
ทดสอบทั้ ง 3 ชิ้ น และสำหรั บ กำลั ง ดึ ง ที่ จุ ด วิ บั ติ (Rupture Strength)
เนื่องจากชิ้นตัวอย่างที่ 3 ไม่เกิดการวิบัติที่เหล็กเสริม ดังนั้นค่าเฉลี่ยที่แสดง
คำนวณจากการพิจารณาเฉพาะ ชิ้นตัวอย่างที่ 1 และ 2
3.1.3 การทดสอบชิ้นตัวอย่างที่มีวัสดุประสานในอัตราส่วน ปูนเกร้าท์
1 ส่วน ต่อ ปูนซีเมนต์ 2 ส่วน
รูปที่ 8 ลักษณะการวิบัตขิ องชิน้ ตัวอย่างทดสอบที่ 4
พฤติกรรมและความสามารถในการรับแรงดึง
ในการทดสอบกำลังรับแรงดึงของชิ้นตัวอย่างทดสอบที่มีวัสดุประสาน
จากรูปที่ 8 การวิบัติที่เกิดขึ้นในระหว่างการทดสอบ พบว่าเริ่มมีการ
ในอัตราส่วน 1:2 จากการเก็บข้อมูลและนำมาพล็อตกราฟระหว่างความ
เกิดรอยร้าวของวัสดุประสานเล็กน้อยบริเวณปากท่อเหล็กลูกฟูกชุบสังกะสี
เค้น (Stress) กับความเครียด (Strain) ของชิ้นตัวอย่างทดสอบที่ 4, 5 และ
ก่อนถึงจุดประลัยของเหล็กเสริม รอยร้าวนี้เกิดจากการยืดตัวที่แตกต่างกัน
6 ดังกราฟรูปที่ 7
ระหว่างวัสดุประสานกับเหล็ก เมื่อเหล็กมีการยืดตัวมากกว่าวัสดุประสาน
TEST 04 - 06 ส่งผลให้เกิดรอยร้าวของวัสดุประสาน แต่ชิ้ นตัวอย่างยังสามารถรับแรงดึง
7000
ได้ถึงจุดประลัยของเหล็ก แสดงให้เห็นว่าวัสดุประสานมีแรงยึดหน่วงที่มาก
6000
พอต่อเหล็กเสริมที่ไม่ทำให้เหล็กเสริมหลุดออกมาจากท่อและทำให้เกิดการ
5000
วิบัติที่เหล็กเสริม ดังรูปที่ 8
4000
Stress (ksc)

การวิเคราะห์การยืดตัวของชิ้นตัวอย่าง จากกราฟในรูปที่ 7 การยืดตัว


3000 TEST 04
TEST 05
ในแกนนอนเป็นการยืดตัวของเหล็กเสริมเป็นหลักซึ่งได้จากการอ่านค่าจาก
2000 เครื่อ ง UTM เพราะไม่สามารถวัดค่า การยืดตัว ของวัสดุในชิ้น ตัว อย่างได้
TEST 06
1000 โดยตรง และค่า การยื ดตั ว ส่ว นใหญ่ เกิด บริเวณช่ว งกลางของเหล็ก เสริม
0 ตัวอย่างตามภาพการวิบัติในรูปที่ 8
0 0.1 0.2 Strain 0.3 0.4 0.5
3.1.4 สรุปผลการทดสอบชิ้นตัวอย่างที่มีวัสดุประสานในอัตราส่วน ปูน
รูปที่ 7 กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง Stress-Strain ของชิ้นตัวอย่างทดสอบที่ 4, 5 เกร้าท์ 1 ส่วน ต่อ ปูนซีเมนต์ 2 ส่วน
และ 6 จากผลการทดสอบชิ้ น ตั ว อย่ า งทดสอบทั้ ง 3 ชิ้ น ผลปรากฏว่ า ชิ้ น
จากกราฟรูปที่ 7 แสดงถึงพฤติกรรมการรับแรงดึงของเหล็กเสริมที่ฝัง ตัวอย่างทุกชิ้นสามารถรับแรงดึงได้เกินจุดครากของเหล็กเสริม สามารถรับ
ในท่อเหล็กลูกฟูกชุบสังกะสีของชิ้นตัวอย่างทดสอบที่ 4, 5 และ 6 จากการ กำลังได้จนถึงค่ากำลังดึงประลัย และสามารถรับแรงดึงจนถึงจุดวิบัติ จนเกิด
สังเกตพฤติกรรมการรับกำลังดึงของเหล็กเสริม มีจุดสำคัญที่เกิดขึ้นระหว่าง การวิบัติที่เหล็กเสริม ดังนั้นจึงได้สรุปค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบของทั้ง 3
การทดสอบ 4 จุดคือ จุดคราก (Yield Point), จุดที่เริ่มมีการแตกของวัสดุ ตัวอย่าง ดังตารางที่ 4
ประสาน, จุ ด ประลั ย (Ultimate Point) และจุ ด วิ บั ติ (Rupture Point) ตารางที่ 4 สรุปผลค่าการทดสอบชิ้นตัวอย่างที่มีวัสดุประสานในอัตราส่วน 1:2
พฤติกรรมการรับกำลังดึงของเหล็กเสริมที่ฝังในท่อเหล็กลูกฟูกชุบสังกะสีจะ ค่ากำลังดึง ณ จุดต่าง ๆ (กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร)
มีความแตกต่ างกัน ในเรื่อ งของการยืดตั ว ส่ ว นการรับ กำลังมี ลัก ษณะที่ กำลังดึงที่จุดคราก (Yield Strength) 5070
คล้ายคลึงกัน คือสามารถรับแรงดึงได้เกินจุดครากของเหล็กเสริม (Yield กำลังดึงที่จุดประลัย (Ultimate Strength) 6312
Point) หลั งจากเลยจุ ด ครากไปเพี ย งเล็ ก น้ อ ยก็ เริ่ม มี ก ารแตกของวั ส ดุ กำลังดึงที่จุดวิบัติ (Rupture Strength) 4859
ประสานบริเวณปากท่อเหล็กลูก ฟูก ชุบสังกะสี แต่ยังสามารถรับ กำลังได้
จนถึงค่ากำลังดึงประลัย (Ultimate Point) และสามารถรับแรงดึงจนถึงจุด 3.1.5 การทดสอบชิ้นตัวอย่างที่มีวัสดุประสานในอัตราส่วน ปูนเกร้าท์
วิบัติ (Rupture Point) จนเกิดการวิบัติที่เหล็กเสริม โดยมีตัวอย่างการวิบัติ 1 ส่วน ต่อ ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน
ของชิ้นตัวอย่างทดสอบดังรูปที่ 8 พฤติกรรมและความสามารถในการรับแรงดึง

STR49-5
การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28 The 28th National Convention on Civil Engineering
วันที่ 24-26 พฤษภาคม 2566 จ.ภูเก็ต May 24-26, 2023, Phuket, THAILAND

ในการทดสอบกำลังรับแรงดึงของชิ้นตัวอย่างทดสอบที่มีวัสดุประสานใน ตัวที่แตกต่างกันระหว่างวัสดุประสานกับเหล็ก เมื่อเหล็กมีการยืดตัวมากกว่า


อัตราส่วน 1:1 จากการเก็บข้อมูลและนำมาพล็อตกราฟระหว่างความเค้น วัส ดุ ป ระสาน ส่ งผลให้ เกิ ด รอยร้า วของวั ส ดุ ป ระสาน แต่ ชิ้ น ตั ว อย่ า งยั ง
(Stress) กับความเครียด (Strain) ของชิ้นตัวอย่างทดสอบที่ 7, 8 และ 9 ดัง สามารถรับแรงดึงได้ถึงจุดประลัยของเหล็ก แสดงให้เห็นว่าวัสดุประสานมี
กราฟรูปที่ 9 แรงยึดหน่วงที่มากพอต่อเหล็กเสริมที่ไม่ทำให้เหล็กเสริมหลุดออกมาจากท่อ
และทำให้เกิดการวิบัติที่เหล็กเสริม ดังรูปที่ 10
7000 TEST 07 - 09
การวิเคราะห์การยืดตัวของชิ้นตัวอย่าง จากกราฟในรูปที่ 9 การยืดตัว
6000
ในแกนนอนเป็นการยืดตัวของเหล็กเสริมเป็นหลักซึ่งได้จากการอ่านค่าจาก
5000
เครื่อ ง UTM เพราะไม่สามารถวัดค่า การยืดตัว ของวัสดุในชิ้น ตัว อย่างได้
Stress (ksc)

4000 โดยตรง และค่า การยื ดตั ว ส่ว นใหญ่ เกิด บริเวณช่ว งกลางของเหล็ก เสริม
3000 TEST 07
ตัวอย่างตามภาพการวิบัติในรูปที่ 10
TEST 08
2000
TEST 09 3.1.6 สรุปผลการทดสอบชิ้นตัวอย่างที่มีวัสดุประสานในอัตราส่วน ปูน
1000
เกร้าท์ 1 ส่วน ต่อ ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน
0
0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 จากผลการทดสอบชิ้นตัวอย่าง 3 ชิ้น ผลปรากฏว่าชิ้นตัวอย่างทุกชิ้น
Strain
สามารถรับแรงดึงได้เกินจุดครากของเหล็กเสริม สามารถรับกำลังได้จนถึงค่า
รูปที่ 9 กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง Stress-Strain ของชิน้ ตัวอย่างทดสอบที่ 7, 8 กำลังดึงประลัย และสามารถรับแรงดึงจนถึงจุดวิบัติ จนเกิดการวิบัติที่เหล็ก
และ 9 เสริม ดังนั้น จึ งได้ส รุป ค่า เฉลี่ ย ของผลการทดสอบของทั้ง 3 ตัว อย่า ง ดั ง
จากกราฟรูปที่ 9 แสดงถึงพฤติกรรมการรับแรงดึงของเหล็กเสริมที่ฝังใน ตารางที่ 5
ท่อเหล็กลูกฟูก ชุบสังกะสี ข องชิ้นตัวอย่างทดสอบที่ 7, 8 และ 9 จากการ ตารางที่ 5 สรุปผลค่าการทดสอบชิ้นตัวอย่างที่มีวัสดุประสานในอัตราส่วน 1:1
สังเกตพฤติกรรมการรับกำลังดึงของเหล็กเสริม มี จุดสำคัญที่เกิดขึ้นระหว่าง ค่ากำลังดึง ณ จุดต่าง ๆ (กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร)
การทดสอบ 4 จุดคือ จุดคราก (Yield Point), จุดที่เริ่มมีการแตกของวัสดุ กำลังดึงที่จุดคราก (Yield Strength) 5060
ประสาน, จุ ด ประลั ย (Ultimate Point) และจุ ด วิ บั ติ (Rupture Point) กำลั งดึ งที จ
่ ุ ดประลั ย (Ultimate Strength) 6291
พฤติกรรมการรับกำลังดึงของเหล็กเสริมที่ฝังในท่อเหล็กลูกฟูกชุบสังกะสีจะ กำลังดึงที่จุดวิบัติ (Rupture Strength) 4493
มี ความแตกต่ า งกั น ในเรื่อ งของการยืด ตั ว ส่ ว นการรับ กำลั งมี ลั ก ษณะที่
คล้ายคลึงกัน คือ สามารถรับ แรงดึงได้เกินจุดครากของเหล็ก เสริม (Yield 3.1.7 การทดสอบชิ้นตัวอย่างที่มีวัสดุประสานในอัตราส่วน ปูนเกร้าท์
Point) หลั งจากเลยจุ ด ครากไปเพี ย งเล็ ก น้ อ ยก็ เริ่ ม มี ก ารแตกของวั ส ดุ 1 ส่วน ต่อ ปูนซีเมนต์ 0 ส่วน
ประสานบริเวณปากท่อ เหล็กลูกฟูก ชุบ สังกะสี แต่ก็ยังสามารถรับ กำลังได้ พฤติกรรมและความสามารถในการรับแรงดึง
จนถึงค่ากำลังดึงประลัย (Ultimate Point) และสามารถรับแรงดึงจนถึงจุด ในการทดสอบกำลังรับแรงดึงของชิ้นตัวอย่างทดสอบที่มีวัสดุประสานใน
วิบัติ (Rupture Point) จนเกิดการวิบัติที่เหล็กเสริม โดยมีตัวอย่างการวิบัติ อัตราส่วน 1:0 จากการเก็บข้อมูลและนำมาพล็อตกราฟระหว่างความเค้น
ของชิ้นตัวอย่างทดสอบดังรูปที่ 10 (Stress) กับความเครียด (Strain) ของชิ้นตัวอย่างทดสอบที่ 10, 11 และ 12
ดังกราฟรูปที่ 11
7000 TEST 10 - 12

6000

5000

4000
Stress (ksc)

3000 TEST 10
TEST 11
TEST 12
2000

1000

0
รูปที่ 10 ลักษณะการวิบัติของชิ้นตัวอย่างทดสอบที่ 8 0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5
Strain
จากรูปที่ 10 การวิบัติที่เกิดขึ้นในระหว่างการทดสอบ พบว่าเริ่มมีการ รูปที่ 11 กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง Stress-Strain ของชิน้ ตัวอย่างทดสอบที่ 10,
เกิดรอยร้าวของวัสดุประสานเล็กน้อยบริเวณปากท่อเหล็กลูกฟูกชุบสังกะสี 11 และ 12
ก่อนถึงจุดประลัยของเหล็กเสริม จากรอยร้าวที่เกิดขึ้นแสดงให้เห็นถึงการยืด

STR49-6
การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28 The 28th National Convention on Civil Engineering
วันที่ 24-26 พฤษภาคม 2566 จ.ภูเก็ต May 24-26, 2023, Phuket, THAILAND

จากกราฟรูปที่ 11 แสดงถึงพฤติกรรมการรับแรงดึงของเหล็กเสริมที่ฝัง กำลังดึงประลัย และสามารถรับแรงดึงจนถึงจุดวิบัติ จนเกิดการวิบัติที่เหล็ก


ในท่อเหล็กลูกฟูกชุบสังกะสีของชิ้นตัวอย่างทดสอบที่ 10, 11 และ 12 จาก เสริม ดังนั้น จึ งได้ส รุป ค่า เฉลี่ ย ของผลการทดสอบของทั้ ง 3 ตัว อย่า ง ดั ง
การสังเกตพฤติก รรมการรับ กำลังดึงของเหล็ ก เสริม มีจุ ดสำคั ญ ที่เกิ ดขึ้ น ตารางที่ 6
ระหว่างการทดสอบ 4 จุดคือ จุดคราก (Yield Point), จุดที่เริ่มมีการแตก ตารางที่ 6 สรุปผลค่าการทดสอบชิ้นตัวอย่างที่มีวัสดุประสานในอัตราส่วน 1:0
ของวัส ดุป ระสาน, จุ ด ประลัย (Ultimate Point) และจุ ดวิ บั ติ (Rupture
ค่ากำลังดึง ณ จุดต่าง ๆ (กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร)
Point) พฤติก รรมการรับกำลังดึงของเหล็กเสริมที่ฝังในท่อเหล็ก ลูกฟูกชุบ
กำลังดึงที่จุดคราก (Yield Strength) 4889
สังกะสี จ ะมี ค วามแตกต่ า งกั น ในเรื่ อ งของการยืด ตั ว ส่ ว นการรับ กำลั งมี
กำลังดึงที่จุดประลัย (Ultimate Strength) 6084
ลักษณะที่คล้ายคลึงกัน คือสามารถรับแรงดึงได้เกินจุดครากของเหล็กเสริม กำลังดึงที่จุดวิบัติ (Rupture Strength) 4585
(Yield Point) หลังจากเลยจุดครากไปเพียงเล็กน้อยก็เริ่มมีการแตกของวัสดุ
ประสานบริเวณปากท่อ เหล็กลูกฟูก ชุบ สังกะสี แต่ก็ยังสามารถรับ กำลังได้
จนถึงค่ากำลังดึงประลัย (Ultimate Point) และสามารถรับแรงดึงจนถึงจุด 4. สรุป
วิบัติ (Rupture Point) จนเกิดการวิบัติที่เหล็กเสริม โดยมีตัวอย่างการวิบัติ 4.1 พฤติกรรมและความสามารถในการรับกำลังดึงของเหล็กเสริมที่ฝังใน
ของชิ้นตัวอย่างทดสอบดังรูปที่ 12 ท่อเหล็กลูกฟูกชุบสังกะสี (Corrugated Duct)
เนื่องด้วยวิธีการตรวจการยืดตัว (Elongation) ตลอดความยาวชิ้นงาน
จากเครื่อ งทดสอบ UTM แล้ ว นำมาคำนวณหาค่ า ความเครีย ด (Strain)
ส่งผลทำให้ค่าความเครียดที่จุดครากของตัวอย่างที่มากเมื่อเปรียบเทียบกับ
ค่ า ความเครี ย ดที่ จุ ด ครากของเหล็ ก เสริ ม เนื่ อ งจากกราฟความเค้ น
ความเครีย ด (Stress-strain relationship) ด้ วยการวัด โดยวิธีนี้ จะทำให้
การยืดตัวที่ได้เป็นการยืดตัวทั้งของเหล็กเสริมและโบลท์ รวมถึงการเคลื่อน
ตัวจากการรูดออกของเหล็กเสริม และโบลท์ (Slip) ทั้งสองฝั่ง ด้วยข้อจำกัด
ดังกล่าว อาจส่งผลให้ค่าการยืดที่ได้จากการทดสอบจะมากกว่าความเป็นจริง
แต่เนื่องด้วยการศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นที่จะทราบถึงความสามารถในการรับแรง
ดึงของเหล็กเสริมกับวัสดุประสานดังนั้นการยืดตัวดังกล่าวจึงไม่ได้พิจารณา
เป็นส่วนหลักในการศึกษาครั้งนี้
จากผลการทดสอบความสามารถในการรับกำลังดึงของจุดต่อโครงสร้าง
รูปที่ 12 ลักษณะการวิบัติของชิ้นตัวอย่างทดสอบที่ 10 คอนกรีต สำเร็ จ ที่ ใช้ จุ ด ต่ อ แบบท่ อ เหล็ ก ลู ก ฟู ก ชุ บ สั งกะสี (Corrugated
Duct) ในสัดส่วนวัสดุประสานที่แตกต่างกันพบว่า
จากรูปที่ 12 การวิบัติที่เกิดขึ้นในระหว่างการทดสอบ พบว่าเริ่มมีการ
ความสามารถในการรั บ กำลั ง ดึ งของเหล็ ก เสริ ม ที่ ฝั งในท่ อ ที่ มี วั ส ดุ
เกิดรอยร้าวของวัสดุประสานเล็กน้อยบริเวณปากท่อเหล็กลูกฟูกชุบสังกะสี
ประสานในอัตราส่วนปูนเกร้าท์ต่อปูนซีเมนต์ 1:2, 1:1 และ 1:0 สามารถรับ
ก่อนถึงจุดประลัยของเหล็กเสริม จากรอยร้าวที่เกิดขึ้นแสดงให้เห็นถึงการยืด
กำลังดึงได้เกินจุดครากของเหล็กเสริม สามารถรับกำลังได้จนถึงค่ากำลังดึง
ตัวที่แตกต่างกันระหว่างวัสดุประสานกับเหล็ก เมื่อเหล็กมีการยืดตัวมากกว่า
ประลัย และสามารถรับแรงดึงจนถึงจุดวิบัติ จนเกิดการวิบัติที่เหล็กเสริมทั้ง
วัส ดุ ป ระสาน ส่ งผลให้ เกิ ด รอยร้า วของวั ส ดุ ป ระสาน แต่ ชิ้ น ตั ว อย่ า งยั ง
3 อัตราส่วนที่ทำการทดสอบ เมื่อเปรียบเทียบกับกำลังดึงของเหล็กเสริมตาม
สามารถรับแรงดึงได้ถึงจุดประลัยของเหล็ก แสดงให้เห็นว่าวัสดุประสานมี
มาตรฐาน มอก. 24-2548 ค่า กำลังดึงที่ ได้ จากการทดสอบมีค่า มากกว่า
แรงยึดหน่วงที่มากพอต่อเหล็กเสริมที่ไม่ทำให้เหล็กเสริมหลุดออกมาจากท่อ
มาตรฐาน จึ งสรุป ได้ว่า การใช้จุ ด ต่อ แบบท่อ เหล็ก ลู ก ฟู ก ชุบ สังกะสี เป็ น
และทำให้เกิดการวิบัติที่เหล็กเสริม ดังรูปที่ 12
ส่วนประกอบของจุดต่อของโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จโดยใช้วัสดุประสานใน
การวิเคราะห์การยืดตัวของชิ้นตัวอย่าง จากกราฟในรูปที่ 11 การยืดตัว
อัตราส่วน 1:0, 1:1 และ 1:2 มีความเหมาะสมที่จะนำไปประยุกต์ใช้ในงาน
ในแกนนอนเป็นการยืดตัวของเหล็กเสริมเป็นหลักซึ่งได้จากการอ่านค่าจาก
ก่อสร้างจริง
เครื่อ ง UTM เพราะไม่สามารถวัดค่า การยืดตัว ของวัสดุในชิ้น ตัว อย่างได้
ในส่วนของตัวอย่างทดสอบที่ใช้สัดส่วนของวัสดุประสานในอัตราส่วน
โดยตรง และค่าการยืดตัวส่วนใหญ่เกิดบริเวณปากจับเหล็กเสริมของเครื่อง
ปู น เกร้า ท์ ต่ อ ปู น ซี เมนต์ 1:3 มี ข้ อ แตกต่ า งคื อ ชิ้ น ตั ว อย่ า งที่ 3 ที่ ท ำการ
ทดสอบตัวอย่างตามภาพการวิบัติในรูปที่ 12
ทดสอบในสัดส่วนวัสดุประสานดังกล่าวเกิดการเลื่อ นหลุด ของเหล็กเสริม
3.1.8 สรุปผลการทดสอบชิ้นตัวอย่างที่มีวัสดุประสานในอัตราส่วน ปูน ออกจากท่อนั่นหมายความว่าสัดส่วนของวัสดุประสาน 1:3 ยังมีข้อกำจัดใน
เกร้าท์ 1 ส่วน ต่อ ปูนซีเมนต์ 0 ส่วน ด้านของความปลอดภัยในการใช้งาน แม้ค่าความสามารถในการรับกำลังดึง
จากผลการทดสอบชิ้นตัวอย่าง 3 ชิ้น ผลปรากฏว่าชิ้นตัวอย่างทุกชิ้น สำหรั บ กำลั ง ดึ งที่ จุ ด คราก (Yield Strength) และกำลั ง ดึ ง ที่ จุ ด ประลั ย
สามารถรับแรงดึงได้เกินจุดครากของเหล็กเสริม สามารถรับกำลังได้จนถึงค่า (Ultimate Strength) เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ กำลั ง ดึ ง ของเหล็ ก เสริ ม ตาม

STR49-7
การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28 The 28th National Convention on Civil Engineering
วันที่ 24-26 พฤษภาคม 2566 จ.ภูเก็ต May 24-26, 2023, Phuket, THAILAND

มาตรฐาน มอก. 24-2548 พบว่าค่ากำลังดึงที่ได้จากการทดสอบจะมีค่า


มากกว่ามาตรฐาน จึงสรุปได้ว่าการใช้จุดต่อแบบท่อเหล็กลูกฟูกชุบสังกะสี
เป็นส่วนประกอบของจุดต่อของโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูป สำหรับการใช้
วัสดุประสานในอัตราส่วน 1:3 ในการนำไปประยุกต์ใช้ในงานก่อสร้างจริง
อาจมีปัญหาเกี่ยวกับความสามารถในการรับกำลังของโครงสร้าง
4.2 เปรียบเทียบงบประมาณของวัสดุประสานแต่ละสัดส่วน
เนื่องจากสัดส่วนวัสดุประสานในอัตราส่วน 1:3 อาจจะยังไม่ชัดเจนว่า
สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับงานก่อสร้างจริงทางกลุ่มงานวิจัย จึงได้ทำการ
พิจารณาเปรียบเทียบงบประมาณเฉพาะส่วนของวัสดุประสานในอัตราส่วน
1:0, 1:1 และ 1:2 จากปริมาณการใช้จริงในงานวิจัยนี้ ถ้าหากคิดราคาการใช้
ปูนเกร้าท์ล้วนหรืออัตราส่วน 1:0 เป็น 100% เมื่อเปรียบเทียบกับสัดส่วน
อื่น ๆ ที่มีการผสมกับปูนซีเมนต์ จะสามารถช่วยประหยัดงบประมาณในส่วน
ของวัสดุประสานโดยคิดเป็นค่าร้อยละได้ดังนี้
1) อัตราส่วน 1:1 ประหยัดได้ถึง 34 % เมื่อเทียบกับอัตราส่วน 1:0
2) อัตราส่วน 1:2 ประหยัดได้ถึง 45 % เมื่อเทียบกับอัตราส่วน 1:0
5. กิตติกรรมประกาศ
งานวิจัยนี้สำเร็จลุล่วงได้เป็นอย่างดีด้วยความกรุณาและความช่วยเหลือ
อย่างดียิ่งจากบุ คคลหลายฝ่าย ซึ่งคณะผู้จัดทำซาบซึ้งและประทับ ใจเป็ น
อย่างยิ่งจึงขอกราบขอบคุณไว้ ณ โอกาสนี้
ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ วัฒนพงศ์ หิรัญมาลย์
ที่ให้คำแนะนำคำปรึกษาในทุกด้านงานของงานวิจัย
เอกสารอ้างอิง
[1] The European Standard EN 445:2007, Grout for
prestressing tendons – Test methods (Grout Spread
Method)

[2] ASTM C 109/C 109M – 95 Standard Test Method for


Compressive Strength of Hydraulic Cement Mortars (Using
2-in. Or (50 mm) Cube Specimens), 100 Barr Harbor Drive,
West Conshohocken, PA 19428, United States.
[3] วิ ศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทยในพระบรมชู ป ถั ม ภ์ (2564).
มาตรฐานสำหรับ การออกแบบคอนกรีต เสริม เหล็ ก โดยวิธีก ำลั ง ,
กรุงเทพฯ
[4] มาตรฐานผลิต ภั ณ ฑ์ อุ ตสาหกรรมไทย (24-2548), เหล็ ก เส้น เสริม
คอนกรีต : เหล็กข้ออ้อย

STR49-8

You might also like