You are on page 1of 12

บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ.

ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2558 91

กำลังรับแรงอัดและ กำรดูดกลืนน้ำของคอนกรีตมวลเบำแบบเซลลูล่ำ
Compressive Strength and Water Absorption of Cellular Lightweight
Concrete

ธนภร ทวีวฒ ุ ิ นท แสงเทียน*


คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี 34190

Thanabhorn Thaveevouthti Note Sangtian*


Faculty of Engineering, Ubonratchathani University, Warinchamrap, Ubonratchathani 34190
Tel : 0-4535-3375 E-mail: ensuwath@ubu.ac.th

บทคัดย่อ Abstract
บทความนี้น าเสนอการศึกษากาลังรับ แรงอัดของ This paper presents a study of compressive
คอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า ตัว อย่างรูปทรงกระบอก strength for standard cylinder and cube specimens in
และทรงลูกบาศก์มาตรฐาน ทีบ่ ่มแห้งในอากาศอายุ 7, 14 air-curing condition at the ages of 7, 14, 28 and 56
28 และ 56 วัน และ การดูดกลืนน้ า ที่ 28 วัน โดยผลิต days, and water absorption at the age of 28 days. A
คอนกรีต ที่ค่าหน่ วยน้ า หนักออกแบบในช่วง 800-1800 total of 26 designed mixes of cellular lightweight
กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใช้อตั ราส่วนน้ าต่อปูนซีเมนต์ concrete with unit weights ranging between 800
เท่ากับ 0.45 และ 0.55 และอัตราส่วนทรายต่อปูนซีเมนต์ kg/m3 to 1800 kg/m3 using water to cement ratios of
เท่ากับ 0.25:1, 0.5:1, 1:1, 2:1 และ 3:1 รวมทัง้ หมด 26 0.45 and 0.55 and sand to cement ratios of 0.25:1,
สูตรส่วนผสม จากผลการศึกษาพบว่า (1) กาลังรับแรงอัด 0.5:1, 1:1, 2:1 and 3:1 were produced. The results
ของตั ว อย่ า งรู ป ทรงกระบอกมี ค่ า ระหว่ า ง 10.4-242 shown that (1) the compressive strengths of the
กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ทรงลูกบาศก์มคี ่าระหว่าง standard cylinder specimens ranging from 10.4-242
10.7-185 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร และ (2) ค่าร้อย kg/cm2 and of the standard cubes ranging from 10.7-
ละของการดูดกลืนน้ าพบอยู่ในช่วงร้อยละ 8.3-49.3 และ 185 kg/cm2, and (2) the percentage of water
ปริมาณการดูดกลืนน้าพบอยู่ในช่วง 140 -285.8 กิโลกรัม absorption ranged from 8.3-49.3% and the volume of
ต่อลูกบาศก์เมตร เมื่อเทียบกับมอก. 2601-2556 พบว่า water absorption ranged from 140-285.8 kg/m3. In
สูต รที่หน่ ว ยน้ าหนักออกแบบ 1200, 1400, 1600 comparison with TIS 2601-2556, the test results of
กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เทียบเคียงได้กบั มอก. 2601- cellular light weight concrete with unit weight 1200,
2556 ชนิด C12, C14 และ C16 ตามลาดับ 1400 and 1600 kg/m3 reached the standard class
คำหลัก คอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า คอนกรีตโฟม C12, C14 and C16, respective.
กาลังรับแรงอัด การดูดกลืนน้า Keywords: cellular lightweight concrete, foam
concrete, compressive strength, water absorption
92 บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร ม.อบ. ปที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2558

1. บทนำ บทความนี้ นาเสนอการศึกษากาลัง รับแรงอัด ของ


คอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า (cellular lightweight ตัวอย่างรูปทรงกระบอกและทรงลูกบาศก์มาตรฐาน และ
concrete) เป็ นคอนกรีตทีม่ สี ว่ นผสมของโฟมเหลว ซึง่ ถูก การดูด กลืน น้ า ของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่ า ที่ค่ า
ฉี ด เข้า ไปผสมกับ ทราย ปู น ซีเ มนต์ แ ละน้ า โดยไม่ มี หน่ ว ยน้ า หนั ก ออกแบบในช่ ว ง 800-1800 กิโ ลกรัม ต่ อ
ส่วนผสมของมวลรวมหยาบ เมื่อคอนกรีตแห้งตัวจะพบ ลูกบาศก์เมตร โดยใช้อตั ราส่วนน้ าต่อปูนซีเมนต์ (W/C)
ฟองอากาศจ านวนมากในเนื้ อ คอนกรีต น้ า หนั ก ของ เท่ากับ 0.45 และ 0.55 และอัตราส่วนทรายต่อปูนซีเมนต์
คอนกรี ต ขึ้น กับ ปริ ม าณฟองโฟมที่ ใ ส่ เ ข้ า ไป ดัง นั ้น (S/C) เท่ากับ 0.25:1, 0.5:1, 1:1, 2:1 และ 3:1 รวม
คอนกรีตชนิดนี้จงึ มีลกั ษณะเด่นคือหน่ วยน้ าหนักเบา [1- ทัง้ หมด 26 สูตร (ตารางที่ 1) เพื่อหาแนวโน้ ม กาลังรับ
3] ค่าหน่ วยน้ าหนักของคอนกรีตมวลเบาเริม่ ได้ตงั ้ แต่ แรงและการดูดกลืนน้ าของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า
300 ไปจนถึง 1920 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (20-120 เปรียบเทียบกับมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ (1) มอก.
lb/ft3) [4-6] ช่วงแรกคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าถูกใช้ 58-2533 [15] (2) มอก. 57-2533 [16] และ (3) มอก.
เป็ นวัสดุฉนวน โดยใช้ทห่ี น่วยน้าหนักตัง้ แต่ 240 ถึง 800 2601-2556 [11] และเพื่อเป็ นฐานข้อมูลการวิจยั สาหรับ
กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร [5-6] ต่อมาก็ได้มกี ารพัฒนา การพัฒนาคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าต่อไป
ส่วนผสมและคุณสมบัติต่างๆ สาหรับใช้เป็ นบล็อก ผนัง
แผ่นพื้น และในงานด้านอื่นๆมากขึน้ [7-9] ในประเทศ 2. กำรทดสอบวัสดุผสมและกำรผลิ ต
ไทยได้เริม่ มีการกาหนดเกณฑ์มาตรฐานสาหรับชิ้นส่วน 2.1 วัสดุ
คอนกรีตมวลเบาในปี 2541 [10] และในปี 2556 ก็ได้ม ี วัสดุทต่ี ้องเตรียมสาหรับผลิตคอนกรีตมวลเบาแบบ
มาตรฐานสาหรับคอนกรีตมวลเบาในช่วงหน่ วยน้ าหนัก เซลลูล่า ประกอบด้วย (1) ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท
300-1600 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร [11] ที1่ (2) ทรายสะอาด (3) น้ าสะอาด และ (4) น้ ายาสร้าง
คุณสมบัตดิ ้านกาลังรับแรงอัดของคอนกรีตแปรผัน ฟองโฟม
กับ ป จั จัย หลายประการ เช่ น อัต ราส่ ว นผสม หน่ ว ย 2.2 เครือ่ งมือและอุปกรณ์
น้ าหนักหรือความพรุนของคอนกรีต วิธกี ารบ่มและอายุ เครื่อ งมือ และอุ ป กรณ์ ประกอบด้ว ย (1) โม่ ผ สม
คอนกรี ต เป็ นต้ น ในช่ ว งหน่ ว ยน้ า หนั ก 300-1800 คอนกรีต (2) เครื่องผลิตโฟมเหลว (foam generator) (3)
กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ค่ากาลังรับแรงอัดอาจแปรผัน แบบหล่อคอนกรีตทรงกระบอกขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15
ได้ตัง้ แต่ ช่ ว งประมาณ 10-250 กิโ ลกรัม ต่ อ ตาราง เซนติเมตร สูง 30 เซนติเมตร (4) แบบหล่อคอนกรีต
เซนติเมตร [5-6, 12] จากผลงานวิจยั [13-14] พบว่ากาลัง ลู ก บาศก์ ขนาด 15x15x15 เซนติเ มตร (5) เครื่อ งชัง่
รับแรงอัดทีอ่ ายุ 28 วัน ของตัวอย่างทดสอบทรงกระบอก น้ าหนัก และ (6) เครื่องทดสอบกาลังอัดคอนกรีต (7)
มาตรฐานและทรงลูกบาศก์ มีค่าระหว่าง 16-210 และ 12- ตูอ้ บ
176 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร กาลังอัดที่อายุ 56 วัน 2.3 กำรเตรียมมวลรวมละเอียด
ของตัว อย่ า งทรงกระบอกและทรงลูก บาศก์ อยู่ใ นช่ ว ง (1) ทดสอบหาค่าความถ่วงจาเพาะของมวลรวมละเอียด
18–237 และ 14-181 กิ โ ลกรั ม ต่ อ ตารางเซนติ เ มตร (ทราย) และทดสอบหาค่าความสามารถในการดูดซึมน้ า
ตามล าดับ เนื่ อ งจากคอนกรีต มวลเบาแบบเซลลู ล่ า มี ของทราย ตามมาตรฐาน ASTM C 128 - standard test
ฟองอากาศอยู่ภายในเป็ นจานวนมาก ดังนัน้ ปริมาณการ method for specific gravity and absorption of Fine
ดูด กลืน น้ า จึง มีค่ า ค่ อ นข้า งสูง โดยเฉพาะคอนกรีต ที่มี aggregate เพื่อใช้ในการออกแบบปริมาณส่วนผสม ใน
หน่ วยน้ าหนักน้อยความพรุนจะมากและการดูดกลืนน้ าก็ ทีน่ ้คี ่าความถ่วงจาเพาะของทราย อยู่ทป่ี ระมาณ 2.7 และ
มากด้วย [4-7] ในช่วงหน่ วยน้ าหนัก 800-1800 กิโลกรัม ความสามารถในการดูดซึมน้ามีค่าร้อยละ 1.6
ต่อลูกบาศก์เมตร อาจพบว่าร้อยละการดูดกลืนน้ ามีค่า (2) ทดสอบหาค่าโมดูลสั ความละเอียดของทราย (FM.)
ในช่วงร้อยละ 8- 50 [13] ในการศึกษานี้ใช้ทรายทีม่ คี ่า FM. เท่ากับ 2.28
(3) ทดสอบหาความชื้นของทราย ดาเนินการทุก ครัง้ ที่
ผลิตคอนกรีตเพื่อใช้คานวณปริมาณส่วนผสม
บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร ม.อบ. ปที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2558 93

2.4 กำรเตรียมน้ำยำสร้ำงฟองโฟม ทัง้ หมดเป็ นเนื้ อเดียวกัน แล้ว จึง เทคอนกรีต ที่ผ ลิตเข้า
การเตรียมน้ ายาสร้างฟองโฟมใช้อตั ราส่วนสารสร้างฟอง แบบหล่อทีเ่ ตรียมไว้
โฟมต่ อ น้ า คือ 1 ต่ อ 30 แล้ว ทดสอบหาอัต ราการ (3) บ่มคอนกรีตแห้งในอากาศตามอายุการทดสอบทีร่ ะบุ
ขยายตัวของปริมาตรน้ ายาโฟม พบว่ามีค่าประมาณ 26 ในขัน้ ตอนต่อไป ซึง่ การบ่มแห้งในอากาศนี้สามารถใช้ได้
เท่า และ อัตราการไหลของฟองโฟมเหลว อยู่ทป่ี ระมาณ กับการศึกษาคุณสมบัตขิ องคอนกรีตได้ [17-19]
6.45 ลิตรต่ อวินาที รายละเอียดอัตราส่วนผสมสาหรับ
การศึกษานี้แสดงในตารางที่ 1 3. วิ ธีกำรศึกษำ
3.1 กำรทดสอบกำลังอัด
ตารางที่ 1 สูตรส่วนผสมของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า ในการศึก ษานี้ ท าการทดสอบก าลัง ของคอนกรีต
มวลเบาแบบเซลลูล่าทีอ่ ายุ 7, 14, 28 และ 56 วัน เพื่อให้
เห็นแนวโน้มการพัฒนากาลังเมื่อ คอนกรีตอายุมากกว่า
28 วันด้วย เนื่องจากมีการศึกษาพบว่ากาลังของคอนกรีต
มวลเบาแบบเซลลูล่านัน้ เมื่ออายุหลัง 28 วันไปแล้ว ยังมี
การพัฒนากาลังต่อไปอีก ในช่วง 28 วัน ถึง 6 เดือน อาจ
มีการพัฒนากาลังเพิม่ ขึน้ ได้อกี ร้อยละ 30-80 [1]
สาหรับ การทดสอบจะผลิตตัว อย่างทัง้ สองรูปทรง
คือ ตัวอย่างคอนกรีตรูปทรงลูกบาศก์ ขนาด 15x15x15
เซนติเมตรและทรงกระบอกขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15
เซนติเมตร สูง 30 เซนติเมตร อ้างอิงตามมาตรฐาน BS
1881 : PART 4 Method of Testing Concrete for
Strength และ ASTM 39 Test Method for
Compressive Strength of Cylindrical Concrete
Specimens ตามลาดับ ทัง้ หมด 624 ตัวอย่าง โดยทาการ
ทดสอบกาลังอัด ทีอ่ ายุ 7, 14, 28 และ 56 วัน ครัง้ ละ 3
ตัวอย่าง
3.2 กำรหำอัตรำกำรดูดกลืนน้ำ
การทดสอบหาการดู ด กลื น น้ า ใช้ ตั ว อย่ า งทรง
ลูกบาศก์ขนาด 15x15x15 เซนติเมตร สูตรละ 6 ตัวอย่าง
รวม 156 ตัว อย่ า งด าเนิ น การโดยน าตัว อย่ า งมาแช่ ใ น
ภาชนะที่มีน้ า สะอาดทิ้ง ไว้ อ ย่ า งน้ อ ย 24 ชัว่ โมง เช็ด
2.5 กำรผลิ ตและกำรทดสอบ ตัวอย่างให้อยู่ในสภาพอิม่ ตัวผิวแห้ง แล้วนามาชังเป็ ่ นค่า
ขัน้ ตอนการผลิตและการทดสอบ มีดงั นี้ น้ าหนักเปี ยก จากนัน้ นาตัวอย่างเข้าตู้อบปรับอุณหภูมิ
(1) เตรียมเครื่องผลิตโฟมเหลว โดยต่อเครื่องอัดอากาศ 100 องศาเซลเซีย สเป็ นเวลาอย่า งน้ อ ย 24 ชัว่ โมง น า
เข้ากับถังรับแรงดันสาหรับผสมน้ ายาสร้างฟองโฟม ใช้ ตัว อย่ า งมาชัง่ ได้ ค่ า น้ า หนั ก อบแห้ ง แล้ ว ค านวณหา
น้ ายากับน้ าในอัตราส่วน 1 ต่อ 30 ใส่ลงในถังรับแรงดัน ปริมาณและอัตราการดูดกลืนน้า
และปรับแรงดันให้อยู่ในช่วงประมาณ 0.60-0.65 MPa
(2) ใส่ทรายและปูนซีเมนต์ลงในโม่ผสมคอนกรีต ผสมให้ 4. ผลกำรศึกษำกำลังรับแรงอัด
เข้ากัน แล้วใส่น้ า ใช้เวลาประมาณ 2-3 นาที เพื่อให้ ในหัว ข้อ นี้ น าเสนอก าลัง รับ แรงอัด ของตัว อย่ า ง
ส่วนผสมเข้า เป็ น เนื้อ เดีย วกัน ฉีด โฟมเหลวใส่ไปในโม่ ทรงกระบอก (หัวข้อ 4.1) และลูกบาศก์มาตรฐาน (4.2)
ปล่อยให้โม่ทางานประมาณ 1-2 นาที จนเห็นว่าส่วนผสม แนวโน้มของกาลังรับแรงอัดเมื่อพิจารณาตามอัตราส่วน
94 บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร ม.อบ. ปที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2558

ทรายต่อปูนซีเมนต์ (4.3) และอัตราส่วนน้ าต่อปูนซีเมนต์


(4.4) และความสัม พัน ธ์ร ะหว่ า งก าลัง รับ แรงอัด รู ป
ทรงกระบอกกับรูปทรงลูกบาศก์ (4.5)

4.1 กำลังรับแรงอัดของตัวอย่ำงรูปทรงกระบอก
กาลังรับแรงอัดของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า ที่
อายุ 7, 14, 28 และ 56 วัน ของตัวอย่างทรงกระบอก
มาตรฐานทีห่ น่ วยน้ าหนักออกแบบเท่ากับ 800, 1000,
รูปที่ 2 กาลังรับแรงอัดกับอายุของตัวอย่างทรงกระบอกทีห่ น่วย
1200, 1400, 1600 และ 1800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร น้าหนักออกแบบเท่ากับ 1000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
แสดงในรูปที่ 1-6 ตามลาดับ โดยค่าในแนวแกนนอนคือ
อายุของคอนกรีตหน่ วยเป็ นวัน ส่วนค่าในแนวแกนตัง้ คือ
กาลังรับแรงอัดหน่ วยเป็ นกิโลกรัมต่ อตารางเซนติเมตร
แนวโน้มของกาลังรับแรงอัดทีอ่ ายุ 7 วัน มีค่าอยู่ในช่วง
0.3-0.9 เท่า, ทีอ่ ายุ 14 วัน มีค่าประมาณ 0.8-0.99 เท่า
และ ทีอ่ ายุ 56 วัน มีค่าประมาณ 1.03-1.25 เท่าของกาลัง
ทีอ่ ายุ 28 วัน
ที่อายุ 56 วัน กาลังรับแรงอัดมีค่าระหว่าง 18-242
กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ค่ากาลังต่ าสุดพบที่หน่ วย
รูปที่ 3 กาลังรับแรงอัดกับอายุของตัวอย่างทรงกระบอกทีห่ น่วย
น้ าหนั ก ออกแบบ 800 กิ โ ลกรั ม ต่ อ ลู ก บาศก์ เ มตร น้าหนักออกแบบเท่ากับ 1200 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
อัตราส่วนทรายต่ อปูนซีเมนต์เ ท่ากับ 0.5 ต่ อ 1 และใช้
อัตราส่วนน้ าต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 0.45 ส่วนค่ากาลังรับ
แรงอัดสูงสุดพบทีห่ น่ วยน้ าหนักออกแบบ 1800 กิโลกรัม
ต่อลูกบาศก์เมตร อัตราส่วนทรายต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 2
ต่อ 1 อัตราส่วนน้าต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 0.45

รูปที่ 4 กาลังรับแรงอัดกับอายุของตัวอย่างทรงกระบอกทีห่ น่วย


น้าหนักออกแบบเท่ากับ 1400 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร

รูปที่ 1 กาลังรับแรงอัดกับอายุของตัวอย่างทรงกระบอกทีห่ น่วย


น้าหนักออกแบบเท่ากับ 800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร

รูปที่ 5 กาลังรับแรงอัดกับอายุของตัวอย่างทรงกระบอกทีห่ น่วย


น้าหนักออกแบบเท่ากับ 1600 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร ม.อบ. ปที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2558 95

รูปที่ 6 กาลังรับแรงอัดกับอายุของตัวอย่างทรงกระบอกทีห่ น่วย รูปที่ 8 กาลังรับแรงอัดกับอายุของตัวอย่างทรงลูกบาศก์ทห่ี น่ วย


น้าหนักออกแบบเท่ากับ 1800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร น้าหนักออกแบบเท่ากับ 1000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร

4.2 กำลังรับแรงอัดของตัวอย่ำงรูปทรงลูกบำศก์
กาลังรับแรงอัดของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า ที่
อายุ 7, 14, 28 และ 56 วัน ของตัวอย่างทรงลูกบาศก์
มาตรฐานทีห่ น่ วยน้ าหนักออกแบบเท่ากับ 800, 1000,
1200, 1400, 1600 และ 1800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
แสดงในรูปที่ 7-12 ตามลาดับ โดยค่าในแนวแกนนอนคือ
อายุของคอนกรีตหน่ วยเป็ นวัน ส่วนค่าในแนวแกนตัง้ คือ
กาลังรับแรงอัดหน่ วยเป็ นกิโลกรัมต่ อตารางเซนติเมตร รูปที่ 9 กาลังรับแรงอัดกับอายุของตัวอย่างทรงลูกบาศก์ทห่ี น่วย
แนวโน้มของกาลังรับแรงอัดทีอ่ ายุ 7 วัน มีค่าอยู่ในช่วง น้าหนักออกแบบเท่ากับ 1200 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
0.4-0.97, ทีอ่ ายุ 14 วัน มีค่าประมาณ 0.78-0.99 เท่า
และ ทีอ่ ายุ 56 วัน มีค่าประมาณ 1.01-1.23 เท่าของกาลัง
ทีอ่ ายุ 28 วัน
ที่อายุ 56 วัน กาลังรับแรงอัดมีค่าระหว่าง 14-185
กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร โดยค่ากาลังรับแรงอัดสูงสุด
และต่าสุดพบทีส่ ตู รทดสอบเดียวกันกับของทรงกระบอก
จะเห็นได้ว่าแนวโน้มของอัตราการพัฒนากาลังแต่
ละช่วงอายุของตัวอย่างรูปทรงกระบอกกับทรงลูกบาศก์มี
ค่าใกล้เคียงกัน ส่วนค่า กาลังรับแรงอัดสูงสุดถึงแม้ว่าจะ
รูปที่ 10 กาลังรับแรงอัดกับอายุของตัวอย่างทรงลูกบาศก์ทห่ี น่วย
พบทีส่ ูตรเดียวกันแต่ค่ากาลัง ของตัวอย่างทรงกระบอกมี น้าหนักออกแบบเท่ากับ 1400 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
ค่าสูงกว่าทรงลูกบาศก์

รูปที่ 7 กาลังรับแรงอัดกับอายุของตัวอย่างทรงลูกบาศก์ทห่ี น่วย รูปที่ 11 กาลังรับแรงอัดกับอายุของตัวอย่างทรงลูกบาศก์ทห่ี น่วย


น้าหนักออกแบบเท่ากับ 800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร น้าหนักออกแบบเท่ากับ 1600 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
96 บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร ม.อบ. ปที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2558

รูปที่ 13 กาลังรับแรงอัดของตัวอย่างทรงกระบอกทีอ่ ตั ราส่วนทราย


รูปที่ 12 กาลังรับแรงอัดกับอายุของตัวอย่างทรงลูกบาศก์ทห่ี น่วย
ต่อปูนซีเมนต์ 0.25/1, 0.5/1, 1/1, 2/1 และ 3/1
น้าหนักออกแบบเท่ากับ 1800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร

รายละเอียดรูปที่ 14 นาเสนอสมการแนวโน้มกาลัง
4.3 อัตรำส่วนทรำยต่อปูนซีเมนต์ รับแรงอัดรูปทรงลูกบาศก์อายุ 56 วัน ที่ใช้ทอ่ี ตั ราส่วน
กาลังรับแรงอัดของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า ทรายต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 0.5 คือ
โดยภาพรวมแปรผกผัน กับ ปริม าณทราย ดัง รู ป ที่ 13 y = 0.1033x – 65.6
นาเสนอค่า กาลังรับแรงอัด รูปทรงกระบอกกับค่าหน่ วย อัตราส่วนทรายต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 1 คือ
น้ าหนักออกแบบในช่วง 800-1800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์ y = 0.0002x2 - 0.1933x + 68.2
เมตร และ รูปที่ 14 ค่ากาลังรับแรงอัดรูปทรงลูกบาศก์กบั สมการแนวโน้ ม ของก าลั ง อั ด ที่ อ ั ต ราส่ ว นทรายต่ อ
หน่ ว ยน้ า หนั ก ออกแบบ ในช่ ว ง 800-1800กิโ ลกรัม ต่ อ ปูนซีเมนต์เท่ากับ 2 คือ
ลูกบาศก์เมตร เช่นกัน y = 0.0002x2 - 0.3173x + 137.1
ทัง้ สองรูปได้นาเสนอทีอ่ ตั ราส่วนทรายต่อปูนซีเมนต์ ทีอ่ ตั ราส่วนทรายต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 3 คือ
0.25/1, 0.5/1, 1/1, 2/1 และ 3/1 จะเห็นว่าที่หน่ วย y = 0.0001x2 - 0.1861x + 35.35
น้าหนักออกแบบเดียวกันคอนกรีตทีใ่ ช้อตั ราส่วนทรายต่อ โดยมีค่า R2= 0.91, 0.98, 0.99 และ 0.95 ตามลาดับ
ปูนซีเมนต์น้อยจะมีกาลังรับแรงอัดสูงกว่า ทีใ่ ช้อตั ราส่วน
ทรายต่อปูนซีเมนต์มาก
รายละเอียดในรูปที่ 13 นาเสนอสมการแนวโน้มกาลังรับ
แรงอัดรูปทรงกระบอกอายุ 56 วัน ทีใ่ ช้อตั ราส่วนทราย
ต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 0.5 คือ
y = 0.145x – 94.75
ทีอ่ ตั ราส่วนทรายต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 1 คือ
y = 0.0003x2 - 0.5063x + 249.4
สมการแนวโน้ ม ของก าลั ง อั ด ที่ อ ั ต ราส่ ว นทรายต่ อ
ปูนซีเมนต์เท่ากับ 2 คือ รูปที่ 14 กาลังรับแรงอัดของตัวอย่างทรงลูกบาศก์ทอ่ี ตั ราส่วนทราย
y = 0.0002x2 - 0.3116x + 116.2 ต่อปูนซีเมนต์ 0.25/1, 0.5/1, 1/1, 2/1 และ 3/1
และทีอ่ ตั ราส่วนทรายต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 3 คือ
y = 0.0004x2 - 1.0936x + 722.8 4.4 อัตรำส่วนน้ำต่อปูนซีเมนต์
เมื่อ y คือ กาลังรับแรงอัด (ksc) และ x คือ หน่วยน้ าหนัก เมื่อพิจารณาตามอัตราส่วนน้ าต่อปูนซีเมนต์พบว่า
(kg/m3) และมีค่าระหว่าง 800-1800 kg/m3 แนวโน้มการพัฒนากาลังรับแรงอัดที่ 56 วัน ทัง้ ตัวอย่าง
โดยมีค่า R2 = 0.96, 0.99, 0.96 และ 0.90 ตามลาดับ ทรงกระบอกและลูกบาศก์มลี กั ษณะคล้ายกัน คือ ทีห่ น่ วย
น้าหนักออกแบบ 800-1200 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ที่
อัตราส่วนน้ าต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 0.55 คอนกรีต จะมี
บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร ม.อบ. ปที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2558 97

ก าลัง รับ แรงอัด สูง กว่ า ที่ใ ช้อ ัต ราส่ว นน้ า ต่ อ ปูน ซีเ มนต์
เท่ากับ 0.45 อย่างไรก็ตาม ที่หน่ วยน้ าหนักออกแบบ
1400-1800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เมื่อใช้อตั ราส่วน
น้าต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 0.45 จะมีกาลังรับแรงอัดสูงกว่า
ทัง้ นี้น่าจะเนื่องมาจากวิธกี ารบ่มคอนกรีตแบบการ
บ่มแห้งในอากาศ คอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าทีม่ หี น่วย
น้ าหนักช่ว ง 800-1200 กิโลกรัม ต่ อลูกบาศก์เมตร มี
ฟองอากาศมาก มีความพรุนสูง ดังนัน้ เมื่อบ่มโดยทิง้ ไว้ใน
อากาศ จึงอาจมีน้ าบางส่วนระเหยออกจากคอนกรีตได้ รูปที่ 16 กาลังรับแรงอัดกับหน่วยน้าหนักของตัวอย่างทรงลูกบาศก์
มาก [20] และส่ง ผลการทาปฏิกิริย าของปูน ซีเ มนต์ อัตราส่วนน้าต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 0.45, 0.55 อายุ 56 วัน
สาหรับปูนซีเมนต์ Type I ทัวไปแนะน ่ าค่าอัตราส่วนน้ า
ต่อปูนซีเมนต์ท่ไี ว้ท่ี 0.42 สาหรับ full hydration [17] 4.5 ควำมสัม พัน ธ์ ร ะหว่ ำ งก ำลัง รับ แรงอัด รู ป
ดังนัน้ อาจเป็ นไปได้ว่าสาหรับคอนกรีตหน่ วยน้ าหนักเบา ทรงกระบอกกับรูปทรงลูกบำศก์
มีน้ าระเหยออกไปมาก และ ทาให้สูตรที่ใช้อตั ราส่วนน้ า โดยทัวไปแล้
่ วกาลังรับแรงอัดของคอนกรีตปกติรูป
ต่ อ ปูน ซีเ มนต์ สูง มีน้ า สาหรับ ท าปฎิกิริย าไฮเดรชัน่ ได้ ทรงกระบอกมาตรฐานกับทรงลูกบาศก์จะให้ค่าทีแ่ ตกต่าง
ดีกว่าจึงให้ค่ากาลังทีส่ งู กว่า ส่วนหน่ วยน้ าหนักออกแบบ กันอยู่แล้วถึงแม้ว่าจะใช้ส่วนผสมเดียวกัน โดยกาลังอัด
1400-1800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร มีความเหนียว ทรงกระบอกจะให้ ค่ า น้ อ ยกว่ า ก าลั ง อั ด ของรู ป ทรง
มากกว่า ปริมาณฟองอากาศมีน้อยกว่า และการระเหย ลูก บาศก์ ถึง แม้ ท าการบ่ ม ภายใต้ส ภาวะเดีย วกัน และ
ของน้ าออกจากคอนกรีตน่ าจะน้ อยกว่า จึงมีพฤติกรรม ทดสอบทีอ่ ายุเท่ากัน [21] ทัง้ นี้เนื่องจาก
คล้ า ยคอนกรี ต ทั ว่ ไป คื อ สู ต รที่ ใ ช้ อ ั ต ราส่ ว นน้ าต่ อ (1) องค์ป ระกอบเรื่อ งความชะลู ด กล่ า วคือ รู ป
ปูนซีเมนต์ต่าให้กาลังสูง ทานองเดียวกับคอนกรีตทัวไป ่ ท ร ง ก ร ะ บ อ ก มี ส ั ด ส่ ว น ค ว า ม สู ง ต่ อ ค ว า ม ก ว้ า ง
ส ม ก า ร ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง ก า ลั ง รั บ แ ร ง อั ด (slenderness ratio) มากกว่ารูปทรงลูกบาศก์ ซึง่ ส่งผลให้
ทรงกระบอกอายุ 56 วัน กับหน่ วยน้ าหนักออกแบบ ที่ ก าลัง อัด รู ป ทรงกระบอกต่ า กว่ า รู ป ทรงลู ก บาศก์ และ
อัตราส่วนน้ าต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 0.45 และ 0.55 แสดง (2) แรงเสียดทานระหว่างผิวของก้อนตัวอย่างกับ
ในรูปที่ 15 และ ในรูปที่ 16 เป็ นของคอนกรีตรูปทรง แผ่นรองกด ทีก่ ่อให้เกิดแรงต้านทานต่อการแตกด้านข้าง
ลูกบาศก์ ของก้อนตัวอย่างทีเ่ รียกว่า confining stress ถ้าผิวสัมผัส
ของก้อนตัวอย่างกับเครื่องกดมีค่ามาก confining stress
ก็จะมีค่ามากด้วย ดังนัน้ จึงมีส่วนทาให้กาลังอัดของทรง
ลูกบาศก์อาจสูงกว่าความเป็ นจริง
ทางวิศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทยได้ก าหนด
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างกาลังอัดทัง้ 2 รูปทรง ไว้ใน
มาตรฐานส าหรั บ อาคารคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก และ
มอก.213-2520 มาตรฐานอุตสาหกรรมคอนกรีตผสมเสร็จ
ก็ได้เสนอชัน้ คุณภาพของคอนกรีตทัง้ สองรูปทรงไว้ โดย
สรุ ป ได้ ก าหนดให้ ค่ า ก าลัง รับ แรงอัด ของคอนกรีต รู ป
รูปที่ 15 กาลังรับแรงอัดกับหน่วยน้าหนักของตัวอย่างทรงกระบอก ทรงกระบอกมาตรฐานมีค่าประมาณร้อยละ 70-80 ของ
อัตราส่วนน้าต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 0.45 และ 0.55 ทีอ่ ายุ คอนกรีตรูปทรงลูกบาศก์ [21]
56 วัน อย่างไรก็ตามจากผลการศึกษาพบว่า ค่าที่ทดสอบ
แตกต่ า งจากทฤษฎี โดยพบว่ า ค่ า ก าลัง รับ แรงอัด ของ
คอนกรีตรูปทรงกระบอกมาตรฐานมีค่ามากกว่ากาลังอัด
98 บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร ม.อบ. ปที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2558

ของคอนกรีตรูปทรงลูกบาศก์ อยู่ในช่วง 1.1-1.5 เท่า ปริมาณการดูดกลืนน้ าและร้อยละการดูดกลืนน้ า สาหรับ


ค่าเฉลีย่ อยู่ทป่ี ระมาณ 1.25 เท่า ซึง่ ผลการทดสอบพบใน คอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า แนะนาให้ใช้ค่า ปริมาณ
ท านองเดีย วกัน กับ [13-14] รู ป ที่ 17 เป็ น กราฟ การดูดกลืนน้า เนื่องจากมีการลดลงของค่าหน่ วยน้ าหนัก
ความสัมพันธ์ทไ่ี ด้จากการหาค่ากาลังอัดต่อหน่วยน้าหนัก [18] จากผลการทดสอบพบแนวโน้มชัดเจนว่าปริมาณการ
ของคอนกรีตทีอ่ ายุ 56 วัน ได้สมการความสัมพันธ์ คือ ดูดกลืนน้าแปรผกผันกับค่าหน่วยน้าหนัก ทัง้ นี้กเ็ นื่องจาก
y = 1.2036x - 0.2583 คอนกรีต มวลเบาแบบเซลลูล่าผลิตจากการฉีดฟองโฟม
เมื่อ x คือ ค่ ากาลังอัดต่ อหน่ วยน้ า หนักของตัว อย่า ง เข้าไปผสมกับมอร์ตา้ แทนการใช้มวลรวมหยาบ กรณีทจ่ี ะ
รูปทรงลูกบาศก์ และ y คือ ค่ากาลังอัดต่อหน่ วยน้ าหนัก ได้ค่าหน่วยน้าหนักน้อย จะต้องฉีดฟองโฟมเข้าไปผสมใน
ของตัวอย่างทรงกระบอกมาตรฐาน ปริมาณทีม่ าก และเมื่อคอนกรีตแห้งตัวฟองโฟมทีฉ่ ีดเข้า
ไปผสมก็ก ลายเป็ น ฟองอากาศขนาดเล็ ก ที่อ ยู่ ใ นเนื้ อ
คอนกรีตนัน่ เอง ดังนัน้ คอนกรีตทีม่ หี น่ วยน้ าหนักน้อยจึง
มีปริมาณฟองอากาศมากและมีปริมาณการดูดการกลืนน้า
สูง เมื่อพิจารณาค่าอัตราส่วนน้ าต่อปูนซีเมนต์ พบว่า ที่
หน่ วยน้ าหนักเดียวกัน ใช้อตั ราส่วนทรายต่ อปูนซีเมนต์
เท่ า กัน สูต รที่ใ ช้อ ัต ราส่ว นน้ า ต่ อ ปู น ซีเ มนต์ น้ อ ย โดย
ภาพรวมจะให้ค่าปริมาณการดูดกลืนน้าน้อยกว่า ทางด้าน
อัตราส่วนทรายต่อปูนซีเมนต์ ส่งผลต่ออัตราการดูดกลืน
น้ า คือ ที่ห น่ ว ยน้ าหนัก เดียวกัน ใช้อ ัตราส่วนน้ า ต่ อ
รูปที่ 17 ความสัมพันธ์ค่ากาลังรับแรงอัดของคอนกรีตรูป
ทรงกระบอกมาตรฐานกับรูปทรงลูกบาศก์ ปู น ซี เ มนต์ เ ท่ า กั น แล้ ว เมื่ อ ใช้ อ ั ต ราส่ ว นทรายต่ อ
ปูนซีเมนต์มาก จะให้ค่าปริมาณการดูดกลืนน้าน้อยกว่า
ในหัวข้อนี้นาเสนอเพื่อมุ่งเน้นให้เห็นผลการศึกษาที่
ตารางที่ 2 ผลการศึกษาค่าการดูดกลืนน้า
คลาดเคลื่อนกับทฤษฎี เพื่อเป็ นข้อสังเกตและข้อควรระวัง
สาหรับผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง เช่น หน่วยงานทีร่ บั ทดสอบคอนกรีต
ผู้ต้องการใช้ผลิตภัณฑ์คอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าที่
ผลิตโดยใช้โม่ ผสมคอนกรีต ทัวไปเพราะอาจมี
่ ได้หลาย
สาเหตุ ท่ที าให้คอนกรีตที่ผลิต ได้ต่ างจากที่อ อกแบบไว้
[18] และส่ง ผลให้ผ ลการทดสอบต่ า งจากทฤษฎี ความ
เข้าใจที่แท้จริงในพฤติกรรมของคอนกรีตมวลเบาแบบ
เซลลู ล่ า เป็ นเรื่ องที่ จ า เป็ น ยิ่ ง ส าห รั บ ก ารพั ฒ น า
อุตสาหกรรมคอนกรีตด้านนี้ต่อไป

5. กำรดูดกลืนน้ำ
ในหัว ข้อ นี้ น าเสนอผลการทดสอบการดูด กลืน น้ า
ของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าทัง้ 26 สูตรส่วนผสม ที่
อายุ 28 วัน เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบผลการทดสอบ
กับ มอก. 57-2533 [16] และ มอก.2601-2556 [11] ซึง่
กล่าวถึงการดูดกลืนน้ าเทียบกับค่าหน่ วยน้ าหนักอบแห้ง
ตารางที่ 2 ผลการศึกษาจึงประกอบด้วยทัง้ ค่าหน่ วย
น้าหนักออกแบบและค่าหน่วยน้ าหนักอบแห้ง และในการ
น าเสนอค่ า การดู ด กลืน น้ า ได้น าเสนอทัง้ ในรู ป ของค่ า
บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร ม.อบ. ปที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2558 99

5.1 ปริมำณและร้อยละกำรดูดกลืนน้ำ กรณีปริมาณการดูดกลืนต่าสุดทีก่ ล่าวมาข้างต้น


การนาเสนอค่าการดูดกลืนน้าอาจนาเสนอในรูปของ
ค่าปริมาณการดูดกลืนน้าและร้อยละการดูดกลืนน้ า ซึง่ ใน
คอนกรีต มวลเบาแบบเซลลู ล่ า แนะน าให้ ใ ช้ เ ป็ น ค่ า
ปริมาณการดูดกลืนน้า [18] ซึง่ แสดงในรูปที่ 18 ค่าหน่ วย
น้ า หนั ก อบแห้ง กับ ค่ า ปริม าณการดูด กลืน น้ า ในหน่ ว ย
กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ส่วน รูปที่ 19 แสดงค่าหน่ วย
น้าหนักอบแห้งกับค่าร้อยละของการดูดกลืนน้ า จะเห็นได้
ชัด ว่ า การดู ด กลืน น้ า แปรผกผัน กับ หน่ ว ยน้ า หนั ก ของ
คอนกรีต โดยมีค่าแบ่งเป็ นช่วงตามหน่วยน้าหนัก รูปที่ 19 ความสัมพันธ์ระหว่างค่าหน่วยน้าหนักอบแห้งกับค่าร้อย
ปริม าณการดูด กลืน น้ า สูง สุด พบที่ห น่ ว ยน้ า หนั ก ละของการดูดกลืนน้า
ออกแบบ 800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร อัตราส่วนทราย
ต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 0.25 อัตราส่วนน้ าต่อปูนซีเมนต์ 5.2 กำลังรับแรงอัดและร้อยละกำรดูดกลืนน้ำ
เท่ากับ 0.55 มีค่าหน่ วยน้ าหนักแห้ง 623 กิโลกรัมต่อ เนื่องจากค่ากาลังรับแรงอัดรูปทรงลูกบาศก์ให้ค่าต่ า
ลูกบาศก์เมตร มีการดูดกลืนน้ าประมาณ 285.8 กิโลกรัม กว่ารูปทรงกระบอก ดังนัน้ เพื่อความปลอดภัยกว่าสาหรับ
ต่อลูกบาศก์เมตร คิดเป็ นร้อยละ 45.9 การนาไปใช้งาน จึงนาเสนอผลการศึกษากาลังรับแรงอัด
ปริม าณการดู ด กลืน น้ า ต่ า สุด พบที่ห น่ ว ยน้ า หนั ก รูปทรงลูกบาศก์ ทีอ่ ายุ 56 วัน เทียบกับค่าการดูดกลืนน้า
ออกแบบ 1800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร อัตราส่วน ค่ า ก าลั ง รั บ แรงอั ด รู ป ทรงลู ก บาศก์ ต่ า สุ ด คื อ
ทรายต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 3 อัตราส่วนน้ าต่อปูนซีเมนต์ ประมาณ 14 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร พบทีห่ น่ วย
เท่ากับ 0.45 มีค่าหน่ วยน้ าหนักแห้ง 1690 กิโลกรัมต่อ น้ าหนั ก ออกแบบ 800 กิ โ ลกรั ม ต่ อ ลู ก บาศก์ เ มตร
ลูกบาศก์เมตร การดูดกลืนน้ าประมาณ 140 กิโลกรัมต่อ อัตราส่วนทรายต่ อปูนซีเมนต์เ ท่ากับ 0.5 ต่ อ 1 และใช้
ลูกบาศก์เมตร คิดเป็ นร้อยละ 8.3 อัต ราส่ว นน้ า ต่ อ ปูน ซีเ มนต์เ ท่ า กับ 0.45 มีป ริม าณการ
ดูดกลืนน้ าอยู่ท่ปี ระมาณ 283.7 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์
เมตร และ ค่าการดูดกลืนน้ าอยู่ท่รี ้อยละ 46.3 ส่วนค่า
กาลังรับแรงอัดสูงสุด 185 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
ทีห่ น่วยน้าหนักออกแบบ 1800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
อัตราส่วนทรายต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 2 ต่อ 1 อัตราส่วน
น้าต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 0.45 มีปริมาณการดูดกลืนน้ าอยู่
ทีป่ ระมาณ 166.9 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และค่าการ
ดูดกลืนน้าอยู่ทป่ี ระมาณร้อยละ 10
ทีห่ น่วยน้าหนักออกแบบเท่ากับ 800, 1000, 1200,
รูปที่ 18 ความสัมพันธ์ระหว่างค่าหน่วยน้าหนักอบแห้งกับค่า
1400, 1600 และ 1800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ค่า
ปริมาณการดูดกลืนน้าในหน่วยกิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
กาลังรับแรงอัดอยู่ในช่วงประมาณ 14-28, 21-41, 28-56,
ร้อ ยละการดู ด กลืน น้ า สูง สุ ด พบที่ห น่ ว ยน้ า หนั ก 47-95, 100-117 และ 144-185 กิโลกรัมต่ อตาราง
ออกแบบ 800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร อัตราส่วนทราย เซนติเมตร มีปริมาณการดูดกลืนน้าอยู่ทป่ี ระมาณ 273.7-
ต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 0.25 อัตราส่วนน้ าต่อปูนซีเมนต์ 285.8, 201.6-257.7, 196.7-214.1, 156.2-210.4, 152.9-
เท่ากับ 0.45 มีค่าหน่ วยน้ าหนักแห้ง 573.6 กิโลกรัมต่อ 175.1, 139.9-179.1 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และ ค่า
ลูกบาศก์เมตร ร้อยละการดูดกลืนน้ าอยู่ท่ปี ระมาณ 49.3 ร้อ ยละของการดูด กลืนน้ า อยู่ในช่ ว งร้อ ยละ 43.6-49.3,
คิดเป็ น 282.9 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ส่วนร้อยละการ 25.5-33.2, 19.2-20.8, 12.2-16.8, 10.4-12.3 และ 8.3-
ดูดกลืนน้ าต่ าสุดมีค่าร้อยละ 8.3 พบที่สูตรเดียวกันกับ 10.8 ตามลาดับ
100 บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2558

6. ผลเปรียบเทียบกับเกณฑ์มำตรฐำน ตารางที่ 3 ผลการศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน


ผลการศึ ก ษาที่ น ามาเปรี ย บเที ย บกั บ เกณฑ์ ร้อย
ละ
มาตรฐาน สาหรับการนาไปใช้งาน ที่นาเสนอในตาราง หน่วย กาลัง
การ
สรุปข้างล่างนี้ (ตารางที่ 3) เพื่อความปลอดภัยจึงเลือกใช้ มาตรฐาน น้ าหนัก s/c w/c อัด
ดูด
(kg/m3) (ksc)
ค่ากาลังรับแรงอัดของตัวอย่างรูปทรงลูกบาศก์เนื่องจาก กลืน
ให้ค่าต่ ากว่ารูปทรงกระบอก ดังที่กล่าวมาในหัวข้อ 4.5 น้ า
800 0.25 0.55 27.8 45.9
ซึง่ เกณฑ์มาตรฐานทีเ่ กีย่ วข้องโดยสรุปมีดงั นี้
1000 0.5 0.45 34.1 31.4
1) มอก. 58-2533 [15] มาตรฐานคอนกรีตบล็อกไม่รบั 1) มอก. 58-2533 1000 0.5 0.55 41.2 33.2
น้าหนัก กาหนดให้ค่ากาลังอัดต่ าสุดเฉลีย่ จากพืน้ ทีร่ วมมี 1000 1 0.55 29.0 25.5
ค่ า 2.5 เมกะปาสคาล หรือ ประมาณ 25 กิโ ลกรัม ต่ อ ผ่านทุกสูตรหน่วยน้ าหนัก 1200 -1800 kg/m3
ตารางเซนติเมตร 2) มอก. 57-2533
1800
3 0.55 144.5 151**
2) มอก. 57-2533 [16] มาตรฐานคอนกรีต บล็อ กรับ (1650)*
ชัน้ คุณภาพ ก
1800
น้ าหนัก ชัน้ คุณภาพ ก กาหนดให้ค่ากาลังอัดต่ าสุดเฉลี่ย กรณี (1)
(1655)*
2 0.55 175.6 179**
จากพืน้ ทีส่ ทุ ธิมคี ่า 14 เมกะปาสคาล หรือ ประมาณ 140 1800
3 0.45 175.5 140**
กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร มี 2 กรณีทเ่ี กีย่ วข้อง คือ กรณี (2)
(1690)*
กรณี (1) ที่ค่า หน่ วยน้ าหนักอบแห้งน้ อยกว่า และ 1800
2 0.45 185.0 167**
(1686)*
เท่ากับ 1680 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร มีค่าดูดกลืนน้ า
1200
สูงสุด 240 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และ (1185)*
1 0.45 49.0 20.8
กรณี (2) ทีค่ ่าหน่ วยน้ าหนักอบแห้งระหว่าง 1680-
3) มอก. 2601-2556 1200 1 0.55 55.6 20.2
1760 กิโลกรัม ต่ อ ลูก บาศก์เ มตร มีค่า ดูด กลืน น้ า สูง สุด ชนิด C9, C10 และ
(1140)*
224 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร C12 1200
2 0.45 28.0 19.7
(1171)*
3) มอก.2601-2556 [11] มาตรฐานคอนกรีตบล็อกมวล
1200
เบาแบบเติมฟองอากาศ แบ่งออกเป็ น 8 ชนิด ได้แก่ ชนิด (1182)*
2 0.55 28.4 19.2
C6, C7, C8, C9, C10, C12, C14 และ C16 โดยมีค่า ชนิด C14 และ C16 ผ่านทุกสูตรหน่วยน้ าหนัก 1400-1600 kg/m3
ความหนาแน่ นแห้งเฉลี่ยอยู่ในช่วง 501-600, 601-700,
หมายเหตุ * คือค่าหน่วยน้าหนักอบแห้ง
701-800, 801-900, 901-1000, 1001-1200, 1201-1400 ** ปริมาณการดูดกลืนน้า หน่วยเป็น kg/m3
และ 1401-1600 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตามลาดับ
ค่ากาลังรับแรงอัดของชนิด C6, C7 และ C8 ควรมี 7. สรุป
ค่าไม่น้อยกว่า 20.4 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร และมี จากผลการศึก ษาก าลัง รับ แรงอัดของตัว อย่ า งรูป
ค่าดูดกลืนน้าไม่เกินร้อยละ 25 ทรงกระบอกและทรงลูกบาศก์มาตรฐาน และ การดูดกลืน
ค่ากาลังรับแรงอัดของชนิด C9, C10 และ C12 ไม่ น้ าของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าทีค่ ่าหน่ วยน้ าหนัก
น้ อ ยกว่ า 25.5 กิโ ลกรัม ต่ อ ตารางเซนติเ มตร และค่ า ออกแบบในช่ว ง 800-1800 กิโลกรัมต่ อ ลูก บาศก์เ มตร
ดูดกลืนน้าไม่เกินร้อยละ 23 โดยใช้อตั ราส่วนน้ าต่ อปูนซีเมนต์ (W/C) เท่ากับ 0.45
ค่ากาลังรับแรงอัดของชนิด C14 และ C16 ไม่น้อย และ 0.55 และอัต ราส่ ว นทรายต่ อ ปู น ซี เ มนต์ (S/C)
กว่า 51 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร และค่าดูดกลืนน้ า เท่ากับ 0.25:1, 0.5:1, 1:1, 2:1 และ 3:1 รวมทัง้ หมด 26
ไม่เกินร้อยละ 20 สูตร เพื่อหาแนวโน้มกาลังรับแรงและการดูดกลืนน้ าของ
คอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า เปรียบเทียบกับมาตรฐาน
ทีเ่ กีย่ วข้อง สรุปได้ว่า
บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2558 101

(1) ทีห่ น่ วยน้ าหนักออกแบบเท่ากับ 800-1800 กิโลกรัม 8. ข้อเสนอแนะ


ต่อลูกบาศก์เมตร ทีอ่ ายุ 7, 14, 28 และ 56 วัน มีค่ากาลัง จากผลการวิจ ัย พบข้อ สัง เกตุ ท่ี น่ า สนใจส าหรับ
รับ แรงอัดตัว อย่ างรูป ทรงกระบอก อยู่ในช่ วงประมาณ การศึกษาในอนาคต 2 ประเด็นสาคัญ คือ
10.4-176.3, 14.7-185.5, 16.1-211 และ 17.9-242 (1) การบ่มคอนกรีตแห้งในอากาศ ทาให้มนี ้ าระเหยออก
กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ตามลาดับ และ ค่ากาลังรับ จากคอนกรีตซึ่งส่งผลต่ อการทาปฏิกิริยาไฮเดรชันของ ่
แรงอัดตัวอย่างรูปทรงลูกบาศก์ อยู่ในช่วงประมาณ 10.7- ปู น ซีเ มนต์ เสนอให้มีก ารวัด อัต ราการระเหยน้ า ของ
142, 11.7-155, 12.2-176 และ 14.1-185 กิโลกรัมต่อ คอนกรีต มวลเบาแบบเซลลูล่ า ก าลัง รับ แรงอัด ที่อ ายุ
ตารางเซนติเมตร ตามลาดับ ต่ า งๆ ของคอนกรีต รวมถึง เทีย บกับ การบ่ ม ชื้น ที่อ ายุ
(2) กาลังรับแรงอัดของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า ต่างๆ ด้วย
แปรผกผันกับปริมาณทราย ที่หน่ วยน้ าหนักเดียวกัน (2) การศึก ษาเรื่อ งความสม่ า เสมอของเนื้ อ คอนกรี ต
คอนกรีตทีใ่ ช้อตั ราส่วนทรายต่อปูนซีเมนต์น้อยจะมีกาลัง โครงสร้างภายใน ทัง้ ขนาดและลักษณะของฟองอากาศใน
รับแรงอัดสูงกว่าทีใ่ ช้อตั ราส่วนทรายต่อปูนซีเมนต์มาก เนื้ อ คอนกรีต ของทัง้ รู ป ทรงกระบอกกับ ทรงลู ก บาศก์
(3) ที่หน่ วยน้ าหนัก ออกแบบ 1400-1800 กิโ ลกรัม ต่ อ มาตรฐาน เนื่องจากเป็ นตัวชีว้ ดั สาคัญถึงคุณสมบัตกิ ารใช้
ลูกบาศก์เมตร เมื่อใช้อตั ราส่วนน้ าต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ งานต่างๆ และ กาลังของคอนกรีตประเภทฟองโฟมนี้
0.45 จะมีกาลังรับแรงอัดสูงกว่า ที่ใช้อตั ราส่วนน้ าต่ อ
ปูนซีเมนต์เท่ากับ 0.55 ซึ่งมีพฤติกรรมคล้ายคอนกรีต กิ ตติ กรรมประกำศ
ปกติ แต่ทห่ี น่วยน้าหนักออกแบบ 800-1200 กิโลกรัมต่อ ผูเ้ ขียนขอขอบคุณบริษัท แอลซีเอ็ม (ประเทศไทย)
ลูกบาศก์เมตร ทีอ่ ตั ราส่วนน้ าต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 0.45 จากัด ทีไ่ ด้อนุเคราะห์เครื่องมือและน้ายาโฟมสาหรับผลิต
คอนกรีตจะมีกาลังรับแรงอัดต่ ากว่า ซึง่ น่ าจะเป็ นผลจาก คอนกรี ต มวลเบา มหาวิ ท ยาลั ย อุ บ ลราชธานี และ
การที่มีน้ าระเหยออกจากคอนกรีต เนื่อ งจากวิธีการบ่ ม สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่ง่ชาติ (วช.) สาหรับทุน
แห้งในอากาศ สนับสนุนงานวิจยั
(4) ค่าปริมาณการดูดกลืนน้ าพบอยู่ในช่วง 140 -285.8
กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และ ค่าร้อยละของการดูดกลืน เอกสำรอ้ำงอิ ง
น้าพบอยู่ในช่วงร้อยละ 8.3-49.3 [1] Narayanan N. and Ramamurthy K. 2000.
(5) คอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าทีม่ หี น่ วยน้ าหนักน้อย Structure and properties of aerated concrete: a
มีปริมาณฟองอากาศมากและมีค่าปริมาณการดูดการกลืน review. Cement & Concrete Composites. 22:
น้ าสูง คอนกรีตทีห่ น่ วยน้ าหนักเดียวกันและใช้อตั ราส่วน 321-329.
น้ า ต่ อ ปู น ซี เ มนต์ เ ท่ า กั น เมื่ อ ใช้ อ ั ต ราส่ ว นทรายต่ อ [2] Fouad H. Fouad. 2006. Cellular concrete. Joseph
ปูนซีเมนต์มาก มีแนวโน้มทีใ่ ห้ค่าปริมาณการดูดกลืนน้ า F.Lamond and James H.Pielert (eds). in:
น้อยกว่า significance of tests and properties of concrete
(6) เมื่อพิจารณาค่าอัตราส่วนน้ าต่อปูนซีเมนต์ พบว่า ที่ and concrete- making material, p561-569. ASTM
หน่ วยน้ าหนักเดียวกัน ใช้อตั ราส่วนทรายต่อปูนซีเมนต์ International, West Conshohocken, PA.
เท่ากัน สูตรที่ใช้อตั ราส่วนน้ าต่อปูนซีเมนต์น้อยจะให้ค่า [3] Nambiar E.K.K. and Ramamurthy K. 2007. Air
ปริมาณการดูดกลืนน้าน้อยด้วย void characterisation of foam concrete. Cement
(7) สรุปผลการศึกษาเทียบกับ มาตรฐานคอนกรีตบล็อก and Concrete Composites. 37: 221-230.
มวลเบาแบบเติมฟองอากาศ พบว่าสูตรที่หน่ วยน้ าหนัก [4] Shetty M.S. 2000. Concrete Technology: Theory
ออกแบบ 1200, 1400, 1600 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร and Practice. S.CHAND & COMPANY. Ram
มีค่าเทียบเคียงได้กบั มอก. 2601-2556 ชนิด C12, C14 Nagar, New Delhi.
และ C16 ตามลาดับ
102 บทความวิจัย วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2558

[5] Gambhir M L. 2013. Concrete Technology: คอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า . การประชุมวิชาการ


Theory and Practice, 5ed. McGraw Hill Education คอนกรีตประจาปี ครัง้ ที่ 9. 21-23 ตุลาคม 2556 โรง
(India) Private Limited, New Delhi. แรมท็อปแลนด์ จังหวัดพิษณุโลก.
[6] Kosmatka Steven H., Kerkhoff B., and Panarese [15] มอก. 58-2533. มาตรฐานคอนกรีต บล็อกไม่ ร ับ
William C. 2003. Design and control of concrete น้าหนัก. สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
mixtures, 14ed. Portland Cement Association. กระทรวงอุตสาหกรรม. 2533.
[7] Sengupta J. 1992. Development and application [16] มอก. 57-2533. มาตรฐานคอนกรีตบล็อกรับน้ าหนัก.
of light weight aerated concrete blocks from Fly สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กระทรวง
ash. Indian Concr J. 66:383-7. อุตสาหกรรม. 2533.
[8] Durack JM. and Weiqing L. 1998. The properties [17] Neville Adam M. 2003. Properties of Concrete.
of foamed air cured fly ash based concrete for Fourth Edition. Pearson Prentice Hall. England.
masonry production. Proceedings of the Fifth [18] Kunhanandan Nambiar E.K. and Ramamurthy.
Australasian Masonry Conference, Gladstone, K. 2006. Influence of filler type on the
The Queensland, Australia. p.129-38. properties of foam concrete. Cement &
[9] Ramamurthy K. and Narayanan N. 1999. Concrete Composites. 28 475–480.
Influence of fly ash on the properties of aerated [19] Falade F., Ikponmwosa E. and Fapohunda C.
concrete. Proceedings of the International 2013. A Study on the compressive and tensile
Conference on Waste as Secondary Sources of strength of foamed concrete containing
Building Materials. New Delhi: p. 276-82. pulverized bone as a partial replacement of
[10] มอก. 1505-2541. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม cement. Pak. J. Engg. & Appl. Sci. Vol. 13, p.
ชิน้ ส่วนคอนกรีตมวลเบาแบบมีฟ องอากาศ-อบไอน้ า. 82-93.
ส านั ก งานมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม . [20] Kearsley, E.P. and Wainwright, P.J. 2001.
กระทรวงอุตสาหกรรม. 2541. Porosity and permeability of foamed concrete.
[11] มอก. 2601-2556. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม Cement and Concrete Research. 31: 805-812.
ชิน้ ส่วนคอนกรีต บล็อกมวลเบาแบบเติมฟองอากาศ. [21] ชัชวาล เศรษฐบุตร. 2540. คอนกรีตเทคโนโลยี.
ส านั ก งานมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม . คอนกรีตผสมเสร็จซีแพค พิมพ์ครัง้ ที่ 4.
กระทรวงอุตสาหกรรม. 2556.
[12] Rodriguez A., Pedraza M., Luciano J. and
Constantiner D. 1999. Mixture design
optimisation of Cellular concrete. Ravindra K Dhir
and Neil A Henderson. (eds). in: specialist
techniques and materials for concrete
construction. Thomas Telford Publishing. London.
[13] อิทธิเชษฐ์ อุตะธีรวิชญ์ และธนภร ทวีวุฒิ. 2553.
คุณสมบัติการใช้งานคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า .
การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครัง้ ที่ 15
12-14 พฤษภาคม 2553 ณ โรงแรมสุ นี ย์ แกรนด์
แอนด์ คอนเวนชัน่ เซ็นเตอร์ จ.อุบลราชธานี.
[14] ธนภร ทวีวุฒ,ิ อิทธิพงศ์ พันธ์นิกุล, เกรียงศักดิ ์ แก้ว
กุลชัย และสถาพร โภคา. 2556. กาลังรับแรงอัดของ

You might also like