You are on page 1of 34

รายงานผลการสํารวจสภาพชั้นดิน

โครงการคอนโดมิเนียม ร่วมฤดี ซอย 2


แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

เสนอ

บริษทั นายณ์ แอนด์ ฟัลครัม จํ ากัด

โครงการที ่ 18240 กรกฎาคม 2561

จัดทําโดย
บริษทั เจ แอล พี เอ็นจิ เนียริง่ เซอร์วิส จํ ากัด
JLP ENGINEERING SERVICES CO., LTD.
เลขที่ 34/671 หมู่บ้านยิ่งรวย (ซอย 5)
ถนนเลียบคลองประปา บางตลาด ปากเกร็ด นนทบุรี 11120
โทรศัพท์ (Tel.) 02-575-2740 โทรสาร (Fax) 02-575-2741
www.jlp.co.th E-mail: jlp@jlp.co.th
 

สารบัญ
1. บทนํา 1

2. มาตรฐาน และวิธีการสํารวจสภาพชั้นดิน 1
2.1  การเจาะสํารวจดิน 1
2.2 การเก็บตัวอย่างดิน 1
2.3  การทดสอบในห้ องปฏิบัติการ 2

3.  ผลการสํารวจ และการจัดเรียงตัวของชั้นดิน 4


3.1  ผลการทดสอบในสนาม และในห้ องปฏิบัติการ 4
3.2  ระดับนํา้ ใต้ ดิน 4
3.3  การจัดเรียงตัวของชั้นดิน 4

4.  การคํานวณค่าการรับนํ้าหนักของฐานรากเสาเข็ม 5

5.  สรุปผลการสํารวจ 6

รูป
  ตาราง
ภาคผนวก
รายงานผลการสํารวจสภาพชั้นดิน
โครงการคอนโดมิเนียม ร่วมฤดี ซอย 2 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

1. บทนํา
รายงานฉบับนี้จัดทําขึ้นเพื่อรายงานผลการสํารวจสภาพชั้นดิน โครงการคอนโดมิเนียม ร่วมฤดี ซอย 2
แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร (รูปที่ 1.1) ตามที่บริษัท นายณ์ แอนด์ ฟั ลครัม จํากัด ได้
มอบหมายให้ บริษัท เจ แอล พี เอ็นจิเนียริ่ง เซอร์วิส จํากัด (JLP) ดําเนินการเจาะสํารวจ

งานสํารวจในสนามได้ ดาํ เนินการเมื่อวันที่ 21-24 มิถุนายน 2561 ประกอบด้ วยงานเจาะสํารวจดิน


จํานวน 3 หลุ ม ความลึ ก หลุ ม เจาะประมาณ 41.0 เมตร เก็บ ตั วอย่ างดิ น พร้ อมทดสอบคุ ณ สมบั ติ
พื้นฐานเพื่อจําแนกชนิดดินและคุณสมบัติทางวิศวกรรมของชั้นดิน ตามตําแหน่งที่ผ้ ูว่าจ้ างกําหนดให้ ใน
สนาม แผนที่ตาํ แหน่งหลุมเจาะสํารวจพร้ อมรูปถ่ายแสดงสภาพพื้นที่ใกล้ เคียงได้ แสดงไว้ ในรูปที่ 1.2
 
วัตถุประสงค์ของการเจาะสํารวจดินเพื่อแสดงการจัดเรียงตัวของชั้นดิน ศึกษาคุณสมบัติทางวิศวกรรม
ต่ างๆ ของชั้ น ดิ น และคํานวณกําลั งรั บ นํ้าหนั ก ของเสาเข็ม ให้ถู ก ต้ อ งตามหลั ก วิศ วกรรม มี ค วาม
เหมาะสม ปลอดภัย และประหยัด 

2. มาตรฐาน และวิธีการสํารวจสภาพชั้นดิน
การเจาะสํารวจ เก็บตัวอย่ างดินพร้ อมการทดสอบในสนามและในห้ องปฏิบัติการ ได้ ดาํ เนินการตาม
มาตรฐาน ASTM หรือมาตรฐานสากลอื่นที่เทียบเท่าดังแสดงในตารางที่ 2.1 โดยมีวิธกี ารสํารวจสภาพ
ชั้นดินดังนี้ 
 
2.1 การเจาะสํารวจดิน
ในการเจาะสํารวจได้ ใช้ เครื่องเจาะแบบ Percussion ซึ่งหัวเจาะมีขนาด 10 ซม. (4 นิ้ว) และเพื่อป้ องกัน
การพั งของหลุมเจาะได้ ใส่ท่อกรุกันดินพั ง (Steel Casing) ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 10 ซม. ในชั้นดิน
อ่อนหรือในช่วงความลึกที่จาํ เป็ นขณะเจาะสํารวจ โดยปลายท่อกรุกนั ดินพังจะอยู่เหนือตําแหน่งชั้นดินที่
ต้ องการเก็บตัวอย่ างประมาณ 50-100 ซม. สําหรับกระบวนการเจาะที่ใช้ เป็ นการเจาะแบบฉี ดล้ าง
(Wash Boring) โดยใช้ หัวกระทุ้งดินพร้ อมสูบฉีดนํา้ โคลนผ่านปลายหัวกระทุ้งตลอดเวลาเพื่อไล่เศษดิน
ขึ้นจากหลุม

2.2 การเก็บตัวอย่างดิน
การเก็บตัวอย่ างดินแบบคงสภาพในชั้นดินอ่อนและดินแข็งปานกลาง ใช้ กระบอกบาง (Shelby Tube
Sampler) ซึ่งเป็ นกระบอกเหล็กขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 7.1 ซม. ยาว 65 ซม. และหนาประมาณ 1.5
มม. ใช้ เครื่องไฮดรอลิคกดกระบอกบางเก็บตัวอย่างทุกระยะ 1.5 เมตร จากนั้นวัดระยะตัวอย่างดินที่ได้
เคลือบปิ ดหัวท้ ายกระบอกเพื่อป้ องกันการระเหยของความชื้น ติดฉลากที่บันทึกข้ อมูลดิน

1
JLP Engineering Services Co., Ltd.
34/671 Moo Baan Ying Ruay (Soi 5), Liab Klong Prapa Road, Bang Talad, Pakkred, Nonthaburi 11120
Phone 02 575 2740 Fax 02 575 2741
www.jlp.co.th
รายงานผลการสํารวจสภาพชั้นดิน
โครงการคอนโดมิเนียม ร่วมฤดี ซอย 2 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

การเก็บ ตั ว อย่ า งดิ น แข็งและทราย ใช้ ก ระบอกผ่ า (Split Spoon Sampler) ขนาดเส้ น ผ่ าศู น ย์ ก ลาง
ภายนอกและภายในเท่ากับ 5.0 ซม. และ 3.5 ซม. ตามลําดับ และยาว 69 ซม. เก็บตัวอย่างทุกระยะ 
1.5 เมตร ก่ อ นเก็บ ตั วอย่ างจะทําความสะอาดก้ น หลุ ม เจาะก่ อ น จากนั้ น ใช้ ลู ก ตุ้ ม เหล็กหนั ก 63.5
กิโลกรัม ยกสูง 76.2 ซม. ตอกลงบนก้ านเจาะที่มีท่อนําตอกยาวประมาณ 1 เมตร นับจํานวนครั้งที่ตอก
ให้ กระบอกผ่ าจมลง 15 ซม. จํานวน 3 ช่ วง จํานวนการตอก 2 ช่ วงสุดท้ ายรวมกันเป็ นค่ า Standard
Penetration Number (SPT-N) การทดสอบวิ ธี น้ ี เรี ย กว่ า การตอกทดลอง (Standard Penetration
Test-SPT) ซึ่งสามารถนําไปประมาณค่ามุมเสียดทานของทราย หรือกําลังรับแรงเฉือนของดินเหนียวได้
ดังแสดงในตารางที่ 2.2 ตัวอย่ างดินในกระบอกผ่าจะใส่ในถุงพลาสติกปิ ดมัดป้ องกันความชื้นระเหย
และติดฉลากที่บันทึกข้ อมูลดิน ตัวอย่างดินทั้งหมดจะเก็บรักษาและขนย้ ายด้ วยความระมัดระวัง เพื่อ
ทดสอบคุณสมบัติในห้ องปฏิบัติการต่อไป 
 
2.3 การทดสอบในห้องปฏิบตั ิการ
ตัวอย่างดินทั้งหมดจะนํามาทดสอบหาปริมาณนํา้ ในมวลดินตามธรรมชาติ และตัวแทนตัวอย่างของชั้น
ดิน (Representative Sample) จะถูกนํามาทดสอบหาขีดพิกัดแอตเตอร์เบอร์ก และขนาดเม็ดดิน เพื่อ
ใช้ จาํ แนกชนิดดินตามมาตรฐาน Unified Soil Classification System (USCS) ดังแสดงในตารางที่ 2.3
นอกจากนี้ตัวอย่ างดินเหนียวคงสภาพจะถูกนํามาทดสอบหาหน่ วยนํ้าหนักของมวลดิน และกําลังรับ
แรงอัดแกนเดียว โดยมีรายละเอียดดังนี้

2.3.1 ปริมาณนํ้าในมวลดินตามธรรมชาติ
ปริมาณนํา้ ในมวลดินหาได้ จากนํา้ หนักนํา้ ในดินต่อนํา้ หนักดินแห้ งเป็ นร้ อยละ ซึ่งปริมาณนํา้ ในมวลดิน
ตามธรรมชาติน้ ี จะนํามาพิ จารณาเทียบกับขีดพิ กัดแอตเตอร์ เบอร์กทําให้ ทราบสถานะของดินตาม
ธรรมชาติ

2.3.2 ขีดพิกดั แอตเตอร์เบอร์ก


ปริมาณนํา้ ในมวลดินเป็ นร้ อยละ ที่จุดเปลี่ยนจากสถานะของเหลว (Liquid State) เป็ นสถานะพลาสติก
(Plastic State) และจากสถานะพลาสติกเป็ นสถานะกึ่งแข็ง (Semisolid State) เรียกว่า ขีดพิกัดเหลว
(Liquid Limit) และขีดพิ กัดพลาสติก (Plastic Limit) ตามลําดับ ซึ่งขีดพิ กัดนี้รวมเรียกว่ า ขีดพิ กัด
แอตเตอร์เบอร์ก โดยขีดพิกดั เหลวเป็ นปริมาณนํา้ ในมวลดินที่ทาํ ให้ ร่องดินกว้ าง 0.5 นิ้ว เคลื่อนเข้ ามา
ชิดกันที่จาํ นวนการเคาะ Casagrande’s Liquid Device 25 ครั้ง สําหรับขีดพิกดั พลาสติกเป็ นปริมาณนํา้
ในมวลดินที่ป้ันให้ ได้ ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 1/8 นิ้ว แล้ ว ดินเริ่มแตกร้ าว

2.3.3 ขนาดเม็ดดิน
ขนาดของเม็ดดินหาโดยการร่อนดินแห้ งผ่านตะแกรง (Sieving) เบอร์ต่าง ๆ บันทึกนํา้ หนักดินที่ค้าง
ในแต่ละตะแกรง เพื่อคํานวณหาร้ อยละของนํา้ หนักดินรวมที่ผ่านตะแกรง เม็ดดินนั้นมีขนาดแตกต่าง
กันตั้งแต่ขนาดใหญ่กว่า 300 มิลลิเมตร ไปจนถึงขนาดเล็กกว่า 0.002 มิลลิเมตร สามารถจําแนกชนิด
ของดินตามขนาดของเม็ดดินได้ ดังนี้

2
JLP Engineering Services Co., Ltd.
34/671 Moo Baan Ying Ruay (Soi 5), Liab Klong Prapa Road, Bang Talad, Pakkred, Nonthaburi 11120
Phone 02 575 2740 Fax 02 575 2741
www.jlp.co.th
รายงานผลการสํารวจสภาพชั้นดิน
โครงการคอนโดมิเนียม ร่วมฤดี ซอย 2 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

 กรวดมนใหญ่ (Boulder) ขนาดใหญ่กว่า 300 มิลลิเมตร


 กรวดมนเล็ก (Cobble) ขนาด 75 มิลลิเมตร - 300 มิลลิเมตร
 กรวด (Gravel) ขนาด 4.75 มิลลิเมตร - 75 มิลลิเมตร
 ทราย (Sand) ขนาด 0.074 มิลลิเมตร – 4.75 มิลลิเมตร
 ทรายแป้ ง (Silt) ขนาด 0.002 มิลลิเมตร - 0.074 มิลลิเมตร
 ดินเหนียว (Clay) ขนาดเล็กกว่า 0.002 มิลลิเมตร
 
2.3.4 หน่วยนํ้าหนักของมวลดิน
เป็ นคุณสมบัติพ้ ืนฐานของดิน คือนํา้ หนักของมวลดินต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร หาได้ โดยวิธชี ่ังนํา้ หนักและ
วัดขนาดของตัวอย่าง ในกรณีท่ตี ัวอย่างไม่เป็ นแท่งอาจไม่สามารถทดสอบได้  

2.3.5 กําลังรับแรงอัดแกนเดียว
การหาความต้ านทานแรงเฉือนโดยวิธที ดสอบแรงอัดแกนเดียว เป็ นวิธที ดสอบแรงอัด โดยไม่มีความดัน
ที่กระทําต่ อผิวมวลดิน ด้ านข้ าง (Confining Pressure) ดังนั้น ความต้ านทานแรงเฉื อนของมวลดินจะ
เกิดขึ้นเนื่องจากหน่วยแรงในแกนดิ่ง (Axial Stress) เท่านั้น

วิธีการทดสอบตัวอย่ างดินโดยไม่ มีความดันกระทําต่ อผิวมวลดินด้ านข้ างดังกล่ าว ทําให้ สภาพของดิน


ตัวอย่ างไม่เหมือนกับสภาพความเป็ นจริงตามธรรมชาติของดิน ดังนั้น ผลการทดสอบความต้ านทาน
แรงเฉือนของมวลดินจึงเป็ นเพียงค่าประมาณเท่านั้น อย่างไรก็ตาม วิธที ดสอบแรงอัดแกนเดียวก็เป็ นวิธี
ที่นิยมใช้ กันอย่างแพร่ หลาย โดยเฉพาะตัวอย่างดินจําพวกดินเหนียว เพราะสามารถกระทําได้ รวดเร็ว
และประหยัด ค่าความต้ านทานแรงเฉือนดินตัวอย่ างจึงขึ้นอยู่กับสถานภาพและปริมาณนํา้ ในมวลดิน
หน่วยแรงเหนี่ยวนําของมวลดิน (Cohesion) และค่าแรงเฉือนของดิน (Undrained Shear Strength) หา
ความต้ านทานได้ จากการทดสอบแรงอัดแกนเดียว โดยมีค่าประมาณครึ่งหนึ่งของหน่ วยแรงอัดแกน
เดียว (Unconfined Compressive Strength) ในดินสภาพอิ่มตัวและไม่ มีนํ้าไหลออกจากมวลดินขณะ
เฉือนดิน มุมเสียดทานภายในมวลดินจะมีค่าเท่ากับศูนย์ ดังนั้น
qu
c = Suc =
2
เมื่อ c = หน่วยแรงเหนี่ยวนํา (Cohesion)
Suc = ค่าแรงเฉือนของดินที่หาจาก Unconfined Compression Test
qu = หน่วยแรงอัดแกนเดียว (Unconfined Compressive Strength)
หน่วยแรงเหนี่ยวนําที่ได้ น้ ีจะมีค่าเท่ากับความต้ านทานแรงเฉือนในสภาพที่ไม่มีนาํ้ ไหลออกจากมวล
ดิ น (Undrained Shear Strength, Suc) ซึ่ งมี ความเหมาะสมในการนํามาใช้ ในกรณี ม วลดิ น บรรทุ ก
นํ้า หนั ก ในช่ ว งระยะเวลาสั้ น (Short Term) ของโครงสร้ า งขนาดเล็ก บนชั้ น ดิ น เหนี ย ว ซึ่ ง จะถู ก
พิจารณาว่าเป็ นช่วงเวลาที่ดินมีความวิกฤตมากที่สดุ

3
JLP Engineering Services Co., Ltd.
34/671 Moo Baan Ying Ruay (Soi 5), Liab Klong Prapa Road, Bang Talad, Pakkred, Nonthaburi 11120
Phone 02 575 2740 Fax 02 575 2741
www.jlp.co.th
รายงานผลการสํารวจสภาพชั้นดิน
โครงการคอนโดมิเนียม ร่วมฤดี ซอย 2 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

3. ผลการสํารวจ และการจัดเรียงตัวของชั้นดิน
3.1 ผลการทดสอบในสนาม และในห้องปฏิบตั ิการ
ผลการทดสอบดินในสนามและในห้ องปฏิบัติการต่างๆได้ นาํ มาเปรียบเทียบกับข้ อมูลเบื้องต้ นจากการ
สังเกตด้ วยสายตาในสนาม ตรวจสอบความสัมพันธ์ของค่าพารามิเตอร์ต่างๆ เพื่อให้ ได้ ผลการสํารวจที่
ถูกต้ องและมีความน่าเชื่อถือ ก่อนนํามารวบรวมและสรุปในตารางดังแสดงไว้ ในภาคผนวก ก Summary
of Test Results นอกจากนี้ข้อมูลลักษณะการเรียงลําดับชั้นดิน ลักษณะทางกายภาพของดิน สี ระดับนํา้
ใต้ ดินที่ได้ จากการเจาะสํารวจในสนาม และผลการทดสอบต่างๆได้ แสดงไว้ ในภาคผนวก ข Borehole
Logs and Index Properties 
3.2 ระดับนํ้าใต้ดิน
ระดับนํา้ ใต้ ดินอาจเปลี่ยนแปลงได้ ตามฤดูกาล ปริมาณนํา้ ฝน ค่าสัมประสิทธิ์การซึมผ่านของนํา้ ในดิน
อัตราการระเหย ระดับนํา้ ในแหล่งนํา้ ใกล้ เคียง และการสูบนํา้ บาดาล สําหรับในโครงการนี้ พบระดับนํา้
นํา้ ใต้ ดินในหลุมเจาะภายหลังการเจาะสํารวจ ที่ความลึกประมาณ 0.3-0.8 เมตร จากระดับปากหลุม
เจาะสํารวจ
3.3 การจัดเรียงตัวของชั้นดิน 
รูปตัดขวางชั้นดินตามแนวหลุมเจาะ BH-1 ถึง BH-3 ดังแสดงในรูปที่ 3.1 โดยชั้นดินในโครงการมี
การจัดเรียงตัวจากบนลงล่าง ดังนี้

ความหนา ชั้นดิน ลักษณะดิน


ของชั้นดิน
(เมตร)
2.5 ดินถม ดินถม
12.0-13.5 ดินเหนียวอ่อนมากถึงแข็งปานกลาง ดินเหนียว สีเทา มีค่าความเป็ นพลาสติกซิต้ สี งู  
25.0-26.5 ดินเหนียวแข็งถึงแข็งมากที่สดุ ดินเหนียว สีเทาและสีนาํ้ ตาลปนเทาถึงนํา้ ตาล
มี ค่าความเป็ นพลาสติ กซิ ต้ ี สูง พบที่ค วามลึ ก
14.5-16.0 เมตร จากระดับปากหลุมเจาะจน
สิ้นสุดความลึกของหลุมเจาะที่ 41.0 เมตร

4
JLP Engineering Services Co., Ltd.
34/671 Moo Baan Ying Ruay (Soi 5), Liab Klong Prapa Road, Bang Talad, Pakkred, Nonthaburi 11120
Phone 02 575 2740 Fax 02 575 2741
www.jlp.co.th
รายงานผลการสํารวจสภาพชั้นดิน
โครงการคอนโดมิเนียม ร่วมฤดี ซอย 2 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

4. การคํานวณค่าการรับนํ้าหนักของฐานรากเสาเข็ม
จากการสํารวจพบชั้นดินแข็งอยู่ท่ีระดับลึกจากผิวดินค่อนข้ างมาก จึงพิจารณาเลือกใช้ ฐานรากเสาเข็ม
เพื่ อช่ วยรับและถ่ายนํ้าหนักของโครงสร้ างลงไปยังดินชั้นดังกล่ าว ซึ่งความสามารถในการรับนํ้าหนัก
บรรทุกของเสาเข็ม คํานวณโดยใช้ สตู รดังนี้ คือ

Qu =  fs x PL + qe x Ae  

เมื่อ Qu = นํา้ หนักบรรทุกสูงสุดของเสาเข็ม


fs = แรงเสียดทานสูงสุดของเสาเข็ม
P = เส้ นรอบรูปของเสาเข็ม
L = Length increment
qe = แรงต้ านทานสูงสุดที่ปลายเข็ม
Ae = พื้นที่หน้ าตัดปลายเสาเข็ม

หน่วยแรงเสียดทานสูงสุดที่ผวิ เสาเข็มหาได้ ดังต่อไปนี้


สํ าหรับเสาเข็มในดินทราย

fs = Ks (po)av tan 

สําหรับเสาเข็มในดินเหนียว
f s =  . Cu

เมื่อ Ks = ค่าสัมประสิทธิ์ของหน่วยแรงดันของดิน
(po)av= ค่าเฉลี่ยของ Effective Stress ต่อเสาเข็ม
 = มุมของแรงเสียดทานระหว่างดินและเสาเข็ม
 = Adhesion Factor 
Cu = ค่าแรงเฉือนแบบไม่ระบายนํา้
หน่วยแรงต้ านทานสูงสุดที่ปลายเข็มหาได้ ดังต่อไปนี้
สํ าหรับปลายเสาเข็มในดินทราย
qe = po . Nq
สํ าหรับปลายเสาเข็มในดินเหนียว
qe = Nc . Cu
เมื่อ po = Effective Stress ที่ระดับปลายเข็ม
Nq, Nc = Bearing Capacity Factors

5
JLP Engineering Services Co., Ltd.
34/671 Moo Baan Ying Ruay (Soi 5), Liab Klong Prapa Road, Bang Talad, Pakkred, Nonthaburi 11120
Phone 02 575 2740 Fax 02 575 2741
www.jlp.co.th
รายงานผลการสํารวจสภาพชั้นดิน
โครงการคอนโดมิเนียม ร่วมฤดี ซอย 2 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

ผลการคํานวณค่ าการรั บ นํ้าหนั ก บรรทุ กปลอดภั ย (Allowable Pile Load) ของเสาเข็ม เจาะขนาด
ต่างๆบริเวณหลุมเจาะ BH-1 ถึง BH-3 ได้ สรุปไว้ ในตารางที่ 4.1 ถึงตารางที่ 4.3 ส่วนกราฟแสดง
ความสามารถในการรับนํา้ หนักสูงสุดของเสาเข็มเจาะในบริเวณหลุมเจาะ BH-1 ถึง BH-3 แสดงไว้
ในรูปที่ 4.1 ถึงรูปที่ 4.3

5. สรุปผลการสํารวจ

ก. สภาพชั้นดินในบริเวณพื้นที่โครงการนี้ สามารถแบ่งย่ อยออกเป็น 3 ชั้นใหญ่ ๆ เรียงจากบนลง


ล่าง ดังนี้

(1) ชัน้ ดินถม ความหนา 2.5 เมตร


(2) ชัน้ ดินเหนียวอ่อนมากถึงแข็งปานกลาง ความหนา 12.0-13.5 เมตร
(3) ชัน้ ดินเหนียวแข็งถึงแข็งมากทีส่ ดุ พบที่ความลึก 14.5-16.0 เมตร จากระดับปากหลุมเจาะ
จนสิ้นสุดความลึกของหลุมเจาะที่ 41.0 เมตร
 
ข. พบระดับนํา้ ใต้ ดินในหลุมเจาะที่ความลึกประมาณ 0.3-0.8 เมตร จากระดับปากหลุมเจาะ
 
ค. การคํานวณค่าการรับนํา้ หนักปลอดภัยของเสาเข็มนั้น ได้ คาํ นวณจากสูตรที่ยอมรับกันโดยทั่วไป
โดยใช้ ค่าอัตราส่วนความปลอดภัย (Factor of Safety-F.S.) เท่ากับ 2.5 ซึ่งผู้ออกแบบฐานราก
สามารถพิจารณาค่าการรับนํา้ หนักดังกล่าวได้ ตามความเหมาะสม

ง. ค่าการรับนํา้ หนักปลอดภัยของเสาเข็มที่แสดงไว้ ในรายงานฉบับนี้ เป็ นค่าที่ได้ โดยการคํานวณจาก


คุณสมบัติของดินที่ได้ ทาํ การเจาะสํารวจ เก็บตัวอย่าง แล้ วนํามาทดสอบในห้ องปฏิบัติการเท่านั้น
จึงควรมี การทดสอบการรั บ นํ้าหนั กของฐานรากในบริ เวณพื้ นที่โครงการเพื่ อพิ สูจน์ค่ าการรั บ
นํา้ หนักปลอดภัยที่แท้ จริง

6
JLP Engineering Services Co., Ltd.
34/671 Moo Baan Ying Ruay (Soi 5), Liab Klong Prapa Road, Bang Talad, Pakkred, Nonthaburi 11120
Phone 02 575 2740 Fax 02 575 2741
www.jlp.co.th
รายงานผลการสํารวจสภาพชั้นดิน
โครงการคอนโดมิเนียม ร่วมฤดี ซอย 2 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

ขอรับรองว่ารายงานการสํารวจสภาพชั้นดิน โครงการคอนโดมิเนียม ร่วมฤดี ซอย 2 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน


กรุงเทพมหานคร จํานวน 3 หลุม ความลึกหลุมประมาณ 41.0 เมตร ได้ ดาํ เนินการถูกต้ องตามหลักวิศวกรรม

(นายสฤษฎ์พงษ์ เจริญสุพงษ์) 

7
JLP Engineering Services Co., Ltd.
34/671 Moo Baan Ying Ruay (Soi 5), Liab Klong Prapa Road, Bang Talad, Pakkred, Nonthaburi 11120
Phone 02 575 2740 Fax 02 575 2741
www.jlp.co.th
รูป
1.1 แผนทีต่ งั้ โครงการ
1.2 แผนผังตําแหน่งหลุมเจาะสํารวจและรูปถ่าย
3.1 การจัดเรียงตัวของชัน้ ดินในโครงการ
4.1 กราฟแสดงความสามารถในการรับนํา้ หนักสูงสุดของเสาเข็มเจาะ (BH-1)
4.2 กราฟแสดงความสามารถในการรับนํา้ หนักสูงสุดของเสาเข็มเจาะ (BH-2)
4.3 กราฟแสดงความสามารถในการรับนํา้ หนักสูงสุดของเสาเข็มเจาะ (BH-3)
ที่ต้งั โครงการ

รูปที่ 1.1 แผนที่ต้งั โครงการ


BH-2
BH-1

BH-1
BH-3

BH-2

BH-3

รูปที่ 1.2 แผนผังตําแหน่งหลุมเจาะสํารวจและรูปถ่าย


Ultimate Unit End Resistance (t/m2 of pile tip area) 

0 100 200 300


0.0

Skin Resistance

End Resistance

10.0
Depth (m)

20.0

ระดับปลายเสาเข็มเจาะแห ้งทีค
่ ํานวณ

30.0

ระดับปลายเสาเข็มเจาะเปี ยกทีค
่ ํานวณ

40.0
0 100 200 300

Cumulative Ultimate Unit Skin Resistance (t/m of pile perimeter)

รูปที่ 4.1 กราฟแสดงความสามารถในการรับนํา้ หนักสูงสุดของเสาเข็มเจาะ (BH-1)


Ultimate Unit End Resistance (t/m2 of pile tip area) 

0 100 200 300


0.0

Skin Resistance

End Resistance

10.0
Depth (m)

20.0

ระดับปลายเสาเข็มเจาะแห ้งทีค
่ ํานวณ

30.0

ระดับปลายเสาเข็มเจาะเปี ยกทีค
่ ํานวณ

40.0
0 100 200 300

Cumulative Ultimate Unit Skin Resistance (t/m of pile perimeter)

รูปที่ 4.2 กราฟแสดงความสามารถในการรับนํา้ หนักสูงสุดของเสาเข็มเจาะ (BH-2)


Ultimate Unit End Resistance (t/m2 of pile tip area) 

0 100 200 300


0.0

Skin Resistance

End Resistance

10.0
Depth (m)

20.0

ระดับปลายเสาเข็มเจาะแห ้งทีค
่ ํานวณ

30.0

ระดับปลายเสาเข็มเจาะเปี ยกทีค
่ ํานวณ

40.0
0 100 200 300

Cumulative Ultimate Unit Skin Resistance (t/m of pile perimeter)

รูปที่ 4.3 กราฟแสดงความสามารถในการรับนํา้ หนักสูงสุดของเสาเข็มเจาะ (BH-3)


ตาราง
2.1 มาตรฐานการทดสอบในสนาม และในห้องปฏิบตั ิการ
2.2 ความสัมพันธ์ระหว่างค่า SPT-N กับ  ของทราย และ Suc ของดินเหนียว
2.3 การจําแนกดินตามมาตรฐาน USCS
4.1 ผลการคํานวณค่าการรับนํา้ หนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะ (BH-1)
4.2 ผลการคํานวณค่าการรับนํา้ หนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะ (BH-2)
4.3 ผลการคํานวณค่าการรับนํา้ หนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะ (BH-3)
ตารางที่ 2.1
มาตรฐานการทดสอบในสนาม และในหองปฏิบัติการ

การทดสอบ มาตรฐานการทดสอบ
การทดสอบในสนาม
การเก็บตัวอยางดินดวยกระบอกบาง ASTM D 1587
(Undisturbed/Thin-Walled Shelby Tube Sampling)
การทดสอบ SPT-N และการเก็บตัวอยางดินดวยกระบอกผา ASTM D 1586
(Standard Penetration Test and Split-Barrel Sampling)
การเก็บและขนยายตัวอยางดิน ASTM D 4220
การวัดระดับน้ําในหลุมเจาะสํารวจ ASTM D 4750

การทดสอบในหองปฏิบัติการ
การทดสอบหาปริมาณน้ําในมวลดินตามธรรมชาติ ASTM D 2216
การทดสอบหาขีดพิกัดแอตเตอรเบอรก ASTM D 4318
การทดสอบหาขนาดเม็ดดิน (ชนิดรอนผานตะแกรง) ASTM D 422
การทดสอบหาหนวยน้ําหนักของมวลดิน Weight & Dimension Measurement
การทดสอบแรงอัดแกนเดียว ASTM D 2166
ตารางที่ 2.2
ความสัมพันธระหวางคา SPT-N กับ φ ของทราย และ Suc ของดินเหนียว

ก. ดินทราย
SPT-N Relative Density Angle of Internal Friction
(Blows/Foot) (φ, degree)

0-4 Very Loose < 28°


4 - 10 Loose 28° - 30°
10 - 30 Medium Dense 30° - 36°
30 - 50 Dense 36° - 41°
> 50 Very Dense > 41°

ข. ดินเหนียว
SPT-N Consistency Undrained Shear Strength
(Blows/Foot) (Suc, kN/m2)

<2 Very Soft < 15


2-4 Soft 15 - 25
4-8 Medium 25 - 50
8 - 15 Stiff 50 - 100
15 - 30 Very Stiff 100 - 200
> 30 Hard > 200
ที่มา: Peck, R.B., Hansen, W.E., and Thornburn, T.H. (1974), Foundation Engineering, 2nd ed.,
John Wiley & Sons, New York, USA.

ตารางที่ 2.3
การจําแนกดินตามมาตรฐาน USCS
Group
Major Divisions Symbols Typical Names Laboratory Classification Criteria

Well graded gravels, gravel


Clean gravels

GW Cu = D60 / D10 > 4 and 1 < Cc = (D30)2 / (D10 x D60) < 3


fraction is larger than No. 4

Depending on % of fines (fraction smaller than No. 200 sieve)


(more than half of coarse

no fines)
(little or

sand mixture, little or no fines


Determine % of sand and gravel from grain size curves

5 - 12 % Border line cases requiring dual symbols *

Poorly graded gravels, gravel Not meeting all gradation requirements for GW
GP
sieve size)

coarse grained soils are classified as follows:


Gravels
larger than No. 200 sieve size)

sand mixture, little or no fines


(more than half of material is

Less than 5% : GW,GP,SW,SP


More than 12% : GM,GC,SM,SC

Silty gravels, gravel-sand-silt mixtures


(Appreciable
Gravels with

Atterberg limits below "A"


GM Above "A" line with PI
Coarse grained Soils

amount of

line or PI < 4
fines)

between 4 and 7 are boder


fines

line cases requiring use of


Clayey gravels, gravel-sand-clay Atterberg limits above "A"
GC line with PI > 7
dual symbols
mixtures
Well graded sands, gravelly
Clean Sands
fraction is smaller than No. 4

SW Cu = D60 / D10 > 6 and 1 < Cc = (D30)2 / (D10 x D60) < 3


no fines)
(more than half of coarse

(little or

sands, little or no fines


Poorly graded sands, gravelly Not meeting all gradation requirements for SW
SP
sieve size)

sands, little or no fines


Sands

Silty sands, sand-silt mixtures


(Appreciable

Atterberg limits below "A"


SM
Sands with

Above "A" line with PI


amount of

line or PI < 4
fines)

between 4 and 7 are boder


fines

line cases requiring use of


Clayey sands, sand-clay mixtures Atterberg limits above "A"
SC line with PI > 7
dual symbols

Inorganic silts and very fine sands, Plasticity Chart


rock flour, silty or clayey fine sands,
smaller than No. 200 sieve size)

ML
(more than half of material is

or clayey silts with slight plasticity 70


Silts and clays
Inorganic clays of low to medium plasticity, 60
(Liquid limit
Fine grained Soils

CL CH
less than 50) gravelly clays, sandy clays, silty clays, lean clays 50
Organic silts and organic silty clays
PI (%)

40 A line = 0.73 (LL-20)


OL
of low plasticity 30 MH or OH
Inorganic silts, micaceous or diatomaceous 20
Silts and clays MH fine sandy or silty soils, elastic soil
CL-ML CL
(Liquid limit 10
ML or OL
greater than 50) CH Inorganic clays of high plasticity, fat clays 0
OH Organic clays of medium to high plasticity, organic silts 0 20 40 60 80 100 120
Peat or other highly organic soils LL (%)
Highly organic soils Pt

* Border line classifications used for soil possessing characteristics of two groups are designated by combinations of group symbols.
For example: GW-GC implies well graded gravel - sand mixture with clay binder.
ตารางที่ 4.1
ผลการคํานวณค่าการรับนํา้ หนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะ (BH-1)
Location Pile Size Pile Tip Ultimate Unit Ultimate Ultimate Unit Ultimate Ultimate Allowable
(from existing ground) Skin Resistance1 Skin Resistance2 End Resistance3 End Resistance4 Pile Resistance5 Pile Load6
(m) (t/m) (t) (t/m2) (t) (t) (t)

BH-1 Bored -0.35 m 22 60.0 66.0 70.7 6.8 72.8 29.1


(Dry Processed) Bored -0.50 m 22 60.0 94.2 70.7 13.9 108.1 43.3
Bored -0.60 m 22 60.0 113.1 70.7 20.0 133.1 53.2
Bored -0.35 m 23 65.0 71.4 70.7 6.8 78.2 31.3
Bored -0.50 m 23 65.0 102.0 70.7 13.9 115.9 46.4
Bored -0.60 m 23 65.0 122.4 70.7 20.0 142.4 57.0
Bored -0.35 m 24 70.6 77.6 126.0 12.1 89.7 35.9
Bored -0.50 m 24 70.6 110.9 126.0 24.7 135.6 54.2
Bored -0.60 m 24 70.6 133.0 126.0 35.6 168.7 67.5

หมายเหตุ
(1),(3) จากรูปที่ 4.1 (2) = (1) x เส้ นรอบรูปเสาเข็ม (4) = (3) x Tip Area (5) = (2) + (4)
(6) เลือกใช้ ค่าที่น้อยกว่าซึ่งได้ จากสมการ 6.1ถึง 6.2
6.1) Allowable Pile Load = [(5)] / 2.5 (FS = 2.5)
6.2) 0.25fc' x พื้นที่หน้ าตัดเสาเข็ม ; fc' เสาเข็มเจาะแห้ งเท่ากับ 280 กก./ตร.ซม.
ตารางที่ 4.1 (ต่อ)
ผลการคํานวณค่าการรับนํา้ หนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะ (BH-1)
Location Pile Size Pile Tip Ultimate Unit Ultimate Ultimate Unit Ultimate Ultimate Allowable
(from existing ground) Skin Resistance1 Skin Resistance2 End Resistance3 End Resistance4 Pile Resistance5 Pile Load6
(m) (t/m) (t) (t/m2) (t) (t) (t)

BH-1 Bored -0.60 m 33 126.9 239.2 150.0 42.4 281.6 112.6


(Wet Processed) Bored -0.80 m 33 126.9 318.9 150.0 75.4 394.3 157.7
Bored -1.00 m 33 126.9 398.6 150.0 117.8 516.5 206.6
Bored -0.60 m 34 133.2 251.1 150.0 42.4 293.5 117.4
Bored -0.80 m 34 133.2 334.8 150.0 75.4 410.2 164.1
Bored -1.00 m 34 133.2 418.5 150.0 117.8 536.3 214.5
Bored -0.60 m 35 139.4 262.8 180.0 50.9 313.7 125.5
Bored -0.80 m 35 139.4 350.4 180.0 90.5 440.9 176.4
Bored -1.00 m 35 139.4 438.0 180.0 141.4 579.4 231.8

หมายเหตุ
(1),(3) จากรูปที่ 4.1 (2) = (1) x เส้ นรอบรูปเสาเข็ม (4) = (3) x Tip Area (5) = (2) + (4)
(6) เลือกใช้ ค่าที่น้อยกว่าซึ่งได้ จากสมการ 6.1ถึง 6.2
6.1) Allowable Pile Load = [(5)] / 2.5 (FS = 2.5)
6.2) 0.25fc' x พื้นที่หน้ าตัดเสาเข็ม ; fc' เสาเข็มเจาะเปี ยกเท่ากับ 300 กก./ตร.ซม.
ตารางที่ 4.2
ผลการคํานวณค่าการรับนํา้ หนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะ (BH-2)
Location Pile Size Pile Tip Ultimate Unit Ultimate Ultimate Unit Ultimate Ultimate Allowable
(from existing ground) Skin Resistance1 Skin Resistance2 End Resistance3 End Resistance4 Pile Resistance5 Pile Load6
(m) (t/m) (t) (t/m2) (t) (t) (t)

BH-2 Bored -0.35 m 23 62.9 69.2 90.0 8.7 77.8 31.1


(Dry Processed) Bored -0.50 m 23 62.9 98.8 90.0 17.7 116.5 46.6
Bored -0.60 m 23 62.9 118.6 90.0 25.4 144.0 57.6
Bored -0.35 m 24 68.8 75.7 150.0 14.4 90.1 36.0
Bored -0.50 m 24 68.8 108.1 150.0 29.5 137.6 55.0
Bored -0.60 m 24 68.8 129.8 150.0 42.4 172.2 68.9
Bored -0.35 m 25 75.2 82.7 150.0 14.4 97.1 38.8
Bored -0.50 m 25 75.2 118.1 150.0 29.5 147.5 59.0
Bored -0.60 m 25 75.2 141.7 150.0 42.4 184.1 73.6

หมายเหตุ
(1),(3) จากรูปที่ 4.2 (2) = (1) x เส้ นรอบรูปเสาเข็ม (4) = (3) x Tip Area (5) = (2) + (4)
(6) เลือกใช้ ค่าที่น้อยกว่าซึ่งได้ จากสมการ 6.1ถึง 6.2
6.1) Allowable Pile Load = [(5)] / 2.5 (FS = 2.5)
6.2) 0.25fc' x พื้นที่หน้ าตัดเสาเข็ม ; fc' เสาเข็มเจาะแห้ งเท่ากับ 280 กก./ตร.ซม.
ตารางที่ 4.2 (ต่อ)
ผลการคํานวณค่าการรับนํา้ หนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะ (BH-2)
Location Pile Size Pile Tip Ultimate Unit Ultimate Ultimate Unit Ultimate Ultimate Allowable
(from existing ground) Skin Resistance1 Skin Resistance2 End Resistance3 End Resistance4 Pile Resistance5 Pile Load6
(m) (t/m) (t) (t/m2) (t) (t) (t)

BH-2 Bored -0.60 m 33 126.1 237.7 162.0 45.8 283.6 113.4


(Wet Processed) Bored -0.80 m 33 126.1 317.0 162.0 81.4 398.4 159.4
Bored -1.00 m 33 126.1 396.2 162.0 127.2 523.5 209.4
Bored -0.60 m 34 132.6 250.0 162.0 45.8 295.8 118.3
Bored -0.80 m 34 132.6 333.3 162.0 81.4 414.7 165.9
Bored -1.00 m 34 132.6 416.6 162.0 127.2 543.8 217.5
Bored -0.60 m 35 139.1 262.2 162.0 45.8 308.0 123.2
Bored -0.80 m 35 139.1 349.6 162.0 81.4 431.0 172.4
Bored -1.00 m 35 139.1 437.0 162.0 127.2 564.2 225.7

หมายเหตุ
(1),(3) จากรูปที่ 4.2 (2) = (1) x เส้ นรอบรูปเสาเข็ม (4) = (3) x Tip Area (5) = (2) + (4)
(6) เลือกใช้ ค่าที่น้อยกว่าซึ่งได้ จากสมการ 6.1ถึง 6.2
6.1) Allowable Pile Load = [(5)] / 2.5 (FS = 2.5)
6.2) 0.25fc' x พื้นที่หน้ าตัดเสาเข็ม ; fc' เสาเข็มเจาะเปี ยกเท่ากับ 300 กก./ตร.ซม.
ตารางที่ 4.3
ผลการคํานวณค่าการรับนํา้ หนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะ (BH-3)
Location Pile Size Pile Tip Ultimate Unit Ultimate Ultimate Unit Ultimate Ultimate Allowable
(from existing ground) Skin Resistance1 Skin Resistance2 End Resistance3 End Resistance4 Pile Resistance5 Pile Load6
(m) (t/m) (t) (t/m2) (t) (t) (t)

BH-3 Bored -0.35 m 22 55.0 60.5 102.0 9.8 70.3 28.1


(Dry Processed) Bored -0.50 m 22 55.0 86.5 102.0 20.0 106.5 42.6
Bored -0.60 m 22 55.0 103.8 102.0 28.8 132.6 53.0
Bored -0.35 m 23 60.9 67.0 102.0 9.8 76.8 30.7
Bored -0.50 m 23 60.9 95.7 102.0 20.0 115.7 46.3
Bored -0.60 m 23 60.9 114.9 102.0 28.8 143.7 57.5
Bored -0.35 m 24 66.8 73.5 102.0 9.8 83.3 33.3
Bored -0.50 m 24 66.8 105.0 102.0 20.0 125.0 50.0
Bored -0.60 m 24 66.8 126.0 102.0 28.8 154.8 61.9

หมายเหตุ
(1),(3) จากรูปที่ 4.3 (2) = (1) x เส้ นรอบรูปเสาเข็ม (4) = (3) x Tip Area (5) = (2) + (4)
(6) เลือกใช้ ค่าที่น้อยกว่าซึ่งได้ จากสมการ 6.1ถึง 6.2
6.1) Allowable Pile Load = [(5)] / 2.5 (FS = 2.5)
6.2) 0.25fc' x พื้นที่หน้ าตัดเสาเข็ม ; fc' เสาเข็มเจาะแห้ งเท่ากับ 280 กก./ตร.ซม.
ตารางที่ 4.3 (ต่อ)
ผลการคํานวณค่าการรับนํา้ หนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะ (BH-3)
Location Pile Size Pile Tip Ultimate Unit Ultimate Ultimate Unit Ultimate Ultimate Allowable
(from existing ground) Skin Resistance1 Skin Resistance2 End Resistance3 End Resistance4 Pile Resistance5 Pile Load6
(m) (t/m) (t) (t/m2) (t) (t) (t)

BH-3 Bored -0.60 m 33 123.0 231.9 126.0 35.6 267.5 107.0


(Wet Processed) Bored -0.80 m 33 123.0 309.2 126.0 63.3 372.5 149.0
Bored -1.00 m 33 123.0 386.5 126.0 99.0 485.5 194.2
Bored -0.60 m 34 129.3 243.8 126.0 35.6 279.4 111.8
Bored -0.80 m 34 129.3 325.0 126.0 63.3 388.4 155.3
Bored -1.00 m 34 129.3 406.3 126.0 99.0 505.2 202.1
Bored -0.60 m 35 136.0 256.4 168.0 47.5 303.9 121.6
Bored -0.80 m 35 136.0 341.9 168.0 84.4 426.4 170.5
Bored -1.00 m 35 136.0 427.4 168.0 131.9 559.3 223.7

หมายเหตุ
(1),(3) จากรูปที่ 4.3 (2) = (1) x เส้ นรอบรูปเสาเข็ม (4) = (3) x Tip Area (5) = (2) + (4)
(6) เลือกใช้ ค่าที่น้อยกว่าซึ่งได้ จากสมการ 6.1ถึง 6.2
6.1) Allowable Pile Load = [(5)] / 2.5 (FS = 2.5)
6.2) 0.25fc' x พื้นที่หน้ าตัดเสาเข็ม ; fc' เสาเข็มเจาะเปี ยกเท่ากับ 300 กก./ตร.ซม.
ภาคผนวก ก
Summary of Test Results
Summary of Test Results
Project No.: 18240
Project: โครงการคอนโดมิเนียม ร่วมฤดี ซอย 2 BH-1
Site Location: แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
a b c
Depth Wn Atterberg Limits Sieve Analysis Unit Soil Strength USCS SPT-N
No. (m) (%) (%) % Finer Weight (kN/m2) Group (Blows/12")
3
From To LL PL PI 1/2" 3/8" #4 #10 #40 #100 #200 (kN/m ) Puc Suc
ST- 1 1.50 2.00 No recovery
ST- 2 3.00 3.50 55.6 16.2 0.0 14.8 (CH)
ST- 3 4.50 5.00 52.3 16.7 0.0 15.3 (CH)
ST- 4 6.00 6.50 No recovery
ST- 5 7.50 8.00 68.6 90.6 30.6 60.0 100 99 98 98 97 96 15.9 0.0 18.9 CH
ST- 6 9.00 9.50 No recovery
ST- 7 10.50 11.00 50.5 16.8 0.0 29.5 (CH)
ST- 8 12.00 12.50 63.6 15.4 0.0 9.5 (CH)
ST- 9 13.50 14.00 74.8 15.6 0.0 16.7 (CH)
SS- 1 15.00 15.45 80.2 (CH) 9
SS- 2 16.50 16.95 24.8 (CH) 18
SS- 3 18.00 18.45 31.4 60.9 25.6 35.3 100 CH 16
SS- 4 19.50 19.95 33.3 (CH) 20
SS- 5 21.00 21.45 30.9 100 99 98 89 (CH) 13
SS- 6 22.50 22.95 27.0 60.0 26.0 34.0 100 98 96 95 CH 12
SS- 7 24.00 24.45 24.3 (CH) 22
SS- 8 25.50 25.95 22.5 99 97 95 94 (CH) 20
SS- 9 27.00 27.45 27.7 58.0 19.6 38.4 99 99 98 98 CH 32
SS- 10 28.50 28.95 26.2 (CH) 29
SS- 11 30.00 30.45 17.8 (CH) 31
SS- 12 31.50 31.95 24.9 71.3 22.9 48.4 100 99 CH 25
SS- 13 33.00 33.45 26.9 (CH) 24
SS- 14 34.50 34.95 24.7 (CH) 30
SS- 15 36.00 36.45 29.0 75.1 24.3 50.8 100 99 99 98 CH 28
SS- 16 37.50 37.95 23.6 (CH) 32
SS- 17 39.00 39.45 28.4 (CH) 27
SS- 18 40.50 40.95 30.9 100 99 99 (CH) 38

a
Unit Weight provided for split spoon samples (SS) are for disturbed samples from SPT tests
b
USCS groups provided in parathesis are from visual classification
c
If the sampler is driven less than 18 inch, the number of blows per each complete and partial (less than or equal to 6 inch) increments were recorded.
Summary of Test Results
Project No.: 18240
Project: โครงการคอนโดมิเนียม ร่วมฤดี ซอย 2 BH-2
Site Location: แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
Depth Wn Atterberg Limits Sieve Analysis Unita Soil Strength USCSb SPT-Nc
2
No. (m) (%) (%) % Finer Weight (kN/m ) Group (Blows/12")
From To LL PL PI 1/2" 3/8" #4 #10 #40 #100 #200 (kN/m3) Puc Suc
ST- 1 1.50 2.00 No recovery
ST- 2 3.00 3.50 39.5 16.7 0.0 12.7 (CH)
ST- 3 4.50 5.00 45.5 16.0 0.0 13.0 (CH)
ST- 4 6.00 6.50 47.3 15.8 0.0 6.5 (CH)
ST- 5 7.50 8.00 No recovery
ST- 6 9.00 9.50 44.8 16.4 0.0 7.3 (CH)
ST- 7 10.50 11.00 No recovery
ST- 8 12.00 12.50 76.9 81.6 31.3 50.3 100 99 99 15.1 0.0 15.2 CH
ST- 9 13.50 14.00 64.0 16.3 0.0 18.9 (CH)
SS- 1 15.00 15.45 22.2 (CH) 10
SS- 2 16.50 16.95 33.8 (CH) 16
SS- 3 18.00 18.45 28.5 59.7 24.7 35.0 100 99 99 CH 20
SS- 4 19.50 19.95 23.4 100 99 98 84 (CH) 20
SS- 5 21.00 21.45 28.3 100 96 94 94 (CH) 13
SS- 6 22.50 22.95 21.0 (CH) 17
SS- 7 24.00 24.45 28.6 57.7 15.2 42.5 100 99 99 CH 30
SS- 8 25.50 25.95 21.6 100 99 97 85 70 (CH) 23
SS- 9 27.00 27.45 23.8 100 (CH) 38
SS- 10 28.50 28.95 22.6 (CH) 26
SS- 11 30.00 30.45 19.1 (CH) 21
SS- 12 31.50 31.95 26.6 59.9 21.3 38.6 100 99 99 CH 29
SS- 13 33.00 33.45 24.8 (CH) 37
SS- 14 34.50 34.95 25.9 (CH) 27
SS- 15 36.00 36.45 23.2 100 99 99 96 (CH) 24
SS- 16 37.50 37.95 27.8 (CH) 30
SS- 17 39.00 39.45 21.7 100 98 88 78 (CH) 28
SS- 18 40.50 40.95 20.6 100 99 98 97 (CH) 32

a
Unit Weight provided for split spoon samples (SS) are for disturbed samples from SPT tests
b
USCS groups provided in parathesis are from visual classification
c
If the sampler is driven less than 18 inch, the number of blows per each complete and partial (less than or equal to 6 inch) increments were recorded.
Summary of Test Results
Project No.: 18240
Project: โครงการคอนโดมิเนียม ร่วมฤดี ซอย 2 BH-3
Site Location: แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
Depth Wn Atterberg Limits Sieve Analysis Unita Soil Strength USCSb SPT-Nc
2
No. (m) (%) (%) % Finer Weight (kN/m ) Group (Blows/12")
From To LL PL PI 1/2" 3/8" #4 #10 #40 #100 #200 (kN/m3) Puc Suc
ST- 1 1.50 2.00 No recovery
ST- 2 3.00 3.50 45.5 17.2 0.0 20.7 (CH)
ST- 3 4.50 5.00 66.7 16.4 0.0 8.8 (CH)
ST- 4 6.00 6.50 70.2 15.8 0.0 16.0 (CH)
ST- 5 7.50 8.00 No recovery
ST- 6 9.00 9.50 75.2 81.1 33.7 47.4 100 99 99 15.9 0.0 16.6 CH
ST- 7 10.50 11.00 No recovery
ST- 8 12.00 12.50 55.7 16.5 0.0 21.4 (CH)
ST- 9 13.50 14.00 64.8 16.2 0.0 26.3 (CH)
SS- 1 15.00 15.45 22.9 (CH) 8
SS- 2 16.50 16.95 27.8 58.7 16.8 41.9 100 99 98 CH 9
SS- 3 18.00 18.45 36.1 (CH) 11
SS- 4 19.50 19.95 36.2 70.6 18.3 52.3 100 99 CH 16
SS- 5 21.00 21.45 23.6 100 99 79 55 (CH) 19
SS- 6 22.50 22.95 22.3 (CH) 18
SS- 7 24.00 24.45 30.8 100 99 97 (CH) 21
SS- 8 25.50 25.95 22.8 (CH) 14
SS- 9 27.00 27.45 26.1 (CH) 23
SS- 10 28.50 28.95 22.6 100 99 99 (CH) 26
SS- 11 30.00 30.45 22.9 (CH) 31
SS- 12 31.50 31.95 22.5 (CH) 19
SS- 13 33.00 33.45 19.2 100 99 99 97 (CH) 24
SS- 14 34.50 34.95 25.6 (CH) 29
SS- 15 36.00 36.45 18.9 94 91 88 85 79 (CH) 27
SS- 16 37.50 37.95 22.7 68.9 18.6 50.3 99 99 97 CH 31
SS- 17 39.00 39.45 31.5 (CH) 36
SS- 18 40.50 40.95 27.1 75.1 23.1 52.0 100 99 CH 37

a
Unit Weight provided for split spoon samples (SS) are for disturbed samples from SPT tests
b
USCS groups provided in parathesis are from visual classification
c
If the sampler is driven less than 18 inch, the number of blows per each complete and partial (less than or equal to 6 inch) increments were recorded.
ภาคผนวก ข
Borehole Logs and Index Properties

 
BOREHOLE # BH‐1 Page 1 of 1
Project No: 18240 Ground Elev.(m): Date Started: 21‐June‐2018
Project: โครงการคอนโดมิเนียม ร่วมฤดี ซอย 2 G.W.L (m): 0.60 Date Finished: 22‐June‐2018
Site Location: แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร Total Depth (m): 40.95 Co‐ordinate(N):
Co‐ordinate(E):
Suc
PL Wn LL
(kN/m^2)
Sample Number

Unit Weight
20 40 60 80

(kN/m3)
Symbol Type
SOIL DESCRIPTION Atterberg Limits SPT (N)
Depth (m)

(%)
Symbols (Blows/12 inch)
15 20 20 40 60 80 20 40 60 80

Ground Surface
0
1 Fill material.
2 ST‐ 1
3 ST‐ 2 2.50
4 Very soft to medium stiff 
ST‐ 3 CLAY, grey, high plasticity. 
5
(CH)
6 ST‐ 4
7
8 ST‐ 5
9 ST‐ 6
10
11 ST‐ 7
12 ST‐ 8
13
14 ST‐ 9
9
15 SS‐ 1 14.50
Stiff to hard CLAY, brown to 
16 greyish brown and grey, high  18
17 SS‐ 2
plasticity. (CH) 16
18 SS‐ 3
19 20
20 SS‐ 4
13
21 SS‐ 5
22 12
23 SS‐ 6
22
24 SS‐ 7
25 20
26 SS‐ 8
32
27 SS‐ 9
28 29
29 SS‐ 10
31
30 SS‐ 11
31 25
32 SS‐ 12
24
33 SS‐ 13
34 30
35 SS‐ 14
28
36 SS‐ 15
37 32
38 SS‐ 16
27
39 SS‐ 17
40 38
SS‐ 18
End of Borehole 40.95

Thin Wall Tube Suc = Undrained Shear Strength  JLP Engineering Services Co., Ltd.


Split Spoon SPT = Standard Penetration Test 34/671 Moo Baan Ying Ruay Soi 5
Rock Core PL = Plastic Limit Liab Klong Prapa Road, Pakkred
Nonthaburi 11120
Wash Wn = Water Content Tel: 0‐2575‐2740 Fax: 0‐2575‐2741
Auger LL = Liquid Limit
BOREHOLE # BH‐2 Page 1 of 1
Project No: 18240 Ground Elev.(m): Date Started: 22‐June‐2018
Project: โครงการคอนโดมิเนียม ร่วมฤดี ซอย 2 G.W.L (m): 0.30 Date Finished: 23‐June‐2018
Site Location: แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร Total Depth (m): 40.95 Co‐ordinate(N):
Co‐ordinate(E):
Suc
PL Wn LL
(kN/m^2)
Sample Number

Unit Weight
20 40 60 80

(kN/m3)
Symbol Type
SOIL DESCRIPTION Atterberg Limits SPT (N)
Depth (m)

(%)
Symbols (Blows/12 inch)
15 20 20 40 60 80 20 40 60 80

Ground Surface
0
1  Fill material.
2 ST‐ 1
3 ST‐ 2 2.50
4 Very soft to soft CLAY, grey, 
ST‐ 3 high plasticity. (CH)
5
6 ST‐ 4
7
8 ST‐ 5
9 ST‐ 6
10
11 ST‐ 7
12 ST‐ 8
13
14 ST‐ 9
10
15 SS‐ 1
14.50
16 Stiff to hard CLAY, light brown and  16
17 SS‐ 2 grey, high plasticity. (CH)
20
18 SS‐ 3
19 20
20 SS‐ 4
13
21 SS‐ 5
22 17
23 SS‐ 6
30
24 SS‐ 7
25 23
26 SS‐ 8
38
27 SS‐ 9
28 26
29 SS‐ 10
21
30 SS‐ 11
31 29
32 SS‐ 12
37
33
SS‐ 13
34 27
35 SS‐ 14
36 24
SS‐ 15
37 30
38 SS‐ 16
39 28
SS‐ 17
40 32
SS‐ 18  
End of Borehole 40.95

Thin Wall Tube Suc = Undrained Shear Strength  JLP Engineering Services Co., Ltd.


Split Spoon SPT = Standard Penetration Test 34/671 Moo Baan Ying Ruay Soi 5
Rock Core PL = Plastic Limit Liab Klong Prapa Road, Pakkred
Nonthaburi 11120
Wash Wn = Water Content Tel: 0‐2575‐2740 Fax: 0‐2575‐2741
Auger LL = Liquid Limit
BOREHOLE # BH‐3 Page 1 of 1
Project No: 18240 Ground Elev.(m): Date Started: 23‐June‐2018
Project: โครงการคอนโดมิเนียม ร่วมฤดี ซอย 2 G.W.L (m): 0.80 Date Finished: 23‐June‐2018
Site Location: แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร Total Depth (m): 40.95 Co‐ordinate(N):
Co‐ordinate(E):
Suc
PL Wn LL
(kN/m^2)
Sample Number

Unit Weight
20 40 60 80

(kN/m3)
Symbol Type
SOIL DESCRIPTION Atterberg Limits SPT (N)
Depth (m)

(%)
Symbols (Blows/12 inch)
15 20 20 40 60 80 20 40 60 80

Ground Surface
0
1 Fill material
2 ST‐ 1
3 ST‐ 2 2.50
4 Very soft to medium stiff CLAY, 
5 ST‐ 3 grey, high plasticity. (CH)
6 ST‐ 4
7
8 ST‐ 5
9 ST‐ 6
10
11 ST‐ 7
12 ST‐ 8
13
14 ST‐ 9
15 8
SS‐ 1
16 9
SS‐ 2 16.00
17
18 Stiff to hard CLAY, grey, high  11
SS‐ 3
plasticity. (CH)
19 16
20 SS‐ 4
21 19
SS‐ 5
22 18
23 SS‐ 6
24 21
SS‐ 7
25 14
26 SS‐ 8
27 23
SS‐ 9
28 26
29 SS‐ 10
30 31
SS‐ 11
31 19
32 SS‐ 12
33 24
SS‐ 13
34 29
35 SS‐ 14
36 SS‐ 15 27
37 31
SS‐ 16
38
39 36
SS‐ 17
40 37
SS‐ 18
End of Borehole 40.95

Thin Wall Tube Suc = Undrained Shear Strength  JLP Engineering Services Co., Ltd.


Split Spoon SPT = Standard Penetration Test 34/671 Moo Baan Ying Ruay Soi 5
Rock Core PL = Plastic Limit Liab Klong Prapa Road, Pakkred
Nonthaburi 11120
Wash Wn = Water Content Tel: 0‐2575‐2740 Fax: 0‐2575‐2741
Auger LL = Liquid Limit

You might also like