You are on page 1of 90

ENGINEERING SOIL TESTS:

Volume I
ผศ.ดร.สุรยิ ะ ทองมุณี
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แนะนำวิชำ CE 372 Engineering Soil Tests

คานา

มวลดินถูกนำมำใช้ในงำนวิศวกรรมโยธำในสองรูปแบบคือกำรใช้เป็นวัสดุฐำนรำกโดยไม่มีกำรเคลื่อนย้ำยมวล
ดิน และใช้เป็นวัสดุถมโดยกำรเคลื่อนย้ำยจำกแหล่งหนึ่งมำสู่อีกแหล่งหนึ่ง มวลดินเป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติไม่แน่นอน
ขึ้นอยู่กับวิธีกำรกำเนิดของมวลดิน สภำพอำกำศ กำรพัดพำ วิธีกำรย่อยสลำย เป็นต้น ด้วยเหตุผลดังกล่ำวกำรใช้
คุณสมบัตขิ องมวลดินในแหล่งอื่นแทนมวลดินที่อยูใ่ นโครงกำรก่อสร้ำงไม่เป็นที่นิยมสำหรับวิศวกรโยธำ ดังนั้นจึงเป็น
ที่จำเป็นอย่ำงยิ่งที่จะต้องทรำบถึงวิธีกำรทดสอบคุณสมบัตขิ องมวลดินที่ถูกต้องเพื่อให้ได้ผลที่น่ำเชื่อถือ และนำไปใช้
ประโยชน์ทำงวิศวกรรมต่อไป
เอกสำรฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อแสดงถึงวิธีกำรทดสอบคุณสมบัติทำงวิศวกรรมของมวลดินเบื้องต้น ซึ่งประกอบ
กำรประเมิน ค่ ำ ควำมชื้น ของมวลดิ น กำรประเมิน ค่ ำ หน่ ว ยน้ ำหนั ก มวลดิ น กำรทดสอบเพื่อ ประเมิน ค่ ำ ควำม
ถ่วงจำเพำะของดิน กำรประเมินขนำดและปริมำณของเม็ดดินในมวลดินคละโดยวิธีร่อนผ่ำนตะแกรง กำรทดสอบ
เพื่อประเมินขนำดและปริมำณของเม็ดดินในมวลดินเม็ดละเอียดโดยวิธีไฮโดรมิเตอร์ กำรประเมินค่ำสัมประสิทธ์กำร
เคลื่อนที่ของน้ำผ่ำนมวลดินในห้องปฏิบัติกำร นอกจำกนี้ ยังใช้ประกอบกำรสอนในรำยวิชำ 251-372 กำรทดสอบ
คุณสมบัตขิ องมวลดิน (CE372 Engineering Soil Tests)
ผู้เรียบเรียงหวังว่ำเอกสำรฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษำ และผู้ที่สนใจ หำกมีข้ อผิดพลำดประกำรใด ผู้
เรียบเรียงยินดีรับคำติชม เพื่อให้เกิดควำมสมบูรณ์มำกยิ่งขึ้น

ผศ.ดร.สุริยะ ทองมุณี

ผศ.ดร.สุริยะ ทองมุณี ii
แนะนำวิชำ CE 372 Engineering Soil Tests

สารบัญ

หน้ำ
คำนำ ii
รำยละเอียดประกอบกำรแนะนำ iv
แผนกำรสอน ix

กำรทดสอบที่ 1 ค่ำควำมชื้นของมวลดิน และทดสอบค่ำหน่วยน้ำหนักมวลดิน 1


กำรทดสอบที่ 2 ค่ำควำมถ่วงจำเพำะของดิน 8
กำรทดสอบที่ 3 ขนำดและปริมำณของเม็ดดินในมวลดินคละโดยวิธีร่อนผ่ำนตะแกรง 16
กำรทดสอบที่ 4 ขนำดและปริมำณของเม็ดดินในมวลดินเม็ดละเอียดโดยวิธีไฮโดรมิเตอร์ 28
กำรทดสอบที่ 5 ค่ำพิกัดสถำนะควำมคงตัวของมวลดิน 45
กำรทดสอบที่ 6 ค่ำสัมประสิทธ์กำรเคลือ่ นที่ของน้ำผ่ำนมวลดินในห้องปฏิบัตกิ ำร 64

ผศ.ดร.สุริยะ ทองมุณี iii


แนะนำวิชำ CE 372 Engineering Soil Tests

รายละเอียดประกอบการแนะนา

CE 372 ENGINEERING SOIL TESTS


1. การจัดการเรียนการสอน
กำรเรียนภำคปฏิบัติ ซึ่งในแต่ละตอนจะแบ่งนักศึกษำออกเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 4-6 คน นักศึกษำทุกคนใน
แต่ละกลุ่มจะช่วยกันทำกำรทดลองแต่ละเรื่อง จนเสร็จสิ้นกำรทดลองในเรื่องนั้น กำรทดลองบำงหัวข้อ จำเป็นต้อง
ทำกำรทดลอง และ/หรือ บันทึกข้อมูลผลกำรทดลอง ต่อเนื่องนอกเวลำตำมตำรำงสอนปกติ ซึ่งนักศึกษำจะต้อง
รับผิดชอบจัดเวรผลัดเปลี่ยนมำทำกำรทดลองหรือบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วน ในกำรทดลองบำงหัวข้อ นักศึกษำทุก
กลุ่มจะปฏิบัติทดลองในหัวข้อเดียวกัน พร้อมๆกัน แต่ในบำงหัวข้อ จะมีกำรแยกปฏิบัติทดลองต่ำงเรื่องกันตำม
กำหนดกำรเรียนที่แจ้งให้ทรำบล่วงหน้ำ ในกำรเข้ำเรียนแต่ละครั้ง ให้นักศึกษำทุกคนเตรียมตัวเข้ำเรียน โดยกำรอ่ำน,
ศึกษำ,หรือค้นคว้ำเกี่ยวกับเนื้อหำของเรื่องที่จะทำกำรปฏิบั ติทดลองในแต่ละครั้งมำล่วงหน้ำ พร้อมที่จะปฏิบัติ
ทดลองได้ด้วยตนเอง โดยอำจำรย์ผู้ควบคุมจะบรรยำยสรุปเรื่องที่จะปฏิบัติทดลองในช่วงเวลำนั้น ๆ อย่ำงสั้น ๆ
เพื่อให้นักศึกษำมีเวลำปฏิบัติทดลองได้อย่ำงพอเพียง

2. หัวข้อการสอน
2.1 MOISTURE CONTENT DETERMINATION เป็นกำรทดลองเพื่อประเมินค่ำควำมชื้นของตัวอย่ำงดิน โดย
ใช้เตำอบไฟฟ้ำอบดินให้แห้ง และ DETERMINATION OF TOTAL UNIT WEIGHT OF SOILS เป็นกำร
ทดสอบเพื่อประเมินค่ำหน่วยน้ำหนักมวลดินโดยใช้วงแหวน
2.2 SPECIFIC GRAVITY TEST เป็นกำรทดลองเพื่อประเมินค่ำ Specific Gravity ของตัวอย่ำงดินเม็ดละเอียด
โดยใช้ ขวดแก้ว (volumetric flask) ควำมจุ 500 cc เป็นขวดหำ ถ.พ. (Pycnometer)
2.3 GRAIN SIZE ANALYSIS หรือ PARTICLE SIZE ANALYSIS เป็นกำรทดลองเพื่อประเมินปริมำณของ
เม็ดดินขนำดต่ำงๆในตัวอย่ำงมวลดินคละ (particle size distribution) สำหรับตัวอย่ำงมวลดินคละเม็ดหยำบ
จะทดลองโดยวิธีกล (mechanical method) หรือ SIEVING TEST โดยกำรนำตัวอย่ำงมวลคละทั้งหมดไปล้ำงน้ำ
ผ่ำนตะแกรง No.200 (wash sieving) แล้วนำดินส่วนที่ค้ำงบนตะแกรง No.200 ไปร่อนผ่ำนชุดตะแกรงหยำบ
แบบแห้ง (dry sieving) ส่วนตัวอย่ำงมวลดินคละเม็ดละเอียด (ร่อนผ่ำนตะแกรง No.200) จะทดลองด้วยวิธี
HYDROMETER TEST โดยอำศัยหลักกำรตกตะกอนของ Stokes’ Law ในกำรประเมินขนำดของเม็ดดิน และใช้
hydrometer ในกำรประเมินปริมำณของเม็ดดินขนำดต่ำงๆที่ลอยอยูใ่ นหลอดทดลอง
2.4 ATTERBERG LIMITS TEST เป็นกำรทดลองเพื่อประเมินค่ำ Atterberg Limits หรือ Consistency Limits
ของตัวอย่ำง ดินเม็ดละเอียด (เม็ดดินที่ร่อนผ่ำนตะแกรง No.40) ประกอบด้วยกำรทดลองประเมิน ค่ำ Liquid
Limit (LL), Plastic Limit (PL), และ Shrinkage Limit (SL) ของตัวอย่ำงดิน และรวมไปถึงกำรทดลองเพื่อ
ประเมินค่ำ Linear Shrinkage (LS) ของตัวอย่ำงดินด้วย
2.5 PERMEABILITY TEST เป็นกำรทดลองเพื่อศึกษำประสิทธิภำพกำรไหลของน้ำผ่ำนมวลดินโดยกำร
ประเมินค่ำ Coefficient of Permeability (k) ของตัวอย่ำงดินในห้องปฏิบัติกำร โดยวิธี constant head method
และวิธี variable head หรือ falling head method

ผศ.ดร.สุริยะ ทองมุณี iv
แนะนำวิชำ CE 372 Engineering Soil Tests

2.6 SOIL COMPACTION TEST เป็นกำรทดลอง เพื่อศึกษำถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมชื้นของมวลดินที่


นำมำบดอัด กับ ควำมหนำแน่นแห้งของมวลดินนั้นเมื่อบดอัดแล้ว โดยใช้พลังงำนในกำรบดอัดเป็นค่ำคงที่ค่ำ
หนึ่ง และเพื่อประเมินหำค่ำควำมชื้นเหมำะสม (Optimum Moisture Content, OMC) ที่จะทำให้สำมำรถบดอัด
มวลดินคละนั้นได้ควำมหนำแน่นแห้งสูงสุด (Maximum Dry Density) ภำยใต้ compaction energy ที่กำหนดให้
นัน้
2.7 FIELD DENSITY TEST เป็นกำรทดลองเพื่อประเมินค่ำควำมหนำแน่นแห้ง (dry density) ของมวลดินที่
บดอัดแล้วในสนำมเพื่อนำมำเปรีย บเทียบกับค่ำควำมหนำแน่นแห้งสูงสุด (Maximum Dry Density) ของมวล
ดินนัน้ ที่บดอัดโดยวิธีมำตรฐำนในห้องปฏิบัติกำร ทำกำรทดลองโดยวิธี sand replacement method หรือกำร
แทนที่ด้วยทรำย ซึ่งรวมไปถึงกำร calibrate อุปกรณ์กำรทดลอง (sand cone calibration) เพื่อประเมินค่ำ
ควำมหนำแน่นคงที่ของทรำย ที่ใช้เป็นตัวกลำงในกำรทดลองนี้
2.8 CONSOLIDATION TEST หรือ OEDOMETER TEST เป็นกำรทดลองเพื่อศึกษำคุณสมบัติกำรยุบอัดตัว
ของมวลดินแบบ One Dimensional Consolidation ตำมทฤษฎีของ Terzaghi และประเมินค่ำสัมประสิทธิ์ต่ำงๆ
ที่เป็นคุณสมบัติกำรยุบอัดตัวของมวลดิน ตัวอย่ำงดินที่ใช้ทดลองจะเป็น undisturbed soil sample ซึ่งเป็น
ตัวอย่ำงดินที่คงคุณสมบัติเหมือนมวลดินในสภำพธรรมชำติ กำรเรียนหัวข้อนี้จะใช้เวลำ 2 สัปดำห์ โดย
สัปดำห์แรก จะเป็นกำรปฏิบัติกำรทดลองโดยใช้ Oedometer เรียนรู้กำรเตรียมตัวอย่ำงทดลอง กำรอ่ำนค่ำ
และบันทึกผลกำรทดลอง และในสัปดำห์ที่ 2 จะนำตัวอย่ำงข้อมูลที่ได้จำกกำรทดลองเต็มรูปแบบ มำทำกำร
คำนวณ และวิเครำะห์ สรุปผลกำรทดลอง
2.9 SHEAR STRENGTH TESTS เป็นกำรทดลองเพื่อศึกษำคุณสมบัติรับ แรงเฉือน (Shear Strength
Properties) ของตัวอย่ำงดิน เป็นกำรทดลองเพื่อประเมินค่ำ Shear Strength Parameters ของตัวอย่ำงดิน ซึ่ง
ประกอบด้วยค่ำ Cohesion, c และค่ำ Angle of Internal Friction หรือ Friction Angle,  ในที่นจี้ ะศึกษำทดลอง
3 วิธีคอื
2.9.1 DIRECT SHEAR TEST เป็นกำรทดลองโดยใช้อุปกรณ์เรียกว่ำ shear box ซึ่งได้กำหนด
ระนำบของ failure plane หรือ shear plane ไว้ล่วงหน้ำ ให้แรงกระทำต่อตัวอย่ำงดินจนตัวอย่ำง
ดินถึงจุดวิบัติ (failure) ทั้ง normal stress และ shear stress บน failure plane โดยตรง ใช้ทดลอง
ได้กับตัวอย่ำงดินทุกชนิดทุกประเภทแต่นยิ มใช้ทดลองกับทรำย หรือกับตัวอย่ำงดินเหนียวประเภท
remolded sample กำรทดลองวิธีน้ี ไม่สำมำรถวัดค่ำควำมดันน้ำภำยในตัวอย่ำงดิน (pore water
pressure) ในระหว่ำงทำกำรทดลองได้ จึงวิเครำะห์ประเมินได้เพียงค่ำ total stress shear strength
parameters
2.9.2 TRIAXIAL COMPRESSION TEST เป็นกำรทดลองตัวอย่ำงดินรูปทรงกระบอก ปกติใช้
ทดลองตัวอย่ำงดินเหนียว โดยติดตัง้ แท่งตัวอย่ำงดินใน cell ทีส่ ำมำรถควบคุมควำมดันภำยใน cell
ตำมที่ต้องกำรได้ เพื่อให้มแี รงกระทำต่อตัวอย่ำงดินได้ในทุกทิศทำง เรียกว่ำ confining stress หรือ
cell pressure หรือ all-round pressure ให้แรงกระทำต่อตัวอย่ำงดินจนถึง failure ในรูปของ
principal stresses โดยไม่มีกำรกำหนดระนำบของกำรวิบัติ (failure plane) ไว้ล่วงหน้ำ สำมำรถ
ทดลองกับตัวอย่ำงดินภำยใต้วิธีกำรควบคุมได้ทั้ง drained และ undrained condition รวมทั้งมี
อุปกรณ์วัดค่ำควำมดันน้ำ (pore water pressure) ภำยในตัวอย่ำงดินระหว่ำงกำรทดลอง จึง
สำมำรถวิเครำะห์ประเมินได้ทั้ง total stress shear strength parameters และ effective stress
shear strength parameters

ผศ.ดร.สุริยะ ทองมุณี v
แนะนำวิชำ CE 372 Engineering Soil Tests

2.9.3 UNCONFINED COMPRESSION TEST เป็นกำรทดลอง Triaxial Compression Test แบบพิเศษคือ มี


แต่แรงกดในแนวดิ่งกระทำต่อตัวอย่ำงดินเพียงระนำบเดียว ส่วนแรงกดบนระนำบรำบ (confining stress หรือ
all-round pressure) ที่กระทำต่อตัวอย่ำงดิน จะมีค่ำเป็นศูนย์ ใช้ทดลองกับตัวอย่ำงดินภำยใต้สมมุติฐำนที่ว่ำ
ตัวอย่ำงดินที่มีคุณสมบัติเป็น saturated cohesive soil ภำยใต้กำรควบคุมแบบ Undrained loading และ
วิเครำะห์ประเมินผลด้วยวิธี total stress analysis จะมีค่ำ total stress, undrained friction angle, u=0

3. การเข้าชั้นเรียนปฏิบัติการ
3.1 กำรเรียนภำคปฏิบัติแต่ละครั้ง จะอยู่ในควำมรับผิดชอบของอำจำรย์ โดยมีผู้ช่วยวิชำกำรเป็นผู้
ควบคุมดูแลและแนะนำวิธีกำรปฏิบัติทดลอง รวมไปถึงกำรสั่งกำรเพื่อรักษำระเบียบต่ำงๆ ภำยในช่วงเวลำ
กำรเรียนภำคปฏิบัตติ ำมที่อำจำรย์ผู้ควบคุมกำหนดไว้
3.2 ผู้ทีข่ าดเรียนภำคปฏิบัติมากกว่า 2 คาบเวลำ จะมีเวลำเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 ตำมประกำศมหำวิทยำลัย
เชียงใหม่ ผู้สอนจะไม่อนุญำตให้เข้ำทำกำรสอบไล่
3.3 นักศึกษำที่ขำดเรียนภำคปฏิบัตหิ ัวข้อใด คะแนนภำคปฏิบัตใิ นหัวข้อนัน้ รวมทั้งคะแนนรำยงำนจะเป็นศูนย์
3.4 กำรเข้ำเรียนภำคปฏิบัติ ต้องแต่งกำยให้เรียบร้อยรัดกุม เพื่อป้องกันอันตรำยที่อำจเกิดขึ้น โดยเฉพำะ
อย่ำงยิ่งให้ใส่รองเท้ำหุม้ ส้นที่ปิดมิดชิด ผู้ที่แต่งกำยไม่เรียบร้อย อำจำรย์หรือผู้ช่วยวิชำกำรที่ควบคุมอยู่ อำจ
ไม่อนุญำตให้เข้ำเรียนหรือทำกำรปฏิบัตติ อ่ ไปได้ และจะถือว่ำขำดกำรเรียนในคำบเวลำนัน้ ๆ
3.5 ในกรณีที่มีเหตุจำเป็นต้องขำดกำรเรียนในหัวข้อใด จะต้องเข้ำเรียนทดแทน (make up) หัวข้อนั้น ๆ ในวัน
อื่น (ในกรณีที่ยังมีกำรเรียนในหัวข้อนั้นในตอนอื่น ๆ) ทั้งนี้จะต้องได้รับอนุญำตจำกอำจำรย์ผู้รับผิดชอบกำร
เรียนในหัวข้อนั้นก่อน ถ้ำไม่สำมำรถ make up ได้ จะถือว่ำขำดเรียนในหัวข้อนั้น

4. การทารายงาน
กำรทำรำยงำนผลปฏิบัตกิ ำรในแต่ละหัวข้อกำรทดลองเพื่อส่งอำจำรย์ผู้สอน ให้นักศึกษำแต่ละกลุ่มย่อย ทำ
รำยงำนผลปฏิบัตกิ ำรแต่ละหัวข้อกำรทดลอง ตามที่อาจารย์ผู้ควบคุมกาหนด นำส่งที่ผู้ช่วยวิชำกำรในโรงประลอง
ก่อนเข้ำชั้นเรียนในสัปดำห์ถัดไป หรือตำมที่อำจำรย์ผู้ควบคุมกำหนด เนื้อหำหลักในรำยงำนโดยทั่วไปจะ
ประกอบด้วย
4.1 บทนำ (Introduction)
4.2 วัตถุประสงค์ของกำรทดลอง (purposes)
4.3 ทฤษฎีและหลักกำรที่เกี่ยวข้องกับกำรทดลอง (related principles and theories)
4.4 วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ทำกำรทดลอง (samples, lab. materials and equipment)
4.5 วิธีกำรทดลองตำมที่ปฏิบัตจิ ริง (experimental procedures)
4.6 ข้อมูลที่ได้จำกกำรทดลอง กำรคำนวณและกำรนำเสนอผลกำรทดลอง (data, calculations, presentation
of calculation results, graphical presentations)
4.7 สรุปผลกำรทดลอง (summary of test results)
4.8 บทวิเครำะห์วิจำรณ์ ผลกำรทดลองและวิธีทำกำรทดลอง โดยเปรียบเทียบกับทฤษฎี และ/หรือ วิธีกำรที่
ถูกต้อง รวมทั้งข้อแนะนำเพิ่มเติม (discussion of test results and recommendations)
4.9 เอกสำรอ้ำงอิง (references)

ผศ.ดร.สุริยะ ทองมุณี vi
แนะนำวิชำ CE 372 Engineering Soil Tests

รำยละเอียดดังกล่ำวนี้อำจเปลี่ยนแปลงได้ตำมคำสั่งของอำจำรย์ผู้ควบคุมแต่ละหัวข้อกำรทดลอง ดังนั้น
หำกมีข้อสงสัยใด ๆ ให้สอบถำมจำกอำจำรย์ผู้ควบคุม

5. การจัดทาและคะแนนรายงานการเรียนภาคปฏิบัติ
ให้จัดทำและส่งรำยงำน (ตำมที่อำจำรย์ ผู้สอนแต่ละหัวข้อ เป็นผู้กำหนด) จำนวน 12 หัวข้อกำรทดสอบ
ประกอบด้วย
คะแนนรำยงำน
1. Moisture Content Determination 10
2. Specific Gravity Test 15
3. Grain Size Analysis: Sieving Test และ
4. Grain Size Analysis: Hydrometer Test (รวม 2 หัวข้อ) 30
5. Atterberg’s Limits Test 15
6. Permeability Test 15
7. Soil Compaction Test และ
8. Field Density Test (รวม 2 หัวข้อ) 30
9. Consolidation Test (2 คำบเวลำ) 30
10. Unconfined Compression Tests 15
11. Direct Shear Test 20
12. Triaxial Compression Test 20
รวมคะแนนรำยงำน 200

6. การให้คะแนนรายงาน จะแบ่งการพิจารณาให้คะแนนส่วนต่างๆของรายงาน ดังนี้


ก. กำรจัดทำรำยงำนส่วนที่เกี่ยวกับ ทฤษฎี, วัสดุอุปกรณ์, และวิธีกำรปฏิบัตติ ำมที่ปฏิบัตจิ ริง
ข. ผลกำรปฏิบัติทดลอง ได้แก่ ควำมถูกต้องและเป็นไปได้ของข้อมูล , ขั้นตอนและวิธีกำรคำนวณ, ผลกำร
คำนวณ, กำรแสดงผลกำรคำนวณและกรำฟ เป็นต้น
ค. กำรเขียนรำยงำนสรุปผลกำรทดลองและวิเครำะห์วิจำรณ์ผลกำรทดลอง
ง. ภำพรวมของรำยงำน, ควำมตัง้ ใจในกำรทำรำยงำน

7. การคิดคะแนนพิจารณาผลการศึกษา
คะแนนภำคปฏิบัติ จำกกำรเข้ำเรียนและกำรทำรำยงำน 40 % ของคะแนนรวมตัดเกรด
คะแนนสอบข้อเขียน (Mid Term และสอบไล่) 60 % ของคะแนนรวมตัดเกรด

8. การสอบข้อเขียน (กลางภาคและปลายภาค) มีคะแนนเต็ม 200 คะแนน


สอบกลางภาค คะแนนเต็ม 80 คะแนน เวลำ 3 ชั่วโมง สอบ 6 หัวข้อกำรทดลอง ประกอบด้วย
1. Moisture Content and Determination of Specific Gravity Test 20 คะแนน
2. Grain Size Analysis: Sieving Analysis and Hydrometer Tests 30 คะแนน
3. Permeability Test 15 คะแนน
4. Atterberg’s Limits Test 15 คะแนน

ผศ.ดร.สุริยะ ทองมุณี vii


แนะนำวิชำ CE 372 Engineering Soil Tests

สอบไล่ คะแนนเต็ม 100 คะแนน เวลำ 3 ชั่วโมง สอบ 6 หัวข้อกำรทดลอง ประกอบด้วย


1. Consolidation Test 30 คะแนน
2. Soil Compaction Test and Field Density Test 30 คะแนน
3. Shear Strength Tests 3 หัวข้อกำรทดลอง 60 คะแนน

9. การพิจารณาผลการศึกษา (เกณฑ์ปกติ)
1. ขำดกำรเรียนภำคปฏิบัตใิ นระหว่ำงภำคเรียนมำกกว่ำ 2 คำบเวลำ/หัวข้อกำรทดลอง ไม่มสี ิทธิเข้ำสอบไล่
2. จะพิจำรณำคะแนนเฉพำะส่วนที่เป็นกำรสอบข้อเขียนก่อน (คะแนนสอบ Mid Term และ คะแนนสอบไล่)
ถ้ำได้คะแนนสอบข้อเขียน มำกกว่ำ 30% (54 คะแนน จำก 180 คะแนน) จึงจะนำคะแนนสอบข้อเขียนไปรวม
กับคะแนนรำยงำน เป็นคะแนนรวมตัดเกรด เพื่อตัดเกรดขัน้ สุดท้ำยต่อไป แต่ถ้ำได้คะแนนสอบข้อเขียนต่ำกว่ำ
30% (54 คะแนน) จะถูกพิจำรณำให้สอบตก โดยไม่ต้องนำคะแนนรำยงำนมำพิจำรณำร่วมด้วยแต่อย่ำงใด
3. ได้คะแนนรวมตัดเกรด (คะแนนรำยงำนภำคปฏิบัติ + คะแนนสอบข้อเขียน) มำกกว่ำ 50% ถือว่ำสอบผ่ำน

10. เอกสารอ้างอิง
เอกสำรจัดทำโดย ผศ.เดชำวุธ จำรุตำมระ
ปรับปรุงครัง้ ที่ 1 โดย ผศ.ดร.สุริยะ ทองมุณี

ผศ.ดร.สุริยะ ทองมุณี viii


แนะนำวิชำ CE 372 Engineering Soil Tests

แผนการสอนรายวิชา

CE 372 ENGINEERING SOIL TESTS


ระดับปริญญาตรี ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
1. ชื่อผู้สอน
ผศ.ดร.ธวัชชัย ตันชัยสวัสดิ์ ผศ.ดร.พีรพงศ์ จิตเสงี่ยม
ผศ.ดร เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผำ ผศ.ดร.สุริยะ ทองมุณี

2. รายละเอียดวิชาที่สอน
รหัสกระบวนวิชำ CE 372
ชื่อกระบวนวิชำ ปฏิบัตกิ ำรกลศำสตร์ดนิ (ENGINEERING SOIL TESTS)
จำนวนหน่วยกิต 1 หน่วยกิต ลักษณะกระบวนวิชำ ปฏิบัติ
ลักษณะกำรสอน สอนหลำยคน วันเวลำที่สอน ขึน้ อยูก่ ับกำรจัดเวลำในแต่ละภำคกำรศึกษำ

3. คาอธิบายลักษณะกระบวนวิชา
กำรทดสอบในสนำมและในห้องปฏิบัตกิ ำรเกี่ยวกับปฐพีกลศำสตร์, มำตรฐำนในกำรหำค่ำคุณสมบัติของดิน,
กำรใช้เครื่องมือ, กำรเขียนรำยงำน กำรวิเครำะห์ผล และกำรอภิปรำยของผลกำรทดสอบ
Field testing and laboratory experiments in soil mechanics; standard tests to determine various
engineering properties of soils; uses of equipment; report writing, analysis, and discussion of test results.

4. แผนการสอน
สัปดาห์ที่ เนื้อหาที่สอน แบบฝึกหัด ผู้สอน หมายเหตุ
INTRODUCTION TO SOIL TESTING and REPORT
1 ผศ.ดร.สุริยะ
MOISTURE CONTENT DETERMINATION
2 SPECIFIC GRAVITY and SIEVE ANALYSIS REPORT ผศ.ดร.สุริยะ เนื้อหา
3 HYDROMETER TEST REPORT ผศ.ดร.สุริยะ สอบกลางภาค
REPORT 80 คะแนน
4 ATTERBERG LIMITS TESTS ผศ.ดร.สุริยะ
5 SOIL COMPACTION REPORT ผศ.ดร.พีรพงศ์
6 FIELD DENSITY TEST REPORT ผศ.ดร.พีรพงศ์
7 PERMEABILITY TEST REPORT ผศ.ดร.พีรพงศ์
8 Midterm Examination
9 UNCONFINED COMPRESSION TEST REPORT ผศ.ดร.ธวัชชัย
10 DIRECT SHEAR TEST REPORT ผศ.ดร.ธวัชชัย เนื้อหา
11 TRIAXIAL COMPRESSION TEST REPORT ผศ.ดร.ธวัชชัย สอบ FINAL
12-14 CONSOLIDATION TEST REPORT ผศ.ดร เศรษฐพงศ์ 100 คะแนน
15 COURSE SUMMARY AND REPORTING REPORT

ผศ.ดร.สุริยะ ทองมุณี ix
แนะนำวิชำ CE 372 Engineering Soil Tests

5. ระบุกิจกรรมที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ให้นัก ศึกษำทำงำนเป็น กลุ่ม และสำมำรถวิเครำะห์คุณสมบัติข องดิน ได้โดยอำศั ยผลจำกกำรทดสอบใน
ห้องปฏิบัตกิ ำร

6. ระบุเวลาสอบ
สอบกลำงภำค ขึน้ อยูก่ ับกำรจัดเวลำในแต่ละภำคกำรศึกษำ
สอบปลำยภำค ขึน้ อยูก่ ับกำรจัดเวลำในแต่ละภำคกำรศึกษำ

7. สัดส่วนการให้คะแนน
คะแนนสอบกลำงภำค 25 %
คะแนนสอบไล่ 35 %
คะแนนรำยงำนและกำรปฏิบัตกิ ำร 40 %

8. หนังสือ/วารสาร ประกอบการเรียนการสอน
1. BOWLES, J.E. “Engineering Properties of Soils and Their Measurement”
2. DAS, B.M.; “Soil Mechanics Laboratory Manual”

9. เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
(/) อิงเกณฑ์
(/) อิงกลุ่ม

ลงชื่อ ................................................. ผู้สอน ลงชื่อ ................................................. ผู้สอน


( ผศ.ดร.ธวัชชัย ตันชัยสวัสดิ์ ) ( ผศ.ดร.พีรพงศ์ จิตเสงี่ยม )

ลงชื่อ ................................................. ผู้สอน ลงชื่อ ................................................. ผู้สอน


( ผศ.ดร เศรษฐพงศ์ เศรษฐบุปผำ ) ( ผศ.ดร.สุริยะ ทองมุณี )

ลงชื่อ ................................................. ประธำน ลงชื่อ ................................................. หัวหน้ำภำคฯ


หลักสูตรฯ ( )
( )

ผศ.ดร.สุริยะ ทองมุณี x
CE 372 ENGINEERING SOIL TESTS
การทดสอบเรือ่ งที่ 1
การทดสอบเพื่อประเมินค่าความชื้นของมวลดิน
LABORATORY DETERMINATION OF MOISTURE CONTENT OF SOILS
การทดสอบเพื่อประเมินค่าหน่ วยนา้ หนักมวลดิน
LABORATORY DETERMINATION OF TOTAL UNIT WEIGHT OF SOILS

1. บทนา
มวลดินประกอบไปด้วยเม็ดดิน (soil particles) และช่องว่างระหว่างเม็ดดิน (voids) น้าทีม่ อี ยูใ่ นมวลดิน จะ
อยูใ่ นช่องว่างระหว่างเม็ดดิน มวลดินทีไ่ ม่มนี ้าในช่องว่างระหว่างเม็ดดิน เรียกว่า ดินแห้ง (dry soil) และมวลดินทีม่ ี
น้าอยูเ่ ต็มช่องว่างระหว่างเม็ดดิน เรียกว่า มวลดินอิม่ ตัว (saturated soil) ในมวลดินทัวไป ่ ช่องว่างระหว่างเม็ด
ดินอาจมีน้าอยูเ่ ป็ นบางส่วน ทีว่ ่างทีเ่ หลือเป็ นช่องว่างอากาศ (air voids) มวลดินลักษณะนี้ เรียกว่า มวลดินไม่
อิม่ ตัว (partially saturated soil) ปริมาณน้าทีม่ อี ยูใ่ นมวลดิน มีผลกระทบต่อคุณสมบัตทิ างวิศวกรรมของมวลดิน
นัน้ เป็ นอย่างมาก มวลดินชนิดเดียวกันและมีชอ่ งว่างระหว่างเม็ดดินเท่ากัน แต่มปี ริมาณน้าในช่องว่างไม่เท่ากัน จะ
มีคณ ุ สมบัตทิ างวิศวกรรมทีแ่ ตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น ก้อนดินเหนียวแห้งจะมีความแข็งแรงสูง ไม่สามารถบีบหรือ
ปั น้ ให้เปลีย่ นแปลงรูปร่างได้ แต่ถา้ นาก้อนดินเหนียวก้อนนัน้ ไปแช่น้าจนอยูใ่ นสภาพอิม่ ตัว (saturated) ความ
แข็งแรงของก้อนดินเหนียวจะลดลง สามารถบีบหรือปั น้ ให้เป็ นรูปร่างต่างๆได้ การบ่งบอกปริมาณน้าทีม่ อี ยูใ่ น
มวลดิน ทีใ่ ช้อยูใ่ นวิชา Soil Mechanics มีอยู่ 2 วิธี คือ
ก. บอกปริมาณน้าทางด้านปริมาตร โดยการเปรียบเทียบปริมาตรน้าในมวลดิน (Vw) เป็ นสัดส่วนของ
ปริมาตรช่องว่างระหว่างเม็ดดิน (Vv) ในมวลดินนัน้ ค่าทีไ่ ด้ เรียกว่า degree of saturation; Sr
ข. บ่งบอกปริมาณน้าทางด้านมวล โดยการเปรียบเทียบมวลของน้าในมวลดิน (Ww) เป็ นสัดส่วนของมวล
ของเม็ดดิน (soil solids; Ws) ในมวลดินนัน้ ค่าทีไ่ ด้ เรียกว่า ค่าความชืน้ (moisture content; m, หรือ
water content; w)

2. วัตถุประสงค์ของการทดสอบ
เพือ่ ฝึกฝนให้นกั ศึกษารูจ้ กั วิธกี ารประเมินค่าความชืน้ ของมวลดินอย่างถูกต้อง พร้อมทัง้ เรียนรูท้ าความ
เข้าใจความหมายของความชืน้ ของมวลดิน เพราะการประเมินค่าความชืน้ เป็ นการทดสอบพืน้ ฐานในการวิเคราะห์
คุณสมบัตทิ างวิศวกรรมต่างๆของมวลดิน

3. เอกสารอ้างอิ ง
3.1 มาตรฐาน ASTM D 2216
Standard Method for Laboratory Determination of Water (Moisture) Content of Soil, Rock,
and Soil Aggregate Mixtures
CE 372 Lab. No.1 Page 2

3.2 มาตรฐาน AASHTO DESIGNATION T 265


Standard Method of Test for Laboratory Determination of Moisture Content of Soils
3.3 BOWLES, J.E. (1992)
"Engineering Properties of Soils and their Measurement "
McGraw-Hill Book Co.; Fourth Edition 1992; Experiment No.1
3.4 LIU, C and EVETT, J. B. (1997)
"Soil Properties: Testing, Measurement, and Evaluation "
Prentice-Hall Inc.; Third Edition 1997.

4. ทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง

ความชืน้ หรือ moisture content เป็ นคุณสมบัตทิ างกายภาพพืน้ ฐานของมวลดิน ค่าความ ชืน้ ของมวลดิน
ถูกกาหนด ให้เป็ นอัตราส่วนระหว่าง น้าหนัก (มวล) ของน้าทีม่ อี ยูใ่ นมวลดินใดๆ กับน้าหนัก (มวล) ของเม็ดดินทีม่ ี
อยูใ่ นมวลดินเดียวกันนัน้ หรือ

Ww
w = ……………….. (1.1)
Ws

เมือ่ w เป็ นค่าความชืน้ ของมวลดิน (บางแห่งอาจใช้สญ


ั ลักษณ์ m แทน w ก็ได้)
Ww เป็ นมวลหรือน้าหนักของน้าในมวลดิน
WS เป็ นมวลหรือน้าหนักของเม็ดดินในมวลดินก้อนเดียวกันนัน้

ค่าความชืน้ ของมวลดินทีค่ านวณได้โดยใช้สมการที่ 1.1 นี้ เป็ นปริมาณไม่มหี น่วย โดยทัวไป


่ ค่าความชืน้
ของมวลดินจะแสดงไว้ในรูปของ ร้อยละ คือ มวลของน้าทีม่ อี ยูใ่ นมวลดิน คิดเป็ น ร้อยละเท่าใดของมวลของเม็ดดิน
ในมวลดินเดียวกันนัน้ หรือ

 Ww 
w =   x 100 (%) ……………….. (1.2)
 Ws 

ค่าความชืน้ ของมวลดินใดๆ สามารถมีคา่ เกิน 1.00 เมือ่ ประเมินโดยสมการที่ 1.1 หรือมีค่าเกิน 100%
เมือ่ ประเมินจากสมการที่ 1.2 ก็ได้ หมายความว่าในมวลดินนัน้ ๆมีมวลของน้ามากกว่ามวลของเม็ดดิน ซึง่ เป็ นไป
ได้ในกรณีทม่ี วลดินดังกล่าวมีช่องว่างระหว่างเม็ดดินมาก เช่นมวลดินเหนียวทีจ่ ดั ตัวแบบ edge-to-face
flocculation เม็ดดินแผ่นแบบจับตัวกันอย่างหลวมๆทาให้มวลดินมีปริมาตรช่องว่าง (void) มากกว่าปริมาตรเม็ด
ดิน มีทาให้มวลดินนัน้ มีคา่ ความพรุน (porosity) สูง มวลดินทีอ่ มิ่ ตัว (saturated) จึงมีปริมาตรและมวลของน้า
มากกว่าปริมาตรและมวลของเม็ดดิน
CE 372 Lab. No.1 Page 3

5. วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ

5.1 ตัวอย่างดินแห้งร่อนผ่านตะแกรง ASTM No.40 ประมาณ 75-85 กรัม


5.2 ภาชนะใส่ตวั อย่างดิน หรือ กระป๋ องหาควมชืน้ (moisture tin) 1 ใบ
5.3 ขวดฉีดน้า หรือ กระบอกตวงขนาด 100 cc
5.4 มีดปาดดิน สาหรับใช้คลุกผสมดินกับน้าให้เข้ากัน
5.5 เตาอบ ควบคุมอุณหภูมคิ วามร้อนภายในให้คงทีไ่ ด้ ที่ 1100C (+/-) 50C
5.6 เครือ่ งชังไฟฟ้
่ า ชังได้
่ ละเอียดถึง 0.01 กรัม

6. วิ ธีการทดสอบ

วิธกี ารทดสอบเพือ่ ประเมินค่าความชืน้ ของตัวอย่างดินโดยทัวไป ่ มีขนั ้ ตอนดังนี้ คือ


ก. นากระป๋ องหาความชืน้ มาบันทึกหมายเลขและชังน ่ ้าหนักกระป๋ องเปล่า แล้วนาตัวอย่างดินทีต่ อ้ งการหา
ความชืน้ ใส่กระป๋ องในปริมาณทีเ่ หมาะสม แล้วนากระป๋ องใส่ดนิ เปี ยกไปชังน ่ ้าหนัก
0 0
ข. นากระป๋ องใส่ดนิ ไปเข้าเตาอบทีอ่ ณ ุ หภูม ิ 110 C (+/-) 5 C จนดินแห้ง (ใช้เวลาอย่างน้อย 12-16 ชัวโมง)

ค. นากระป๋ องใส่ดนิ แห้งออกจากเตาอบ ตัง้ ทิง้ ไว้ให้อณ ุ หภูมลิ ดลง จนสามารถจับกระป๋ องได้ดว้ ยมือเปล่า
แล้วนากระป๋ องใส่ดนิ แห้งไปชังน
่ ้าหนัก
ง. คานวณหาน้าหนักน้าในตัวอย่างดิน ( Ww ) และน้าหนักดินแห้งในกระป๋ อง ( Ws ) แล้วนาข้อมูลทีไ่ ด้ไป
คานวณหาความชืน้ ของตัวอย่างดินโดยใช้สมการที่ 1.2

7. ข้อมูลเพิ่ มเติ มเกี่ยวกับการทดสอบนี้

9.1 เตาอบทีใ่ ช้ตอ้ งสามารถควบคุมอุณหภูมคิ งทีไ่ ด้ท่ี 1100C (+/-) 50C แต่ถา้ ตัวอย่างดินเป็ นดินที่ มี
สารอินทรีย์ หรือมีแร่ยปิ ซัม่ หรือมีสารประกอบบางชนิดทีส่ ามารถแปรสภาพได้งา่ ยภายใต้ความร้อน
สูงปนอยูม่ าก การอบตัวอย่างดินดังกล่าวทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู จะทาให้สารดังกล่าวสลายตัวไปพร้อมกับน้า
ในมวลดิน ทาให้คา่ ความชืน้ ของมวลดินทีป่ ระเมินได้ สูงกว่าความเป็ นจริง ดังนัน้ การอบดิน
ประเภทนี้ จึงควรควบคุมอุณหภูมเิ ตาอบไว้ทป่ี ระมาณ 600C
9.2 ASTM D 2216 ระบุว่า ส่วนใหญ่แล้ว การอบตัวอย่างดินข้ามคืน หรืออย่างน้อย ระหว่าง 12 – 16
ชัวโมง
่ ก็น่าจะเพียงพอทีจ่ ะทาให้ตวั อย่างดินแห้งได้ แต่อย่างไรก็ตาม ตัวอย่างดินชืน้ ทีใ่ ช้ทาการ
ทดสอบ ควรจะมีปริมาณทีเ่ หมาะสม ถ้ามากเกินไป จะอบให้แห้งได้ยาก หากน้อยเกินไป จะเกิด
ความคลาดเคลื่อนของผลการทดสอบได้มาก AASHTO และ BOWLES (1992) แนะนาปริมาณ
ตัวอย่างดินสาหรับทดสอบหาความชืน้ โดยพิจารณาจากขนาดของเม็ดดินในตัวอย่างดินนัน้ ๆ ดัง
แสดงไว้ในตารางที่ 1.1 หรือ ทีแ่ นะนาโดย ASTM ตามตารางที่ 1.2
9.3 เมือ่ นาตัวอย่างดินเปี ยกใส่กระป๋ องหาความชืน้ แล้ว ให้รบี นาไปชังน ่ ้าหนักทันที หากตัง้ ทิง้ ไว้ น้าใน
ตัวอย่างดินอาจระเหยหายไปบางส่วน ทาให้ประเมินค่าความชืน้ ของตัวอย่างดินได้น้อยกว่าทีเ่ ป็ น
จริง แต่เมือ่ ชังน
่ ้าหนักกระป๋ องดินเปี ยกแล้ว จะตัง้ กระป๋ องดินทิง้ ไว้ก่อน แล้วจึงนากระป๋ องดินเปี ยก
ไปเข้าเตาอบในภายหลังก็ได้
CE 372 Lab. No.1 Page 4

9.4 การอบดินให้แห้งในเตาอบไฟฟ้ าตามวิธมี าตรฐานทีก่ ล่าวไว้ในทีน่ ้ี ต้องใช้เวลานานกว่า จะทราบผล


ในกรณีทต่ี อ้ งการทาให้ดนิ แห้งในเวลาทีเ่ ร็วขึน้ ได้มกี ารนาเตาอบไมโครเวฟมาทาการอบดิน ซึง่ จะ
ทาให้น้าในมวลดินสลายตัวได้หมดในเวลาไม่ถงึ 10 นาที การอบดินด้วยเตาอบไมโครเวฟนี้ ได้ม ี
วิธกี ารกาหนดไว้เป็ นมาตรฐาน โดย ASTM คือ ASTM D 4643: Standard Test Method for
Determination of Water (Moisture) Content of Soil by the Microwave Oven Method แต่ม ี
ข้อจากัดเกีย่ วกับชนิดของดินทีจ่ ะทาการทดสอบโดยวิธนี ้ีได้อยูห่ ลายประการ และยังไม่แนะนาให้ใช้
วิธนี ้ีเป็ นวิธมี าตรฐานแทนการอบด้วยเตาอบไฟฟ้ า ในกรณีทม่ี ขี อ้ สงสัยในผลการทดสอบโดยการใช้
เตาอบไมโครเวฟ ASTM ระบุให้ยดึ ถือผลการทดสอบทีไ่ ด้จากวิธี ASTM D 2216 เป็ นผลการ
ทดสอบทีถ่ กู ต้องเสมอ

ตารางที่ 1.1 ปริมาณตัวอย่างดินทีแ่ นะนาให้ใช้ในการประเมินค่าความชืน้ ของดินโดย AASHTO และ


BOWLES

เม็ดดินขนาดใหญ่ทส่ี ดุ AASHTO แนะนา BOWLES แนะนาให้ใช้ BOWLES แนะนาความ


(มากกว่าร้อยละ 95 ให้ใช้ไม่น้อยกว่า ตัวอย่างดินมีน้าหนัก ละเอียดของเครือ่ งชังที
่ ใ่ ช้ชงั ่
ร่อนผ่านตะแกรง) (กรัม) ระหว่าง น้าหนัก
(กรัม) (กรัม)
0.425 mm. (No.40) 10 10 - 200 0.01
4.75 mm. (No.4) 100 300 - 500 0.1
12.5 mm. (1/2 in.) 300 300 - 1000 0.1
25.0 mm. (1 in.) 500 ไม่ระบุ ไม่ระบุ
50.0 mm. (2 in.) 1,000 1500 - 3000 1

ตารางที่ 1.2 ปริมาณตัวอย่างดินทีแ่ นะนาให้ใช้ในการประเมินค่าความชืน้ ของดินโดย ASTM

Maximum Standard Recommended minimum mass of moist test


particle size Sieve Size specimen for water content
(100% passing)
reported to (+/-) 0.1 % reported to (+/-) 1 %
2 mm or less No. 10 20 g 20 g *
4.75 mm No. 4 100 g 20 g *
9.5 mm 3/8 in. 500 g 50 g
19.0 mm 3/4 in. 2.5 kg 250 g
37.5 mm 1 1/2 in. 10 kg 1 kg
75.0 mm 3 in. 50 kg 5 kg
Note : * To be representative, not less than 20 g shall be used.

@@@@@@@@@@@@@@@@@
CE 372 Lab. No.1 Page 5

การทดสอบเพื่อประเมินค่าหน่ วยนา้ หนักมวลดิน


LABORATORY DETERMINATION OF TOTAL UNIT WEIGHT OF SOILS

1.บทนา
ค่าน้ าหนักรวมต่อหน่ วยปริ มาตร (Total Unit Weight) หรื อหน่ วยน้ าหนักของมวลดินในธรรมชาติ
(Moist Unit Weight) มีความสาคัญอย่างมากสาหรับวิศวกรปฐพีสาหรับการคานวณค่าหน่วยแรงกดทับของชั้น
ดินตามธรรมชาติที่ความลึกต่างๆ (Overburden Pressure) นอกจากนี้ ยงั ถูกนาไปใช้เป็ นค่าคงตัวที่เป็ นตัวแปรใน
สู ตรการคานวณต่างๆ เช่นการคานวณค่าน้ าหนักบรรทุกของฐานราก การคานวณการทรุ ดตัวของดิ น เป็ นต้น
การทดลองหาค่าน้ าหนักรวมต่อหน่ วยปริ มาตร (Total Unit Weight) โดนทัว่ ไปจะจากัดเฉพาะดิ นเหนี ยวที่
สามารถตั้งรู ปทรงได้ ตัวอย่างที่ทดสอบต้องเป็ นตัวอย่างดิ นคงสภาพ ซึ่ งเป็ นข้อจากัดที่ไม่สามารถทดลองกับ
ตัวอย่างทราย-กรวดได้ เพราะไม่สามารถเก็บตัวอย่างแบบคงสภาพได้ (การเก็บตัวอย่างด้วยกระบอกโดยทัว่ ไป
ถือว่าตัวอย่างจะถูกรบกวนไปบ้างแล้ว) อย่างไรก็ตามในบางกรณี ที่มีความจาเป็ นจะต้องได้ค่าน้ าหนักรวมต่อ
หน่วยปริ มาตร (Total Unit Weight) ของดินสามารถทาได้หลายวิธี คือ
1. วิธีใช้วงแหวนตัวอย่าง (Sample Ring) มีขอ้ ดีที่ทดลองได้สะดวก รวดเร็ วใช้ตวั อย่างดินน้อย ซึ่ งเป็ น
ตัวอย่างการทดลองในบทนี้ แต่อาจจะไม่เหมาะกับดินที่มีกรวด-ทรายปน
2. วิธีใช้วดั ปริ มาตรดิ นในกระบอก สาหรับตัวอย่างดินที่แข็งมาก ไม่สามารถดันตัวอย่างดิ นออกจาก
กระบอกได้ และดินที่มีกรวด-ทรายผสม เมื่อดันตัวอย่างดินออกมาแล้ว อาจจะไม่ทรงตัว
3. วิธีใช้หาปริ มาตรของดินด้วยการแทนที่น้ าหรื อปรอท สาหรับดินเหนี ยวที่มีสัมประสิ ทธิ์ การซึ มผ่าน
ต่าที่จะไม่ซึมซับน้ าเข้าไปในตัวอย่างในระยะเวลาสั้นๆ สามารถใช้วิธีแทนที่น้ าได้ ส่ วนดินที่แห้งและแตกง่าย
ควรใช้วธิ ี แทนที่ปรอทวิธีน้ ีสามารถใช้กบั ตัวอย่างดินที่ไม่เป็ นรู ปทรงแน่นอน (Irregular Shape)
อีกวิธีหนึ่ งที่จะได้น้ าหนักรวมต่อหน่วยปริ มาตร (Total Unit Weight) ระหว่างทดลองแรงอัดแบบไม่
ถูกจากัด (Unconfined Compression Test) และทดสอบอัดตัวคายน้ า (Consolidation Test) การทดสอบแรงอัด 3
แกน (Triaxial Test) เมื่อได้ทาการตัดแต่งตัวอย่างเป็ นรู ปทรงที่แน่นอน ก็สามารถคานวณค่าน้ าหนักรวมต่อ
หน่วยปริ มาตร (Total Unit Weight) ได้โดยตรงและจะต้องรายงานค่าน้ าหนักรวมต่อหน่วยปริ มาตร (Total Unit
Weight) ของตัวอย่างดินประกอบรายงานด้วย

2. วัตถุประสงค์ ของการทดสอบ
เพื่อฝึ กฝนให้นกั ศึกษารู ้จกั วิธีการในการหาค่าน้ าหนักรวมต่อหน่วยปริ มาตรของมวลดินอย่างถูกต้อง
เพื่อเตรี ยมความพร้อมสาหรับการทาการทดสอบอื่น ๆ ในห้องปฏิบตั ิการต่อไป

3. เอกสารอ้างอิง
CE 372 Lab. No.1 Page 6

3.1 เอกสารประกอบการสอนการทดสอบปฐพีกลศาสตร์ จากเวปไซต์


http://www.gerd.eng.ku.ac.th/Cai/Ch02/ch022_theory.htm

4. ทฤษฎีและหลักการที่เกีย่ วข้ อง
หน่วยน้ าหนักรวม (Total Unit Weight) หรื อ หน่วยน้ าหนักดินเปี ยก (Moist Unit Weight) เป็ น
คุณสมบัติทางกายภาพพื้นฐานของมวลดิน หน่วยน้ าหนักรวมของมวลดินถูกกาหนด ให้เป็ นอัตราส่ วนระหว่าง
น้ าหนักของดินเปี ยกกับปริ มาตรของมวลดินนั้น หรื อ

……………….. (1.1)

เมื่อ W เป็ นค่าน้ าหนักของดินเปี ยก


Ww เป็ นน้ าหนักของน้ าในมวลดิน
WS เป็ นน้ าหนักของเม็ดดินในมวลดินก้อนเดียวกันนั้น
V เป็ นปริ มาตรของมวลดิน

5. วัสดุและอุปกรณ์ ทใี่ ช้ ในการทดสอบ


5.1 วงแหวนตัวอย่าง (Sample Ring)
5.2 เลื่อยเส้นลวด (Wire Saw)
5.3 เครื่ องชัง่ อ่านละเอียด 0.01 กรัม หรื อเครื่ องชัง่ 2610 กรัม อ่านละเอียด 0.1 กรัม
5.4 เวอร์เนียร์คาลิเปอร์
5.5 จารบีหรื อสารหล่อลื่น
6. วิธีการทดสอบ
6.1 ชัง่ วงแหวนตัวอย่าง วัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน และวัดความสู ง 2-3 ครั้ง
6.2 ใช้จารบีซิลิโคน (Silicone Grease) หรื อจารบีธรรมดาทาภายในวงแหวนบางๆ
6.3 ตัดตัวอย่างดินที่จะทดสอบให้มีความยาวกว่าความสู งของวงแหวนเล็กน้อย วางตัวอย่างดินบน
พื้นโต๊ะ ใช้เลื่ อยเส้นลวดตัดตัวอย่างดิ นในแนวตั้ง ให้มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่าเส้น
ผ่านศูนย์กลางของวงแหวนเล็กน้อย ตั้งวงแหวนบนตัวอย่างดิ น และกดลงในดิ นตามแนวดิ่ ง
จนกระทัง่ มิ ด และดิ นภายในวงแหวนพ้นขอบวงแหวนเล็กน้อย ใช้เลื่ อยเส้ นลวดตัดดิ นให้
เรี ยบหัวท้าย ทาความสะอาดเศษดินนอกวงแหวนจนสะอาด
6.4 นาวงแหวนที่มีตวั อย่างดินบรรจุอยูข่ ้ ึนชัง่
CE 372 Lab. No.1 Page 7
CE 372 ENGINEERING SOIL TESTS
EXPERIMENT No. 1
MOISTURE CONTENT DETERMINATION OF SOILS

ชือ่ - สกุล ....................................................... รหัส .................... ตอนที่ ......... วันทดสอบ ........................

1. การหาความชื้นของตัวอย่างดิ นโดยวิ ธีอบแห้ง


2.1 หมายเลขกระป๋ องหาความชืน้ (container No..) .........................
2.2 น้าหนักกระป๋ อง + ดินเปี ยก (Wt. container + wet soil) ......................... กรัม
2.3 น้าหนักกระป๋ อง + ดินอบแห้ง (Wt. container + dry soil) ......................... กรัม
2.4 น้าหนักกระป๋ องเปล่า (Wt. container) ......................... กรัม
2.5 น้าหนักน้าในตัวอย่างดิน (Wt. water; Ww ) ......................... กรัม
2.6 น้าหนักดินแห้งในกระป๋ อง (Wt. dry soil; Ws ) ......................... กรัม
2.7 ความชืน้ ของตัวอย่างดิน (Moisture Content; w) ......................... %

2. การหาหน่ วยน้าหนักรวม
1.1 น้าหนักของวงแหวนตัวอย่าง (Wt. ring) ......................... กรัม
1.2 น้าหนักของวงแหวนตัวอย่างและตัวอย่างดิน (Wt. ring + wet soil) ......................... กรัม
1.3 น้าหนักขอตัวอย่างดิน (Wt. soil, W) ......................... กรัม
1.4 ปริมาตรของตัวอย่างดิน (Volume of soil, V) ......................... ซม3

1.5 หน่วยน้าหนักรวมของตัวอย่างดิน (Total Unit Weight, ) ......................... ตัน/ม3

1.5 หน่วยน้าหนักแห้งของตัวอย่างดิน (Dry Unit Weight, d) ......................... ตัน/ม3

3. รายการคานวณ
................................................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................................................
CE 372 ENGINEERING SOIL TESTS
การทดสอบเรือ่ งที่ 2
การทดสอบเพื่อประเมินค่าความถ่วงจาเพาะของดิน
TEST FOR SPECIFIC GRAVITY OF SOILS

1. บทนา

มวลดินธรรมชาติประกอบไปด้วยเม็ดดินจานวนมากรวมตัวกันอยูเ่ ป็ นมวลดิน เม็ดดินแต่


ละเม็ดมีกาเนิดมาจากหินชนิดเดียวกัน หรือต่างชนิดกัน หรือโครงสร้างภายในผ่านการเปลีย่ นแปลงโดยขบวนการ
ทางเคมีทแ่ี ตกต่างกัน ทาให้เม็ดดินแต่ละเม็ดมีคา่ ความถ่วงจาเพาะ หรือ specific gravity ไม่เท่ากัน ดังนัน้ เมือ่
เม็ดดินจานวนมากมารวมตัวกันเป็ นมวลดินจึงจาเป็ นทีจ่ ะต้องมีคา่ ความถ่วงจาเพาะของมวลดินนัน้ ค่าหนึ่ง โดย
กาหนดขึน้ จากค่าเฉลีย่ ของค่าความถ่วงจาเพาะของเม็ดดินทัง้ หมดในมวลดินนัน้ เพือ่ นาไปใช้ในการคานวณ
ประเมินค่าคุณสมบัตทิ างกายภาพ และวิเคราะห์ผลการทดสอบทางวิศวกรรมอืน่ ๆของมวลดินนัน้ ต่อไป อนึ่ง คา
ว่า ค่าความถ่วงจาเพาะ ในตารา Soil Mechanics ทัวไป ่ จะใช้ศพั ท์ภาษาอังกฤษว่า specific gravity แต่ใน
ตาราบางเล่ม จะใช้คาว่า relative density แทนในความหมายเดียวกัน ซึง่ อาจทาให้เกิดความสับสนได้ เนื่องจาก
คาว่า relative density นี้ ได้มกี ารนาไปใช้โดยมีความหมายต่างๆกันอีกหลายกรณี

2. วัตถุประสงค์ของการทดสอบ

เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้เรียนรู้ ทาความเข้าใจ และฝึกปฏิบตั กิ ารทดสอบเพือ่ ประเมินค่าความ


ถ่วงจาเพาะ ของมวลดินคละทีป่ ระกอบไปด้วยเม็ดดินขนาดเล็กกว่า 4.75 มม. รวมไปถึงการคานวณทีเ่ กีย่ วข้อง

3. เอกสารอ้างอิ ง

3.1 มาตรฐาน ASTM D 854


Standard Test Method for Specific Gravity of Soils
3.2 มาตรฐาน AASHTO DESIGNATION T 100
Standard Method of Tests for Specific Gravity of Soils
3.3 มาตรฐานอังกฤษ (BRITISH STANDARD) BS 1377:1975 TEST 6
Determination of the Specific Gravity of Soil Particles
3.4 BOWLES, J.E. (1992)
"Engineering Properties of Soils and their Measurement "
McGraw-Hill Book Co.; Fourth Edition 1992; Experiment No.7
CE 372 Lab. No. 2 page 9

4. ทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง

ค่าความถ่วงจาเพาะหรือ specific gravity ของวัสดุใดๆ ตามหลักการทางฟิ สกิ ส์ เป็ นค่า


ุ หภูม ิ 4OC หรือ
อัตราส่วนระหว่าง ความหนาแน่นของวัสดุนนั ้ กับความหนาแน่นของน้าบริสทุ ธิ ์ทีอ่ ณ

s Ws 1
GS s = = x ……………….. (2.1)
w4 Vs  w 4

เมือ่ GS เป็ นค่าความถ่วงจาเพาะของวัสดุ ซึง่ ในทีน่ ้ี เป็ นเม็ดดินในมวลดินคละ


S เป็ นค่าความหนาแน่นของเม็ดดินในมวลดินคละ
W4 เป็ นค่าความหนาแน่นมวลของน้าบริสทุ ธิ ์ ทีอ่ ณ ุ หภูม ิ 4OC
WS เป็ นมวลรวมของเม็ดดินในมวลดินคละภายใต้การพิจารณา
VS เป็ นปริมาตรรวมของเม็ดดินในมวลดินคละทีม่ มี วล WS นัน้

ในการหาค่าความถ่วงจาเพาะของเม็ดดินในมวลดินคละ มวลรวมของเม็ดดิน (WS) จะหาได้


จากการชังน่ ้าหนักมวลดินแห้งทีใ่ ช้ทาการทดสอบ ส่วนปริมาตรรวม (VS) หาได้โดยการนามวลดิน WS นัน้ ไป
แทนทีน่ ้าบริสทุ ธิ ์ในขวดหาค่าความถ่วงจาเพาะ (pycnometer) ซึง่ เป็ นขวดทีม่ ปี ริมาตรคงที่ น้าหนักน้าบริสทุ ธิ ์ใน
ขวดหาค่าความถ่วงจาเพาะทีถ่ กู มวลดินคละแทนที่ (WWT) ซึง่ มีอณ ุ หภูม ิ TOC ใดๆ จะมีปริมาตร VWT เท่ากับ
ปริมาตรของมวลดินคละทีใ่ ช้ทาการทดสอบ (VS) โดยที่

WwT
VWT = = VS ……………….. (2.2)
 wT

เมือ่ VWT เป็ นปริมาตรของน้าบริสทุ ธิ ์ทีม่ มี วล WWT ทีอ่ ณ ุ หภูม ิ TOC


WWT ุ หภูม ิ TOC ทีถ่ กู แทนทีโ่ ดยมวลดินคละ WS
เป็ นมวลของน้าบริสทุ ธิ ์ทีอ่ ณ
WT เป็ นความหนาแน่นมวลของน้าบริสทุ ธิ ์ ทีอ่ ณ ุ หภูม ิ TOC

เมือ่ นา VS จากสมการที่ 2.2 ไปแทนค่าในสมการที่ 2.1 จะได้

Ws  wT
GS = x ……………….. (2.3)
 w 4 WwT

ในหน่วยระบบ METRIC และระบบ SI W4 มีคา่ = 1.000 g/cc ดังนัน้ สมการที่ 2.3 จึงเขียนได้เป็ น

 W 
GS =  wT  s  ……………….. (2.4)
 WwT 
CE 372 Lab. No. 2 page 10

ค่าความถ่วงจาเพาะของเม็ดดินในมวลดินคละทีค่ านวณได้โดยใช้สมการที่ 2.4 นี้เป็ นค่าความ


ุ หภูม ิ 4OC ตามสมการที่ 2.1 แต่ตามมาตรฐาน
ถ่วงจาเพาะทีอ่ า้ งอิงกับค่าความหนาแน่นมวลของน้าบริสทุ ธิ ์ทีอ่ ณ
ASTM D 854 และ BOWLES (1992) กาหนดให้ประเมินค่าความถ่วงจาเพาะของเม็ดดินในมวลดินคละ โดย
ุ หภูม ิ 20OC (W20) ดังนัน้ เมือ่ ทดสอบตามมาตรฐาน ASTM
อ้างอิงกับค่าความหนาแน่นมวลของน้าบริสทุ ธิ ์ ทีอ่ ณ
จึงแก้ไขสมการ 2.1 เป็ น

s Ws 1
GS s = = x ……………….. (2.5)
 w 20 Vs  w 20

ซึง่ จะทาให้สมการที่ 2.3 เขียนได้เป็ น

Ws  wT
GS = x
 w 20 WwT

 wT  Ws 
และ GS =   ……………….. (2.6)
 w 20  WwT 

อนึ่ง วิธกี ารทดสอบทีจ่ ะกล่าวถึงต่อไปนี้ เป็ นวิธกี ารทีก่ าหนดไว้เพือ่ ประเมินค่าความ


ถ่วงจาเพาะของเม็ดดินในมวลดินคละทีป่ ระกอบไปด้วยเม็ดดินขนาดเล็กกว่า 4.75 มม. หรือมวลดินคละทีส่ ามารถ
ร่อนผ่านตะแกรง ASTM No.4 ได้ทงั ้ หมด (BRITISH STANDARD กาหนดให้ใช้วธิ กี ารทดสอบนี้กบั มวลดินคละ
ทีป่ ระกอบไปด้วยเม็ดดินทีม่ ขี นาดเล็กกว่า 2.00 มม.) ในกรณีทม่ี วลดินคละประกอบไปด้วยเม็ดดินขนาดต่างๆ ทัง้
ใหญ่กว่าและเล็กกว่า 4.75 มม. ให้รอ่ นมวลดินคละดังกล่าวผ่านตะแกรง ASTM No.4 เสียก่อน มวลดินคละส่วนที่
ร่อนผ่านตะแกรง No.4 (เล็กกว่า 4.75 มม.) ให้ทดสอบโดยวิธกี ารทีก่ าหนดไว้ในทีน่ ้ี ส่วนของมวลดินคละทีค่ า้ งบน
ตะแกรง No.4 (ใหญ่กว่า 4.75 มม.) ให้ทดสอบโดยวิธอี น่ื ทีก่ าหนดไว้โดยเฉพาะสาหรับมวลคละหยาบ เช่น
ASTM C 127 หรือ AASHTO T 85 เป็ นต้น

5. วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ

5.1 ตัวอย่างดินแห้งร่อนผ่านตะแกรง ASTM No.40 หนักประมาณ 50 กรัม


5.2 ขวดหาค่าความถ่วงจาเพาะ ในทีน่ ้ีใช้ volumetric flask ความจุ 500 ml พร้อมจุกปิ ดขวด
5.3 น้ากลันที
่ ไ่ ล่อากาศออกแล้ว
5.4 กระบอกตวง (measuring cylinder) ความจุ 500 cc 1 ใบ
5.5 อุปกรณ์ให้ความร้อน และน้าเย็น (หรือ น้าแข็ง)
5.6 เทอร์โมมิเตอร์ อ่านค่าได้ในช่วง 0OC ถึง 50OC และอ่านได้ละเอียดถึง 1OC
5.7 เครือ่ งชังไฟฟ้
่ า ชังได้
่ ละเอียดถึง 0.01 กรัม
5.8 เตาอบ ควบคุมอุณหภูมใิ ห้คงทีไ่ ด้ท่ี 105OC - 110OC
CE 372 Lab. No. 2 page 11

6. วิ ธีการทดสอบ

ขัน้ ตอนการทดสอบแบ่งออกเป็ น 2 ส่วน คือ ส่วนแรก เป็ นการประเมินน้าหนักของขวดหาค่า


ความถ่วงจาเพาะทีใ่ ช้ในการทดสอบในขณะทีม่ นี ้าเต็มขวด ณ อุณหภูมติ ่างๆ (WaT) การทดสอบส่วนนี้เรียกว่า
pycnometer calibration หรือ volumetric flask calibration หลังจากได้ขอ้ มูลนี้แล้ว จึงนาขวดหาค่าความ
ถ่วงจาเพาะใบเดียวกันนี้ ไปใช้ทดสอบประเมินค่าความถ่วงจาเพาะของมวลดินคละทีก่ าหนดให้ ต่อไป

6.1 การทดสอบเพื่อ calibrate ขวดหาค่าความถ่วงจาเพาะ


6.1.1 นาขวดหาค่าความถ่วงจาเพาะ หรือ volumetric flask ทีจ่ ะใช้ในการทดลองมาล้างให้
สะอาด เช็ดให้แห้ง นาไปชังน ่ ้าหนักพร้อมจุกขวด บันทึกน้าหนักไว้เป็ น Wf แล้วเติมน้า
กลันให้
่ เต็มถึงระดับเครือ่ งหมายทีค่ อขวด นาขวดไปให้ความร้อน จนน้าเดือดนานประมาณ
10 นาที เพือ่ ไล่ฟองอากาศออกจากน้ากลัน่
6.1.2 ตัง้ ขวดทิง้ ไว้ให้อณ
ุ หภูมลิ ดลง (อาจนาขวดไปแช่ในถังน้าเย็น เพือ่ ช่วยให้อณ ุ หภูมลิ ดลงได้
เร็วขึน้ ) ตรวจสอบอุณหภูมนิ ้าในขวดด้วยเทอร์โมมิเตอร์ จนอุณหภูมลิ ดลงเหลือประมาณ
32OC
6.1.3 ถ้าระดับน้าในขวดอยูต่ ่ากว่าระดับเครือ่ งหมายทีค่ อขวด ให้เติมน้ากลันจนถึ
่ งระดับ
เครือ่ งหมายแล้วปิ ดจุกขวดเช็ดรอบขวดภายนอกให้แห้ง นาไปชังน ่ ้าหนักให้ได้ละเอียดถึง
0.01 กรัม แล้วบันทึกไว้เป็ นค่า WaT
6.1.4 จุ่มเทอร์โมมิเตอร์ลงไปในน้าในขวด อ่านค่าอุณหภูมนิ ้าทีร่ ะดับต่างๆในขวดอย่างรวดเร็ว
นามาหาค่าเฉลีย่ แล้วบันทึกไว้เป็ นค่า TOC
6.1.5 ตัง้ ขวดทิง้ ไว้หรือแช่ในถังน้าเย็นเพือ่ ให้อณ
ุ หภูมลิ ดลงต่อไปอีก
6.1.6 ทดสอบซ้าขัน้ ตอนที่ 6.1.3 ถึง 6.1.5 เมือ่ น้าในขวดมีอณ ุ หภูมปิ ระมาณ 28OC, 24OC, 20OC,
และ 16OC (หรือใกล้เคียง) ให้ได้ขอ้ มูลไม่ต่ากว่า 4 ค่า
6.1.7 นาข้อมูลเขียนเป็ นกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง น้าหนักขวดหาค่าความถ่วงจาเพาะทีม่ นี ้า
เต็ม (WaT) กับ อุณหภูมนิ ้าในขณะนัน้ ๆ (TOC)

6.2 การทดสอบเพื่อประเมิ นค่าความถ่วงจาเพาะของเม็ดดิ น


6.2.1 นาตัวอย่างดินแห้ง หนักประมาณ 50 กรัม ผสมกับน้ากลันประมาณ ่ 150 - 200 ml
ในกระบอกตวง เขย่าให้เม็ดดินแตกตัวในน้ากลันอย่ ่ างทัวถึ
่ ง
6.2.2 เทน้าดินจากกระบอกตวงใส่ขวด volumetric flask ที่ calibrate ไว้แล้ว ใช้น้ากลันฉี ่ ดล้างน้า
ดินจากกระบอกตวง ลงไปในขวดให้หมด แล้วเติมน้ากลันให้ ่ ได้ประมาณ 2 ใน 3 ของขวด
6.2.3 ทาการไล่ฟองอากาศในส่วนผสม โดยให้ความร้อนจนเดือดประมาณ 10 นาที แล้วเติมน้า
กลันที
่ ไ่ ล่อากาศแล้วลงไปจนเต็มถึงระดับเครือ่ งหมายทีค่ อขวด
6.2.4 ตัง้ ขวดทิง้ ไว้หรือนาไปแช่ในน้าเย็น ให้อณ ุ หภูมลิ ดลงเหลือประมาณ 28OC
6.2.5 ตรวจดูว่าระดับน้าในขวดอยูท่ ร่ี ะดับเครือ่ งหมายบนคอขวด ปิ ดจุกขวดให้สนิท เช็ดรอบขวด
ภายนอกให้แห้ง นาไปชังน ่ ้าหนักแล้วบันทึกไว้เป็ นค่า WbT
6.2.6 วัดอุณหภูมนิ ้าดินทีร่ ะดับต่างๆในขวด 3-4 ระดับอย่างรวดเร็วทันทีหลังจากชังน ่ ้าหนักตาม
O
ข้อ 6.2.5 เสร็จ นามาหาค่าอุณหภูมเิ ฉลีย่ แล้วบันทึกไว้เป็ นค่า T C
CE 372 Lab. No. 2 page 12

6.2.7 ทดสอบซ้าขัน้ ตอนที่ 6.2.4 ถึง 6.2.6 เมือ่ อุณหภูมขิ องน้าดินในขวดลดลงเหลือประมาณ


25OC 22OC และ 20OC ตามลาดับ หรือทีอ่ ณ ุ หภูมใิ ดๆทีใ่ กล้เคียง ให้ได้ขอ้ มูลการทดสอบ
จานวน 4 ค่า
6.2.8 เทน้าดินทัง้ หมดในขวดลงใส่ถาดสะอาดทีช่ งน ั ่ ้าหนักและจดหมายเลขไว้แล้ว ใช้น้ากลันฉี ่ ด
ล้างเม็ดดินจากขวดลงไปในถาดให้หมดสิน้
6.2.9 นาถาดน้าดินเข้าเตาอบจนแห้ง แล้วนาถาดดินไปชังน ่ ้าหนักเพือ่ หาน้าหนักดินแห้ง (WS) ที่
ใช้ในการทดสอบครัง้ นี้

7. การคานวณผลการทดสอบ

นาข้อมูลทีไ่ ด้จากการทดสอบมาคานวณประเมินค่าความถ่วงจาเพาะของเม็ดดินในมวลดิน
คละ โดยพิจารณาจากสมการที่ 2.4 กาหนดให้ WaT เป็ นน้าหนักขวดหาค่าความถ่วงจาเพาะเมือ่ มีน้าเต็มที่
อุณหภูม ิ TOC และ เมือ่ นาขวดดังกล่าว ไปใส่เม็ดดินแห้ง มีมวล WS แล้วเติมน้าให้เต็มขวดทีอ่ ณ ุ หภูม ิ TOC
ขวดนี้จะมีน้าหนัก WbT หากสมมุตวิ ่า เอาเม็ดดิน WS ใส่ลงไปในขวดทีม่ นี ้าเต็มอยูแ่ ล้วซึง่ มีน้าหนัก WaT มวล
รวมของขวด ดิน และ น้า ในทีน่ ้ี จะเป็ น Wt หรือ

Wt = WaT + WS ……………….. (2.7)

ุ หภูม ิ TOC ดังนัน้ มวลของน้าทีถ่ กู แทนทีด่ ว้ ยเม็ดดิน


แต่เนื่องจากทาการทดสอบโดยใช้ขวดทีม่ ปี ริมาตรคงทีท่ อ่ี ณ
(WWT) จะเป็ นมวลของน้า ทีม่ ปี ริมาตรเท่ากับปริมาตรของเม็ดดิน ทีใ่ ช้ทาการทดสอบทีอ่ ุณหภูม ิ TOC โดยที่

WWT = Wt - WbT ……………….. (2.8)

ดังนัน้ เมือ่ นาค่า Wt จากสมการที่ 2.7 มาแทนค่าลงในสมการที่ 2.8 จะได้

WWT = WaT + WS - WbT ……………….. (2.9)

และเมือ่ นาสมการที่ 2.9 ไปแทนค่าในสมการที่ 2.4 จะได้

 wT Ws
GS = ……………… (2.10)
WaT  Ws  WbT 
ในกรณีทท่ี าการทดสอบตามมาตรฐาน ASTM นาสมการที่ 2.9 ไปแทนค่าในสมการที่ 2.6 จะได้

 wT Ws
GS = ……………… (2.11)
 w 20 WaT  Ws  WbT 
CE 372 Lab. No. 2 page 13

โดยที่ GS เป็ นค่าความถ่วงจาเพาะของเม็ดดินในมวลดินทีท่ าการทดสอบ


WT เป็ นความหนาแน่นมวลของน้าบริสทุ ธิ ์ทีอ่ ณุ หภูม ิ TOC อ่านค่าได้จากตารางที่ 2.2
W20 เป็ นความหนาแน่นมวลของน้าบริสทุ ธิ ์ ทีอ่ ณุ หภูม ิ 20OC
WS เป็ น น้าหนักดินแห้งทีใ่ ช้ในการทดสอบ
WaT เป็ นน้าหนักขวดหาค่าความถ่วงจาเพาะทีม่ นี ้าเต็ม ณ อุณหภูม ิ TOC ซึง่ อ่านค่าได้จาก
กราฟความสัมพันธ์ท่ี plot จากการ calibrate ขวดหาค่าความถ่วงจาเพาะ
WbT ุ หภูม ิ TOC
เป็ นน้าหนักขวดหาค่าความถ่วงจาเพาะทีม่ นี ้าผสมเม็ดดินบรรจุอยูเ่ ต็มขวดทีอ่ ณ

สมการที่ 2.10 และ สมการที่ 2.11 เป็ นสมการทีใ่ ช้คานวณค่าความถ่วงจาเพาะของเม็ดดิน


จากผลการทดสอบตามวิธกี ารทีก่ าหนดไว้ในการทดสอบนี้ อนึ่ง จากการทดสอบนี้จะคานวณได้คา่ ความ
ถ่วงจาเพาะของเม็ดดินตัวอย่างเดียวกัน 4 ค่า ให้พจิ ารณาความเชือ่ ถือได้ของผลการทดสอบโดยคานวณหา
อัตราส่วนระหว่าง ค่าความถ่วงจาเพาะสูงสุด และ ค่าความถ่วงจาเพาะต่าสุดทีป่ ระเมินได้จากการทดสอบนี้ หาก
อัตราส่วนดังกล่าวมีคา่ ไม่เกิน 1.02 หรือ

Maximum G s
< 1.02 ……………… (2.12)
Minimum G s

หรือ ค่าทีส่ งู ทีส่ ดุ และต่าทีส่ ดุ ของค่าความถ่วงจาเพาะทีท่ ดสอบได้ มีความแตกต่างกันไม่เกิน 2% ถือได้ว่า


ผลทดสอบดังกล่าวอยูใ่ นเกณฑ์ทเ่ี ชือ่ ถือได้ ให้คานวณหาค่าความถ่วงจาเพาะของตัวอย่างดินดังกล่าวเพียงค่า
เดียว โดยหาค่าเฉลีย่ ของค่าความถ่วงจาเพาะทัง้ 4 ค่าทีป่ ระเมินได้นนั ้ หากผลการคานวณในสมการที่ 2.12 มีคา่
มากกว่า 1.02 ให้ทาการทดสอบใหม่ จนกว่าจะได้ผลเป็ นทีเ่ ชือ่ ถือได้

8. บทวิ เคราะห์วิจารณ์

จากวิธกี ารและผลการทดสอบ ให้พจิ ารณาว่าจะต้องระมัดระวังอะไรบ้างในระหว่างการ


ทดสอบ เพือ่ ทีจ่ ะ ช่วยไม่ให้เกิดความผิดพลาดของผลการทดสอบ และจากค่าความถ่วงจาเพาะของเม็ดดินที่
ประเมินได้จากการทดสอบครัง้ นี้ ตัวอย่างดินทีใ่ ช้ทาการทดสอบ น่าจะมีลกั ษณะ และองค์ประกอบทางเคมีอย่างไร
หรือเป็ นหินชนิดใด

9. ข้อมูลเพิ่ มเติ มเกี่ยวกับการทดสอบนี้

9.1 น้าหนักขวดหาค่าความถ่วงจาเพาะทีม่ นี ้าเต็ม (WaT) ทีอ่ ณ ุ หภูม ิ TOC ใดๆ สามารถคานวณได้จาก


ผลการ calibrate เพียงค่าเดียว โดยในขัน้ ตอนที่ 6.1.2 ปล่อยให้น้าในขวดมีอณ ุ หภูมลิ ดลงจนอยู่
O O
ระหว่าง 22 C - 18 C แล้วเติมน้าให้เต็ม ปิ ดจุก นาไปชังน ่ ้าหนัก ตามขัน้ ตอนที่ 6.1.3 บันทึกไว้เป็ น
ค่า WaTi แล้ววัดอุณหภูมติ ามขัน้ ตอนที่ 6.1.4 ได้คา่ อุณหภูม ิ เป็ น T OC นาข้อมูลนี้ไปคานวณโดยใช้
i

สมการที่ 2.13
CE 372 Lab. No. 2 page 14

  wT 
WaT =   WaTi  Wf   Wf ……………… (2.13)

 wTi 

เมือ่ WaT เป็ นน้าหนักขวดหาค่าความถ่วงจาเพาะทีม่ นี ้าเต็ม ทีอ่ ณุ หภูม ิ TOC ใดๆ


WaTi เป็ นน้าหนักขวดหาค่าความถ่วงจาเพาะทีม่ นี ้าเต็ม ทีอ่ ณ ุ หภูม ิ OC
i

WT ุ หภูม ิ TOC ใดๆ


เป็ นความหนาแน่นมวลของน้าบริสทุ ธิ ์ ทีอ่ ณ
WTi เป็ นความหนาแน่นมวลของน้าบริสทุ ธิ ์ ทีอ่ ณุ หภูม ิ T OC
f

Wf เป็ นน้าหนักของขวดหาค่าความถ่วงจาเพาะทีใ่ ช้ calibrate ทีช่ งน ั ่ ้าหนักไว้ตาม


ขัน้ ตอน 6.1.1

9.2 มวลดินคละทีป่ ระกอบไปด้วยเม็ดดินหลายขนาด ทัง้ เม็ดหยาบและเม็ดละเอียด ให้นามวลดินคละนัน้


เข้าเตาอบจนแห้ง แล้วใช้คอ้ นยางทุบให้เม็ดดินแยกแตกตัวออกจากกัน นามวลดินคละไปร่อนผ่าน
ตะแกรง ASTM No.4 (หรือ No.10 แล้วแต่กรณี) แล้วนาไปทดสอบตามวิธกี ารตามทีก่ ล่าวมาแล้ว
สาหรับมวลคละส่วนทีค่ า้ งบนตะแกรง ให้นาไปทดสอบประเมินค่าความถ่วงจาเพาะด้วยวิธกี าร
ทดสอบทีก่ าหนดไว้เป็ นการเฉพาะสาหรับมวลดินหยาบ หลังจากนัน้ ให้นาผลการประเมินค่าความ
ถ่วงจาเพาะของมวลคละทัง้ 2 ส่วน มาคานวณเป็ นค่าความถ่วงจาเพาะเฉลีย่ ของมวลคละทัง้ หมด
โดยวิธเี ฉลีย่ น้าหนัก คือ

1
GS(av) = ……………… (2.14)
 R   P 
  
 100 G   100 G 
 S1   S2 

เมือ่ GS(av) เป็ นค่าความถ่วงจาเพาะเฉลีย่ ของมวลดินคละทัง้ ตัวอย่าง


R เป็ นร้อยละโดยน้าหนักของมวลดินคละส่วนทีเ่ ม็ดดินใหญ่กว่า 4.75 มม.
P เป็ นร้อยละโดยน้าหนักของมวลดินคละส่วนทีเ่ ม็ดดินเล็กกว่า 4.75 มม.
GS1 เป็ นค่าความถ่วงจาเพาะของมวลดินคละส่วนทีเ่ ม็ดดินใหญ่กว่า 4.75 มม.
GS2 เป็ นค่าความถ่วงจาเพาะของมวลดินคละส่วนทีเ่ ม็ดดินเล็กกว่า 4.75 มม.

9.3 มวลดินคละทีป่ ระกอบไปด้วยเม็ดดินทีม่ ขี นาดเล็กกว่า 4.75 มม. ทัง้ หมด (หรือ เล็กกว่า 2.00 มม.
ทัง้ หมด แล้วแต่กรณี) จะใช้ตวั อย่างดินทีอ่ บแห้งแล้วหรือจะใช้ตวั อย่างดินทีม่ คี วามชืน้ ตามธรรมชาติ
มาทาการทดสอบก็ได้ กรณีทใ่ี ช้ตวั อย่างดินทีม่ คี วามชืน้ มวลดินชืน้ ทีใ่ ช้ในการทดสอบควรมีน้าหนัก
เพิม่ ขึน้ มากกว่าทีร่ ะบุไว้สาหรับดินแห้งเล็กน้อย หลังจากทาการทดสอบแล้ว จึงนาตัวอย่างดินทีใ่ ช้ใน
การทดสอบมาอบแห้ง เพือ่ หาน้าหนักดินแห้งทีใ่ ช้ทาการทดสอบในภายหลัง
9.4 การผสมตัวอย่างดินกับน้ากลันโดยเฉพาะตั
่ วอย่างดินเหนียวเม็ดละเอียดทีม่ คี วามชืน้ ตามธรรมชาติ
จะต้องกวนผสมให้เม็ดดินแยกแตกตัวออกจากกันในน้ากลันให้ ่ ได้มากทีส่ ดุ โดยใช้เครือ่ งปั น่ ผสมดิน
แบบใบพัดทัง้ นี้ เพือ่ ป้ องกันมิให้มฟี องอากาศหลงเหลืออยูใ่ นช่องว่างระหว่างเม็ดดินทีย่ งั เกาะตัวเป็ น
ก้อนในส่วนผสมนัน้
CE 372 Lab. No. 2 page 15

9.5 ในการทดสอบเพือ่ ประเมินค่าความถ่วงจาเพาะของเม็ดดิน เพือ่ ใช้ประกอบการคานวณผลการ


ทดสอบอืน่ ใดๆ ให้ใช้มวลดินคละทีม่ ลี กั ษณะ คุณสมบัติ และการกระจายของขนาดของเม็ดดิน
เช่นเดียวกับตัวอย่างดินทีใ่ ช้ทาการทดสอบนัน้ ๆ ทัง้ นี้ เพือ่ ให้สามารถนาค่าความถ่วงจาเพาะที่
ประเมินได้ ไปใช้คานวณร่วมกับผลการทดสอบนัน้ ๆได้อย่างถูกต้อง

ตารางที่ 2.1 ุ หภูมิต่างๆ


ค่าความถ่วงจาเพาะของน้าที่อณ
O
C 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
0 0.9999 0.9999 1.0000 1.0000 1.0000 1.0000 1.0000 0.9999 0.9999 0.9998
10 0.9997 0.9996 0.9995 0.9994 0.9993 0.9991 0.9990 0.9988 0.9986 0.9984
20 0.9982 0.9980 0.9978 0.9976 0.9973 0.9971 0.9968 0.9965 0.9963 0.9960
30 0.9957 .09954 0.9951 0.9947 0.9944 0.9941 0.9937 0.9934 0.9930 0.9926
40 0.9922 0.9919 0.9915 0.9911 0.9907 0.9902 0.9898 0.9894 0.9890 0.9885

ตารางที่ 2.2 ความหนาแน่ นมวลของน้าบริ สทุ ธิ์ ที่อณ


ุ หภูมิต่างๆ
อุณหภูมิ Mass Density of Water Correction Factor
O
C F (wT) ในหน่ วย (g/cc) K = (WT/W20)
4 32.0 1.000 0000
18 64.4 0.998 6244 1.0004
19 66.2 0.998 4347 1.0002
20 68.0 0.998 2343 1.0000
21 69.8 0.998 0233 0.9998
22 71.6 0.997 8019 0.9996
23 73.4 0.997 5702 0.9993
24 75.2 0.997 3286 0.9991
25 77.0 0.997 0770 0.9989
26 78.8 0.996 8156 0.9986
27 80.6 0.996 5451 0.9983
28 82.4 0.996 2652 0.9980
29 84.2 0.995 9761 0.9977
30 86.0 0.995 6780 0.9974

@@@@@@@@@@@@@@@@
CE 372 Lab. No.2 page 15
CE 372 ENGINEERING SOIL TESTS
EXPERIMENT No. 2
SPECIFIC GRAVITY TEST
ชื่อ-สกุล ………………………......................................……….…… รหัส .................................. ตอนที่ .......... กลุม่ ที่ ................ วันทดสอบ ........................................

PYCNOMETER CALIBRATION หมำยเลขขวด ถ.พ. น้ ำหนัก (Wf) กรัม


ทดสอบครัง้ ที่ 1 2 3 4 5 6
อุณหภูมิน้ ำ (degree C)
น้ ำหนักขวด + น้ ำเต็มขวด; (WaT) (กรัม)
SPECIFIC GRAVITY DETERMINATION
ทดสอบครัง้ ที่ 1 2 3 4 5
น้ ำหนักขวด + น้ ำ + ตัวอย่ำงดิน; (WbT) (กรัม)
อุณหภูมิ; (T) (degree C)
น้ ำหนักขวด + น้ ำเต็มขวด; (WaT) (กรัม)
เครื่องหมายถาดอบตัวอย่างน้าดิ น
น้ ำหนักถำด + ดินแห้ง (กรัม)
น้ ำหนักถำด (กรัม)
น้ ำหนักดินแห้งที่ใช้ทดสอบ; (Ws) (กรัม)
ค่ำปรับแก้ K ที่อณ
ุ หภูมิ T
SPECIFIC GRAVITY; (Gs)

PYCNOMETER CALIBRATION CHART เฉลี่ยค่ำ SPECIFIC GRAVITY

258
257
(น้ ำหนักขวด + น้ ำเต็มขวด) (WaT) (กรัม)

256
255
254
253
252
251
250
16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32

อุณหภูมิ (T) (degree C)


CE 372 ENGINEERING SOIL TESTS
การทดสอบเรือ่ งที่ 3
การทดสอบเพื่อประเมินขนาดและปริมาณของเม็ดดินในมวลดินคละ
โดยวิธีร่อนผ่านตะแกรง
PARTICLE SIZE ANALYSIS OF SOILS
(MECHANICAL METHOD : SIEVE ANALYSIS)
1. บทนา

มวลดินโดยทัวไปประกอบไปด้
่ วยเม็ดดินขนาดต่างๆปนกันอยูใ่ นปริมาณทีแ่ ตกต่างกัน การ
บ่งชีช้ นิดของมวลดินใดๆตามหลักวิชาการ จาเป็ นจะต้องใช้ปริมาณของเม็ดดินขนาดต่างๆทีป่ ระกอบกันขึน้ เป็ น
มวลดินนัน้ เป็ นข้อมูลเบือ้ งต้นในการจาแนกชนิดและประเภทของมวลดิน นอกจากนัน้ ปริมาณของเม็ดดินขนาด
ต่างๆในมวลดิน ยังใช้เป็ นข้อมูลพืน้ ฐานประกอบการศึกษาวิเคราะห์ เพือ่ ประเมินคุณสมบัตทิ างกายภาพและ
คุณสมบัตทิ างวิศวกรรมของมวลดินนัน้ ๆ เช่น ความหนาแน่นและความพรุนของมวลดิน คุณสมบัตกิ ารไหลซึม
ของน้าผ่านมวลดิน เป็ นต้น และยังใช้เป็ นข้อกาหนดทีส่ าคัญในการคัดเลือกวัสดุดนิ ทีจ่ ะนาไปใช้ในงานก่อสร้าง
ต่างๆอีกด้วย ในการทดสอบนี้ จะกล่าวถึงการประเมินขนาดและปริมาณของเม็ดดินในมวลดินคละทีป่ ระกอบไป
ด้วยเม็ดดินขนาดใหญ่กว่า 0.075 มม. ซึง่ เป็ นการทดสอบด้วยวิธกี ล (mechanical method) โดยการร่อนมวลดิน
คละ ผ่านชุดตะแกรงทีม่ ชี อ่ งเปิ ดขนาดต่างๆกัน หรือเรียกโดยทัวไปว่
่ า sieve analysis

2. วัตถุประสงค์ของการทดสอบ

เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้เรียนรูว้ ธิ กี ารทดสอบ เพือ่ ประเมินขนาดและปริมาณของเม็ดดินทีม่ อี ยูใ่ น


มวลดินคละ โดยการร่อนผ่านตะแกรง ทัง้ วิธรี อ่ นแบบแห้ง และวิธลี า้ งน้า รวมไปถึงการคานวณและ แสดงผลการ
ทดสอบ ในรูปของ particle size distribution curve หรือ grading curve

3. เอกสารอ้างอิ ง

3.1 มาตรฐาน ASTM C 136


Standard Method for Sieve Analysis of Fine and Coarse Aggregates
3.2 มาตรฐาน ASTM C 117
Standard Test Method for Materials Finer than 75  (No.200) Sieve in Mineral Aggregates
by Washing
3.3 มาตรฐาน ASTM D 422
Standard Method for Particle-Size Analysis of Soils
CE 372 Lab. No.3 page 17

3.4 มาตรฐาน AASHTO DESIGNATION T 27


Standard Method of Test for Sieve Analysis of Fine and Coarse Aggregates
3.5 มาตรฐาน AASHTO DESIGNATION T 11
Standard Method for Amount of Material Finer than 75  Sieve in Aggregate
3.6 มาตรฐาน AASHTO DESIGNATION T 88
Standard Method of Particle Size Analysis of Soils
3.7 มาตรฐานอังกฤษ (BRITISH STANDARD) BS 1377:1975 TEST 7(A) และ 7(B)
Determination of the Particle Size Distribution
(A) Standard Method by Wet Sieving
(B) Standard Method by Dry Sieving
3.8 BOWLES, J.E. (1992)
“Engineering Properties of Soils and Their Measurement”
McGraw-Hill Book Co.; Fourth Edition 1992; Experiment No.5
3.9 HEAD, K.H. (2006)
“Manual of Soil Laboratory Testing”
Volume 1 : Soil Classification and Compaction Tests
CRC Press, Taylor & Francis Group; Third Edition 2006
3.10 DAS, B.M. (2002)
“Soil Mechanics Laboratory Manual”
Oxford University Press; Sixth Edition 2002
3.11 LIU, C. and EVETT, J.B. (1997)
“Soil Properties: Testing, Measurement, and Evaluation”
Prentice-Hall Inc.; Third Edition 1997.

4. ทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง

ในมวลดินคละใดๆ เม็ดดินทีป่ ระกอบขึน้ เป็ นมวลดินจะมีรปู ร่างลักษณะแตกต่างกันไป เม็ด


ดินทีเ่ กิดจากการสลายตัวของหินโดยการผุกร่อนทางกายภาพ จะมีรปู ร่างลักษณะเป็ นก้อนกลมหรือมีเหลีย่ มมุม
โดยรอบ ขณะทีเ่ ม็ดดินซึง่ เกิดขึน้ จากการผุกร่อนโดยขบวนการทางกายภาพและมีการเปลีย่ นแปลงทางเคมี
เกิดขึน้ ภายในโครงสร้างของเม็ดดิน จะมีการสลายตัวเป็ นเม็ดดินขนาดเล็ก รูปร่างลักษณะเป็ นแผ่นแบน ดังนัน้
คาว่าขนาดของเม็ดดิน หรือ particle size หรือ grain size จึงเป็ นการระบุขนาดของเม็ดดินโดยสมมุตใิ ห้เม็ดดินมี
ลักษณะเป็ นอนุภาครูปทรงกลม ดังนัน้ ขนาดหรือ diameter ของเม็ดดิน จึงถือว่าเป็ นขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
เทียบเท่า (equivalent diameter) กับเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาครูปทรงกลมทีม่ ลี กั ษณะทางกายภาพเท่าเทียม
กัน ในกรณีของดินเม็ดหยาบทีม่ ี equivalent diameter ใหญ่กว่า 75  หรือ 0.075 มม. ซึง่ ทาการคัดแยกขนาด
โดยการร่อนผ่านตะแกรง ขนาดของเม็ดดินจะเปรียบเทียบได้จากขนาดของช่องเปิ ดรูปสีเ่ หลีย่ มจตุรสั ของตะแกรง
ร่อนดิน ทีใ่ ช้ในการคัดแยกขนาดของเม็ดดินโดยถือว่า เม็ดดินทีส่ ามารถลอดผ่านช่องเปิ ดของตะแกรงขนาดใดๆได้
จะเรียกเม็ดดินดังกล่าวว่า มีขนาดเล็กกว่าขนาดของช่องเปิ ดของตะแกรงนัน้ ถ้าลอดผ่านไปไม่ได้ ก็ถอื ว่าเม็ดดิน
ดังกล่าวมีขนาดใหญ่กว่าขนาดช่องเปิ ดของตะแกรงนัน้ ในการคัดแยกขนาดของเม็ดดินในมวลดินคละ จะใช้
CE 372 Lab. No.3 page 18

ตะแกรงร่อนดินหลายอัน แต่ละอันจะมีขนาดช่องเปิ ดของตะแกรงแตกต่างกันไป ในการทดสอบแต่ละครัง้ ผู้


ทดสอบจะกาหนดจานวนตะแกรง และขนาดช่องเปิ ดของตะแกรงแต่ละอันทีใ่ ช้ โดยพิจารณาจากลักษณะของมวล
ดินคละ และความละเอียดของข้อมูลทีต่ อ้ งการจากการทดสอบเป็ นเกณฑ์ การจัดลาดับตะแกรงทดสอบ จะซ้อน
ตะแกรงทีม่ ชี อ่ งเปิ ดขนาดใหญ่กว่าไว้ขา้ งบน เรียงลาดับตามขนาดของช่องเปิ ดตะแกรงจากใหญ่ไปเล็กเมือ่ เทมวล
ดินคละลงบนตะแกรงอันบนสุดของชุดตะแกรง เม็ดดินจะร่อนผ่านช่องเปิ ดของตะแกรงขนาดต่างๆจากบนลงล่าง
จนถึงตะแกรงทีม่ ขี นาดช่องเปิ ดเล็กกว่าเม็ดดิน เม็ดดินนัน้ ก็จะค้างอยูบ่ นตะแกรงดังกล่าว เช่น เม็ดดินร่อนลงไป
ค้างอยูบ่ นตะแกรง No.20 ทีม่ ขี นาดช่องเปิ ด 0.85 มม. หากตะแกรงสุดท้ายทีเ่ ม็ดดินร่อนผ่านลงไปได้ เป็ น
ตะแกรง No.10 ทีม่ ขี นาดช่องเปิ ด 2.00 มม. ก็กล่าวได้ว่า เม็ดดินนัน้ มีขนาดเม็ดดิน (particle size, particle
diameter, grain size, หรือ grain diameter) เล็กกว่า 2.00 มม. แต่ใหญ่กว่า 0.85 มม. เป็ นต้น

การทดสอบเพือ่ คัดขนาดและประเมินปริมาณของเม็ดดินขนาดต่างๆในมวลดินคละโดยวิธี
ร่อนผ่านตะแกรง จะนามวลดินคละอบแห้งทีเ่ ตรียมไว้มาร่อนผ่านชุดตะแกรง แล้วบันทึกข้อมูลน้าหนักดินแห้งที่
ค้างบนตะแกรงแต่ละอัน นาข้อมูลมาคานวณหาปริมาณมวลคละทีร่ อ่ นผ่านตะแกรงแต่ละอัน เป็ นค่าร้อยละของ
น้าหนักมวลดินคละอบแห้งทีใ่ ช้ทาการทดสอบ และเมือ่ ใช้ขนาดช่องเปิ ดของตะแกรง เป็ นขนาดเทียบเท่าของเม็ด
ดิน ก็สามารถรายงานผลการทดสอบได้เป็ นค่า percentage finer หรือ percentage passing หรือเรียกกัน
โดยทัวไปว่
่ า percent finer ซึง่ เป็ นค่าบอกปริมาณเม็ดดินในมวลดินคละทีส่ ามารถร่อนผ่านตะแกรงแต่ละขนาดได้
โดยระบุเป็ นค่าร้อยละโดยน้าหนักของมวลดินแห้งทีใ่ ช้ทาการทดสอบทีเ่ ม็ดดินมีขนาดเล็กกว่าขนาดช่องเปิ ดของ
ตะแกรงใดๆ หลังจากนัน้ นาผลทดสอบไป plot เป็ นกราฟความสัมพันธ์ระหว่างค่า percentage finer บน natural
scale กับ ขนาดเทียบเท่าของเม็ดดิน (particle diameter หรือ grain diameter) บน logarithmic scale ใน
กระดาษกราฟ semi-log กราฟความสัมพันธ์น้ีเรียกว่า particle size distribution curve หรือ grading curve
รูปร่างลักษณะของ grading curve ของมวลคละใดๆ นอกจากจะใช้บ่งชีป้ ริมาณของเม็ดดินขนาดต่างๆทีม่ อี ยูใ่ น
มวลดินคละนัน้ แล้ว ยังสามารถแสดงให้เห็นได้ว่าส่วนผสมของเม็ดดินในมวลดินคละนัน้ มีลกั ษณะเป็ น poorly
graded (uniform graded หรือ gap graded) หรือเป็ น well graded soils โดยพิจารณาจากค่าสัมประสิทธิ ์ที่
คานวณได้จาก grading curve 2 ค่า คือ ค่าสัมประสิทธิ ์แห่งความสม่าเสมอ (Coefficient of Uniformity, CU) และ
สัมประสิทธิ ์แห่งความโค้ง (Coefficient of Curvature, CC หรือ CZ) grading curve นัน้ โดยที่

D 60
CU = ……………….. (3.1)
D10

2
D 30
CZ = ……………….. (3.2)
D 60 D10

เมือ่ D10 เป็ นขนาดของเม็ดดิน ทีร่ อ้ ยละ 10 โดยน้าหนักของมวลดินคละนัน้ มีขนาดเล็กกว่า


D30 เป็ นขนาดของเม็ดดิน ทีร่ อ้ ยละ 30 โดยน้าหนักของมวลดินคละนัน้ มีขนาดเล็กกว่า
D60 เป็ นขนาดของเม็ดดิน ทีร่ อ้ ยละ 60 โดยน้าหนักของมวลดินคละนัน้ มีขนาดเล็กกว่า

ในกรณีทม่ี วลดินคละ มีเม็ดดินขนาดเล็กกว่า 0.075 มม. ซึง่ จัดเป็ นเม็ดดินประเภท silt และ
clay ปนอยูม่ ากพอสมควร การใช้ตวั อย่างดินอบแห้งร่อนผ่านตะแกรงโดยตรงตามวิธที เ่ี รียกว่า การร่อนแบบแห้ง
CE 372 Lab. No.3 page 19

หรือ dry sieving จะให้ขอ้ มูลทีผ่ ดิ ไปจากความเป็ นจริงได้มาก เพราะเม็ดดินขนาดเล็กจะยึดเกาะจับกันเป็ นก้อน


ไม่สามารถเคลื่อนทีผ่ า่ นช่องเปิ ดรูตะแกรงขนาดเล็กได้ ทาให้การร่อนมวลดินคละเม็ดละเอียดอบแห้งผ่านตะแกรง
ได้ผลผิดไปจากความเป็ นจริง เพราะจะแสดงผลว่ามีดนิ เม็ดหยาบอยูใ่ นมวลคละเป็ นปริมาณมาก ในกรณีเช่นนี้
จาเป็ นต้องทดสอบโดยการนามวลดินคละไปล้างน้าผ่านตะแกรง ซึง่ เรียกว่าวิธี wet sieving หรือ wash sieving
ซึง่ น้าจะทาหน้าทีเ่ ป็ นตัวกลาง แยกเม็ดดินทีเ่ กาะกันอยูอ่ อกเป็ นก้อนเม็ดดินทีม่ ขี นาดเล็กลงพอทีจ่ ะทาให้เม็ดดิน
เคลื่อนตัวผ่านช่องเปิ ดรูตะแกรงทีใ่ ช้ลา้ งตัวอย่างดินนัน้ ลงไปได้โดยสะดวก ช่วยให้ผลการทดลองถูกต้องมากขึน้
การล้างเม็ดดินผ่านตะแกรง ปกติจะล้างตัวอย่างมวลดินคละตะแกรง ASTM No.200 (75) หลังจากล้างดินเม็ด
ละเอียดผ่านตะแกรงไปหมดแล้ว นามวลคละส่วนทีค่ า้ งบนตะแกรงดังกล่าวซึง่ เป็ นดินเม็ดหยาบประเภท ทราย
และ กรวด ไปอบให้แห้ง แล้วจึงนาไปร่อนผ่านชุดตะแกรงทีม่ ชี อ่ งเปิ ดขนาดใหญ่โดยวิธี dry sieving ต่อไป

5. วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ

5.1 มวลดินคละอบแห้งหนักไม่น้อยกว่า 1000 กรัม (เม็ดดินขนาดใหญ่ทส่ี ดุ ในมวลคละ ควรมีขนาดไม่ต่า


กว่า 3/8 นิ้ว หรือ 9.5 มม.)
5.2 ตะแกรงร่อนดินมาตรฐาน ASTM จานวน 1 ชุด ประกอบไปด้วยตะแกรงขนาดช่องเปิ ด 3/4 นิ้ว,
1/2 นิ้ว, 3/8 นิ้ว, No.4, No.10, No.20, No.40, No.100, และ No.200 พร้อมทัง้ ถาดรองชุดตะแกรง
(pan) และฝาปิ ด
5.3 ตะแกรงร่อนดิน ASTM ขนาดช่องเปิ ด No.200 แบบขอบสูง (wash sieve) 1 อัน
5.4 เครือ่ งสันชุ
่ ดตะแกรง
5.5 ค้อนยางทุบดิน และ ทีต่ กั ดิน อย่างละ 1 อัน
5.6 แปรงทาความสะอาดตะแกรง 1 อัน
5.7 เตาอบควบคุมอุณหภูมใิ ห้คงทีไ่ ด้
5.8 เครือ่ งชัง่ ชังได้
่ ละเอียดถึง 0.1 กรัม
5.9 ถังพลาสติกสาหรับผสมน้าดิน 1 ใบ
5.10 ถาดใส่น้าดินเข้าเตาอบได้ ความจุไม่น้อยกว่า 1500 cc 1 ใบ

6. วิ ธีการทดสอบ

สาหรับการทดสอบในเรือ่ งนี้จะทาการทดสอบต่อเนื่องกันไป โดยใช้ทงั ้ วิธลี า้ งดินผ่านตะแกรง


และ วิธรี อ่ นแห้งโดยใช้เครือ่ งสันชุ
่ ดตะแกรง มีขนั ้ ตอนการทดสอบดังต่อไปนี้
6.1 นาถาดอะลูมเิ นียมทีเ่ ตรียมไว้มาบันทึกหมายเลขและชังน ่ ้าหนัก
6.2 ชังและบั
่ นทึกน้าหนักมวลดินคละอบแห้งทีเ่ ตรียมไว้ (ประมาณ 1000 - 1200 กรัม)
6.3 นามวลดินไปใส่ถงั พลาสติก เทน้าสะอาดใส่ลงไปพอประมาณ แล้วกวนให้เม็ดดินแตกตัวออกจากกัน
6.4 เทน้าดินจากถังลงในตะแกรง No.200 แบบขอบสูงอย่างช้าๆ ระวังอย่าให้น้าดินไหลล้นหรือหกออก
นอกขอบตะแกรง หากมีการอุดตันของช่องเปิ ดของแผ่นตะแกรง ใช้มอื กวนมวลดินบนแผ่นตะแกรง
เพือ่ เปิ ดทางให้น้าและเม็ดดินไหลผ่านช่องเปิ ดของแผ่นตะแกรงได้โดยสะดวก น้าและเม็ดดินทีไ่ หล
ผ่านตะแกรงไปแล้วให้ทง้ิ ไป
CE 372 Lab. No.3 page 20

6.5 ใช้น้าล้างเศษดินจากถังลงไปในตะแกรงให้หมด แล้วฉีดน้าลงไปในตะแกรงเบาๆเพือ่ ล้างเม็ดดิน


ขนาดเล็กออกจากมวลคละ และให้ไหลผ่านช่องเปิ ดของตะแกรงลงไปจนเหลือแต่เม็ดดินทีม่ ขี นาด
ใหญ่กว่า ค้างอยูบ่ นตะแกรง ซึง่ จะเห็นได้จากน้าทีไ่ หลผ่านตะแกรงออกมา จะเป็ นน้าใสและไม่มเี ม็ด
ดินปนอยู่
6.6 เทมวลดินคละทีค่ า้ งอยูบ่ นตะแกรงลงในถาดอะลูมเิ นียมทีเ่ ตรียมไว้ ใช้น้าล้างเม็ดดินจากตะแกรงลง
ในถาดให้หมด นาถาดน้าดินเข้าเตาอบ ทิง้ ไว้ 18-24 ชัวโมงจนแห้
่ ง แล้วเอาถาดดินแห้งออกจาก
เตาอบ นาไปชังน ่ ้าหนักเพือ่ คานวณหาน้าหนักดินแห้งทีห่ ายไปจากการล้างผ่านตะแกรง No.200
6.7 นาชุดตะแกรงทีเ่ ตรียมไว้มาทาความสะอาด อย่าให้มเี ม็ดดินติดค้างอยูใ่ นช่องเปิ ดของตะแกรง นา
ตะแกรงแต่ละอันไปชังน ่ ้าหนักแล้วบันทึกไว้ จัดตะแกรงเรียงซ้อนกันโดยให้ตะแกรงทีม่ ชี อ่ งเปิ ด
ขนาดใหญ่กว่าอยูข่ า้ งบน ตะแกรงอันล่างสุดจะเป็ นตะแกรง No.200 และ pan ตามลาดับ
6.8 เทมวลดินคละอบแห้งทีเ่ หลือจากการล้างในข้อ 6.6 ลงไปในชุดตะแกรง แล้วปิ ดฝาชุดตะแกรง นา
ชุดตะแกรงไปวางบนเครือ่ งสัน่ ยึดชุดตะแกรงเข้ากับเครือ่ งสันให้
่ มนคงั่ ถ้าจานวนชัน้ ของตะแกรง
มากเกินไปให้รอ่ นมวลคละด้วยมือผ่านตะแกรงหยาบอันบนสุด เรียงลาดับลงมาจน กว่าจะสามารถ
ยึดชุดตะแกรงทีเ่ หลือเข้ากับเครือ่ งสันได้
่ เปิ ดเครือ่ งสันชุ
่ ดตะแกรงทิง้ ไว้ประมาณ 10 นาที
6.9 นาชุดตะแกรงออกจากเครือ่ งสันแล้ ่ วเขย่าชุดตะแกรงด้วยมืออีกชัวระยะเวลาหนึ
่ ่ง เพือ่ ให้แน่ใจว่า
เม็ดดินได้สมั ผัสกับแผ่นตะแกรงอย่างทัวถึ ่ งและให้เม็ดดินมีโอกาส ลอดผ่านช่องเปิ ดของตะแกรง
ได้มากทีส่ ดุ
6.10 นาตะแกรงพร้อมเม็ดดินทีค่ า้ งบนตะแกรงแต่ละอัน รวมทัง้ เม็ดดินในถาดรองรับเม็ดดิน (pan) ไปชัง่
น้าหนักแล้วบันทึกไว้ นาข้อมูลทีไ่ ด้จากการทดสอบทัง้ หมดไปทาการคานวณ

7. การคานวณผลการทดสอบ

7.1 คานวณหาน้าหนักดินแห้งทีล่ า้ งผ่านตะแกรง No.200 จากการ wash sieving


7.2 คานวณหาน้าหนักดินแห้งทีค่ า้ งในตะแกรงแต่ละอันจากการร่อนแห้ง (dry sieving)
7.3 น้าหนักดินแห้งค้างใน pan จะเป็ นน้าหนักดินแห้งจากการร่อนผ่านตะแกรง No.200 โดยวิธี dry
sieving รวมกับน้าหนักดินทีห่ ายไปจากการล้างผ่านตะแกรง No.200 (wash sieving)
7.4 รวมน้าหนักดินแห้งทีค่ า้ งบนตะแกรงทุกอันและใน pan แล้วเปรียบเทียบกับน้าหนักมวลดินคละทีใ่ ช้
ทาการทดสอบ (น้าหนักทีช่ งได้
ั ่ ในขัน้ ตอนที่ 6.2) หากผิดไปมากกว่า 1 % ให้ทดสอบใหม่
7.5 คานวณน้าหนักของมวลดินแห้งทีค่ า้ งบนตะแกรงแต่ละอัน และใน pan คิดเป็ นร้อยละของน้าหนัก
มวลดินแห้งทีใ่ ช้ทดสอบ โดยใช้น้าหนักมวลดินคละรวมทีค่ านวณได้ในขัน้ ตอนที่ 7.3 เป็ นตัวหาร
ผลการคานวณขัน้ ตอนนี้เรียกว่า percent retained
7.6 คานวณค่าร้อยละทีค่ า้ งสะสม หรือ cumulative percent retained ซึง่ เป็ นผลบวกของค่าร้อยละทีค่ า้ ง
(percent retained) บนตะแกรงแต่ละอันทุกอัน ทีอ่ ยูเ่ หนือตะแกรงนัน้ ขึน้ ไป เช่น cumulative
percent retained ของตะแกรง No.4 จะเป็ นผลบวกของ percent retained บนตะแกรง 1/2 นิ้ว,
3/8 นิ้ว, และ 1/4 นิ้ว ตามลาดับ
7.7 ให้คานวณหาค่าร้อยละโดยน้าหนัก ของมวลดินแห้งทีเ่ ม็ดดินมีขนาดเล็กกว่าช่องเปิ ด ของตะแกรง
ใดๆ (percentage finer หรือ percentage passing) โดยใช้คา่ cumulative percent retained ของ
ตะแกรงนัน้ ๆ ลบออกจาก 100
CE 372 Lab. No.3 page 21

7.8 แสดงผลการทดสอบในรูปของ particle size distribution curve บนกระดาษกราฟ semi-log โดยใช้


ค่าขนาดช่องเปิ ดของตะแกรงแต่ละอัน เป็ นค่า particle size, plot ลงบน log scale และ plot ค่า
percentage finer จากผลการคานวณแต่ละตะแกรง ลงบน linear scale
7.9 ถ้าเป็ นไปได้ให้อา่ นค่า D60, D30, และ D10 จาก particle size distribution curve ดังกล่าว แล้ว
คานวณหาค่า Coefficient of Uniformity (CU) และค่า Coefficient of Curvature (CC หรือ CZ) ของ
มวลดินคละตัวอย่างนี้

8. บทวิ เคราะห์วิจารณ์

ให้พจิ ารณาผลการทดสอบและผลการคานวณ แล้วให้ขอ้ คิดเห็นเกีย่ วกับวิธกี ารทีจ่ ะช่วย


ให้ผลการทดสอบมีความถูกต้องเป็ นทีเ่ ชือ่ ถือได้ และมีความสมบูรณ์มากยิง่ ขึน้ หลังจากนัน้ ให้แสดงข้อคิดเห็น
และวิจารณ์ เกีย่ วกับ ลักษณะชนิด และคุณสมบัตทิ างวิศวกรรม ของมวลคละทีใ่ ช้ทาการทดสอบ มาให้มากทีส่ ดุ
เท่าทีจ่ ะสามารถวิเคราะห์ได้

9. ข้อมูลเพิ่ มเติ มเกี่ยวกับการทดสอบนี้

9.1 การคัดเลือกตัวอย่างดินเพือ่ ทาการทดสอบ ให้ใช้วธิ กี ารตามทีก่ าหนดไว้โดย มาตรฐาน ASTM C


702 หรือ มาตรฐาน AASHTO designation T 248; Standard Methods for Reducing Field
Samples of Aggregate to Testing Size ซึง่ วิธกี ารดังกล่าว มีวตั ถุประสงค์ทจ่ี ะแบ่งตัวอย่างมวล
ดินคละทีน่ ามาทาการทดสอบออกเป็ นส่วนย่อย โดยพยายามให้ตวั อย่างดินแต่ละส่วน มีลกั ษณะ
การกระจายของเม็ดดินคงทีเ่ ท่าเทียมกันทุกประการ การแบ่งตัวอย่างมวลดินคละโดยวิธกี ารที่
กล่าวถึงนี้ นิยมใช้อปุ กรณ์ทเ่ี รียกว่า riffle sample splitter หรือเรียกโดยทัวไปว่
่ า split-box ดัง
แสดงไว้ในรูปที่ 3.1 หรืออาจใช้วธิ กี ารคลุกเคล้าแล้วแบ่งส่วน ตามทีแ่ สดงไว้ในรูปที่ 3.2 ก็ได้
9.2 ตะแกรงร่อนดินทีจ่ ดั หามาใช้ทาการทดสอบได้โดยทัวไป ่ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของขอบตะแกรง
หลายขนาดเพือ่ การเลือกใช้ตามความเหมาะสม ตะแกรงทีน่ ิยมใช้สว่ นใหญ่ ขอบตะแกรงมี
เส้นผ่าศูนย์กลาง 8 นิ้ว ถ้าตัวอย่างมวลดินคละทีจ่ ะทาการทดสอบมีปริมาณมาก ควรเลือกใช้ตะแกรง
ทีข่ อบตะแกรงมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่ขน้ึ หรือแบ่งมวลดินคละออกทาการร่อนและบันทึกข้อมูล
หลายครัง้ แล้วเอาข้อมูลทัง้ หมดมารวมทาการคานวณ ทัง้ นี้เพราะหากทาการร่อนดินปริมาณมากใน
ครัง้ เดียว โดยใช้ตะแกรงขนาดเล็กทีม่ คี วามจุและพืน้ ทีข่ องแผ่นตะแกรงน้อย จะมีเม็ดดินค้างบน
ตะแกรงแต่ละอันเป็ นปริมาณมาก อาจล้นตะแกรงได้ และเม็ดดินทีท่ บั ถมอยูบ่ นเม็ดดินอื่นในส่วนบน
ของตะแกรง จะไม่มโี อกาสได้สมั ผัสกับแผ่นลวดตะแกรง จึงไม่สามารถทดสอบประเมินขนาดที่
แท้จริงของเม็ดดินเหล่านัน้ ได้ทาให้ผลการทดสอบผิดไปจากความเป็ นจริงได้มาก
9.3 การร่อนดินผ่านชุดตะแกรงทีป่ ระกอบไปด้วยตะแกรงหลายอัน ชุดตะแกรงอาจมีความสูงเกินกว่าที่
จะติดตัง้ เข้ากับเครือ่ งสันได้
่ ในกรณีเช่นนี้จาเป็ นจะต้องตัดตอนชุดตะแกรงออกทาการทดสอบทีละ
ส่วน แต่ละ ส่วนรองรับไว้ดว้ ย pan โดยเริม่ จากชุดตะแกรงหยาบก่อน แล้วนาดินทีร่ อ่ นผ่านลงไป
อยูใ่ น pan ไปร่อนผ่านชุดตะแกรงทีล่ ะเอียดกว่าต่อไปจนครบตามจานวนตะแกรงทีต่ อ้ งการ
CE 372 Lab. No.3 page 22

ก. RIFFLE SAMPLE SPLITTER ขนาดช่องเปิ ดใหญ่ สาหรับมวลดิ นคละเม็ดหยาบ

ข. RIFFLE SAMPLE SPLITTER ขนาดช่องเปิ ดเล็ก สาหรับมวลดิ นคละเม็ดละเอียด

รูปที่ 3.1 อุปกรณ์ ที่ใช้ทาการแบ่งตัวอย่างมวลดิ นคละเป็ นส่วนย่อย (RIFFLE SAMPLE


SPLITTER หรือ SPLIT-BOX)
CE 372 Lab. No.3 page 23

ก. QUARTERING มวลดิ นคละเม็ดละเอียดบนผืนผ้าใบ

ข. QUARTERING มวลดิ นคละเม็ดหยาบบนพื้นแข็งผิวเรียบ

รูปที่ 3.2 การแบ่งตัวอย่างมวลดิ นคละเป็ นส่วนย่อย โดยวิ ธี QUARTERING


CE 372 Lab. No.3 page 24

9.4 การประเมินลักษณะส่วนผสมของเม็ดดินในมวลดินคละใดๆ ว่ามีลกั ษณะส่วนผสมเป็ นประเภท well


graded หรือ poorly graded จะพิจารณาได้จากค่า Coefficient of Uniformity, CU และค่า
Coefficient of Curvature, CZ ของมวลดินคละนัน้ ๆ โดยอาศัยหลักเกณฑ์ดงั นี้
- ในกรณีของทราย หรือมวลดินเม็ดละเอียด มวลดินคละมีลกั ษณะส่วนผสมของเม็ดดินเป็ น
well graded เมือ่ CU มีคา่ มากกว่า 6 และ CZ มีคา่ ระหว่าง 1 ถึง 3
- ในกรณีของมวลดินคละทีม่ กี รวดเป็ นหลัก มวลดินคละมีลกั ษณะส่วนผสมของเม็ดดินเป็ น
well graded เมือ่ CU มีคา่ มากกว่า 4 และ CZ มีคา่ ระหว่าง 1 ถึง 3
หากค่า CU และ CZ ของมวลดินคละใดๆไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดทีร่ ะบุไว้น้ี มวลดินคละดังกล่าว
จะมีลกั ษณะส่วนผสมของเม็ดดินเป็ นประเภท poorly graded โดยที่ มวลดินคละจะมีลกั ษณะ
ส่วนผสมของเม็ดดินเป็ นแบบ uniform graded คือเม็ดดินส่วนใหญ่ในมวลคละมีขนาดใกล้เคียงกัน
เมือ่ CU มีคา่ น้อยกว่า 4 และ มวลดินคละจะมีลกั ษณะส่วนผสมของเม็ดดินเป็ นแบบ gap graded คือ
มีเม็ดดินบางขนาดอยูน่ ้อยมาก หรือขาดหายไปจากมวลดินคละนัน้ เมือ่ CZ มีคา่ ต่ากว่า 1 หรือ สูง
กว่า 3 มาก
9.5 มาตรฐาน ASTM C 136 และ AASHTO T 27 กาหนดปริมาณทีเ่ หมาะสมของมวลดินคละทีใ่ ช้
ทดสอบไว้ดงั ต่อไปนี้
- มวลคละทีส่ ามารถร่อนผ่านตะแกรงขนาด 2.36 มม. (No. 8) ได้มากกว่า 95 % ให้ใช้วสั ดุ
ทดสอบมีปริมาณไม่น้อยกว่า 100 กรัม
- มวลคละทีส่ ามารถร่อนผ่านตะแกรงขนาด 4.75 มม. (No. 4) ได้มากกว่า 85% และค้างบน
ตะแกรงขนาด 2.36 มม. (No. 8) มากกว่า 5 % ให้ใช้วสั ดุในการทดสอบมีปริมาณไม่น้อยกว่า
500 กรัม
- มวลคละทีป่ ระกอบไปด้วยเม็ดดินทีม่ ขี นาดใหญ่กว่าทีก่ ล่าวมาแล้ว ปริมาณมวลดินคละทีใ่ ช้ใน
การทดสอบขึน้ อยูก่ บั nominal maximum size ของมวลดินคละนัน้ ตามทีร่ ะบุไว้ในตารางที่
3.1 ซึง่ nominal maximum size ในทีน่ ้ี เป็ นขนาดช่องเปิ ดของตะแกรงทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ทีเ่ ม็ดดิน
ทัง้ หมดในมวลดินคละนัน้ สามารถลอดผ่านไปได้โดยไม่มเี ม็ดดินตกค้างบนตะแกรงเลย

ตารางที่ 3.1 ปริ มาณที่ เหมาะสมของมวลดิ นคละที่ ใช้ในการทดสอบ


NOMINAL MAXIMUM SIZE ใช้มวลคละทดสอบ มีน้าหนักไม่น้อยกว่า
9.5 มม. หรือ 3/8 นิ้ว 1 กิโลกรัม
12.5 มม. หรือ 1/2 นิ้ว 2 กิโลกรัม
19.0 มม. หรือ 3/4 นิ้ว 5 กิโลกรัม
25.0 มม. หรือ 1 นิ้ว 10 กิโลกรัม
37.5 มม. หรือ 1 1/2 นิ้ว 15 กิโลกรัม
50.0 มม. หรือ 2 นิ้ว 20 กิโลกรัม
CE 372 Lab. No.3 page 25

ตารางที่ 3.2 ขนาดช่องเปิ ดของตะแกรงร่อนดิ นตามมาตรฐาน ASTM


SIEVE OPENING SIEVE OPENING SIEVE OPENING
No. (mm) No. (mm) No. (mm)
4 in. 100.0 No. 4 4.75 No. 40 0.425
3 in. 75.0 No. 5 4.00 No. 45 0.355
2 1/2 in. 63.0 No. 6 3.35 No. 50 0.300
2 in. 50.0 No. 7 2.80 No. 60 0.250
1 3/4 in. 45.0 No. 8 2.36 No. 70 0.212
1 1/2 in. 37.5 No. 10 2.00 No. 80 0.180
1 1/4 in. 31.5 No. 12 1.70 No. 100 0.150
1 in. 25.0 No. 14 1.40 No. 120 0.125
3/4 in. 19.0 No. 16 1.18 No. 140 0.106
5/8 in. 16.0 No. 18 1.00 No. 170 0.090
1/2 in. 12.5 No. 20 0.85 No. 200 0.075
3/8 in. 9.5 No. 25 0.71 No. 230 0.063
5/16 in. 8.0 No. 30 0.60 No. 325 0.045
1/4 in. 6.3 No. 35 0.50 No. 400 0.038

ตารางที่ 3.3 ขนาดช่องเปิ ดของตะแกรงร่อนดิ นมาตรฐานอังกฤษเดิ ม (B.S. Sieve)


SIEVE OPENING SIEVE OPENING SIEVE OPENING
No. (mm) No. (mm) No. (mm)
No. 5 3.353 No. 22 0.699 No. 100 0.152
No. 6 2.812 No. 25 0.599 No. 120 0.124
No. 7 2.411 No. 30 0.500 No. 150 0.104
No. 8 2.057 No. 36 0.422 No. 170 0.089
No. 10 1.676 No. 44 0.353 No. 200 0.076
No. 12 1.405 No. 52 0.295 No. 240 0.066
No. 14 1.204 No. 60 0.251 No. 300 0.053
No. 16 1.003 No. 72 0.211
No. 18 0.853 No. 85 0.178
CE 372 Lab. No.3 page 26

ตารางที่ 3.4 ขนาดช่องเปิ ดของตะแกรงร่อนดิ นมาตรฐานอังกฤษปัจจุบนั (B.S. Sieve)


SIEVE OPENING SIEVE OPENING SIEVE OPENING
No. (mm) No. (mm) No. (mm)
16.0 mm 16.0 2.00 mm 2.00 250 m 0.178
13.2 mm 13.2 1.70 mm 1.70 212 m 0.212
11.2 mm 11.2 1.40 mm 1.40 180 m 0.180
9.50 mm 9.50 1.18 mm 1.18 150 m 0.150
8.00 mm 8.00 1.00 mm 1.00 125 m 0.125
6.70 mm 6.70 850 m 0.850 106 m 0.106
5.60 mm 5.60 710 m 0.710 90 m 0.089
4.75 mm 4.75 600 m 0.600 75 m 0.075
4.00 mm 4.00 500 m 0.500 63 m 0.063
3.35 mm 3.35 425 m 0.425 53 m 0.053
2.80 mm 2.80 355 m 0.355 45 m 0.045
2.36 mm 2.36 300 m 0.300 38 m 0.038

@@@@@@@@@@@@@@@@@
CE 372 Lab. No.3 page 27

CE 372 ENGINEERING SOIL TESTS


EXPERIMENT No. 3
SIEVE ANALYSIS
ชื่อ-สกุล ………………………......................................…………….…… รหัส .................................. ตอนที่ .......... กลุ่มที่ ................ วันทดสอบ ........................................

เมื่อเตรียมตัวอย่าง หลังจากล้าง
ข้อมูลตัวอย่างดิ น
ก่อนนาไปล้างผ่านตะแกรง ผ่านตะแกรง No. 200
เครือ่ งหมายถาดใส่ตวั อย่างดิ น
น้าหนักถาด + ดิ นแห้ง (กรัม)
น้าหนักถาดใส่ตวั อย่างดิ น (กรัม)
น้าหนักดิ นแห้งที่ใช้ทดสอบ (กรัม)

น้าหนักดิ นแห้งส่วนที่ ล้างผ่านตะแกรง No.200 (กรัม)

ตะแกรง ขนาดช่องเปิ ด น้าหนัก น้าหนัก Cumulative


ASTM แผ่นตะแกรง ตะแกรง น้าหนัก ดิ นแห้ง Percent Percent Percent
No. (ขนาดเม็ดดิ น) + ดิ นแห้ง ตะแกรง ค้างบน Retained Retained Finer
(D) ตะแกรง
(มม.) (กรัม) (กรัม) (กรัม) (%) (%) (%)
1 in. 25.0
3/4 in. 19.0
1/2 in. 12.5
3/8 in. 9.50
No. 4 4.75
No. 10 2.00
No. 20 0.850
No. 40 0.425
No. 100 0.150
No. 200 0.075
Pan ------

รวม

น้าหนักดิ นแห้งที่ หายไปจากการทดสอบ กรัม Percent Error %

Note: น้าหนักดิ นแห้งค้างใน Pan = (น้าหนักดิ นแห้งค้างใน Pan จากการร่อนแห้ง ) + (น้าหนักดิ นแห้งส่วนที่ล้างผ่านตะแกรง No.200)
CE 372 ENGINEERING SOIL TESTS
การทดสอบเรือ่ งที่ 4
การทดสอบเพื่อประเมินขนาดและปริมาณของเม็ดดินในมวลดินเม็ดละเอียด
โดยวิธีไฮโดรมิเตอร์
PARTICLE SIZE ANALYSIS OF FINE GRAINED SOILS
HYDROMETER METHOD

1. บทนา

การประเมินขนาดและปริมาณของเม็ดดินในมวลดินคละเม็ดละเอียดโดยวิธกี ลจะไม่สามารถ
กระทาได้ เนื่องจากเม็ดดินประเภท silt และ clay มีขนาดเล็กมากและเม็ดดินมีแรงยึดเหนี่ยวดึงดูดซึง่ กันและกัน
หรือ cohesion ทาให้เม็ดดินเกาะติดกันเป็ นก้อนดินทีม่ คี วามมันคงสู ่ ง การทุบมวลดินคละด้วยค้อนยาง ไม่
สามารถทาให้เม็ดดินแยกตัวออกจากกันเป็ นเม็ดดินอิสระจนหมดสิน้ ได้ เมือ่ นามวลดินคละนัน้ ไปร่อนผ่านตะแกรง
โดยวิธีกล จึงทาให้เม็ดดินค้างอยู่บนตะแกรงทีม่ ชี ่องเปิ ดขนาดใหญ่กว่าขนาดที่แท้จริงของเม็ดดินแต่ละเม็ด
นอกจากนัน้ เม็ดดินทีม่ ขี นาดเล็กมาก มีค่า specific surface สูง สามารถดึงดูดติดอยู่กบั เส้นลวดแผ่นตะแกรง ทา
ให้เกิดการอุดตันของแผ่นตะแกรงได้งา่ ย ด้วยเหตุผลเหล่านี้ ทาให้ผลทดสอบแสดงปริมาณเม็ดดินค้างอยู่บน
ตะแกรงทีม่ ชี ่องเปิ ดขนาดเล็ก มีปริมาณมากกว่าความเป็ นจริง อีกทัง้ การผลิตแผ่นตะแกรงทีม่ ชี ่องเปิ ดขนาดเล็ก
มาก (ขนาดเล็กกว่า 0.038 มม หรือ 38 microns) ย่อมไม่ได้ผลดี ยากแก่การควบคุมขนาดช่องเปิ ดของตะแกรง
ให้คงทีไ่ ด้มาตรฐาน และยากต่อการดูแลรักษา แผ่นตะแกรงมักจะเกิดอุดตันระหว่างการทดสอบและเกิด การชารุด
เสียหายได้งา่ ย ดังนัน้ การประเมินขนาดและปริมาณของเม็ดดินในมวลดินคละเม็ดละเอียด จึงต้องเปลีย่ นไปใช้
วิธกี ารทางเคมี โดยใช้สารเคมีทม่ี คี ณ
ุ สมบัตทิ าลายแรงดึงดูดระหว่างเม็ดดินผสมเข้ากับมวลดินคละเพื่อช่วยให้เม็ด
ดินขนาดเล็ก แยกตัวออกจากกันเป็ นเม็ดดินอิสระ หรือ ทาให้เม็ดดินอยู่ในสภาพ deflocculation และอาศัยกฎ
การตกตะกอนของอนุ ภาครูปทรงกลมในของเหลว หรือ Stokes’ Law ช่วยในการประเมินขนาดและปริมาณของ
เม็ดดินในมวลดินคละนัน้ วิธกี ารทดสอบนี้เรียกว่า Hydrometer Analysis หรือ Hydrometer Method ซึง่ ตาม
มาตรฐาน AASHTO และ ASTM ระบุว่าใช้ทดสอบกับมวลดินคละส่วนทีเ่ ม็ดดินมีขนาดเล็กกว่า 0.075 มม. หรือ
มวลดินส่วนทีร่ ่อนผ่านตะแกรง ASTM No.200 โดยทีข่ อ้ กาหนดตามกฏของ Stokes สามารถนาไปใช้ได้กบั
อนุภาคทีม่ ขี นาดเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 0.0002 มม. ถึง 0.2 มม. (BOWLES, 1992)

2. วัตถุประสงค์ของการทดสอบ

เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้ทาความเข้าใจในทฤษฎี และเรียนรูว้ ธิ กี ารทีใ่ ช้ประเมินขนาดและปริมาณ


ของเม็ดดินในมวลดินคละเม็ดละเอียด โดยวิธี Hydrometer Analysis ภายใต้หลักการของ Stokes’ Law รวมถึง
CE 372 Lab. No.4 page 29

การคานวณ การวิเคราะห์ผล และการรายงานผลการทดสอบในรูปของ particle size distribution curve หรือ


grading curve ให้สมั พันธ์กบั ผลการทดสอบโดยวิธรี อ่ นผ่านตะแกรงทีไ่ ด้ดาเนินการทดสอบไปแล้วกับตัวอย่างดิน
ส่วนทีเ่ ป็ นมวลคละหยาบของตัวอย่างมวลดินคละเดียวกันนี้

3. เอกสารอ้างอิ ง

3.1 มาตรฐาน ASTM D 422


Standard Method for Particle-Size Analysis of Soils
3.2 มาตรฐาน AASHTO DESIGNATION T 88
Standard Method of Particle Size Analysis of Soils
3.3 มาตรฐานอังกฤษ (BRITISH STANDARD) BS 1377 : 1975 TEST 7 (D)
Determination of the Particle Size Distribution : Subsidiary Method for Fine Grained Soils
(Hydrometer Method)
3.4 BOWLES, J.E. (1992)
“Engineering Properties of Soils and Their Measurement”
Mcgraw-Hill Book Co.; Fourth Edition 1992; Experiment No.6
3.5 HEAD, K.H. (2006)
“Manual of Soil Laboratory Testing”
Volume 1 : Soil Classification and Compaction Tests
CRC Press, Taylor & Francis Group; Third Edition 2006
3.6 DAS, B.M. (2002)
“Soil Mechanics Laboratory Manual”
Oxford University Press; Sixth Edition 2002

4. ทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง

การทดสอบเพือ่ ประเมินขนาดและปริมาณของเม็ดดินในมวลดินคละทีป่ ระกอบไปด้วยดินเม็ด


ละเอียดโดยวิธกี ารตกตะกอนนี้ อาศัยหลักการของ Stokes’ Law ซึง่ ระบุว่า การตกตะกอนของอนุภาครูปทรงกลม
ในของเหลวชนิดเดียวกันใดๆ อนุ ภาคทีม่ ขี นาดเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่ จะตกตะกอนได้เร็วกว่าอนุ ภาคชนิด
เดียวกันทีม่ ขี นาดเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กกว่า และความเร็วของการตกตะกอนของอนุ ภาค จะมีความสัมพันธ์แปรผัน
กับขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุ ภาคนัน้ ดังนัน้ ในการทดสอบเพื่อประเมินขนาดและปริมาณของเม็ดดินในมวล
ดินคละเม็ดละเอียดโดยวิธีน้ี จึงมีวธิ กี ารโดยสรุป คือ นามวลดินคละเม็ดละเอียดอบแห้งมาละลายลงไปในน้ าที่
ผสมสารเคมี dispersing agent ไว้ เพื่อให้เกิดการแตกตัวของเม็ดดินเป็ นเม็ดดินอิสระในกระบอกตวงหรือ
measuring cylinder สารเคมีทน่ี ิยมใช้ เป็ น dispersing agent คือ สารละลาย sodium hexametaphosphate
(NaPO3) เมือ่ เตรียมน้าดินผสมสารเคมีแล้ว เขย่าผสมให้เม็ดดินขนาดต่างๆกระจายไปอย่างสม่าเสมอตลอดความ
ลึกของกระบอกตวงแล้วตัง้ กระบอกตวงทิ้งไว้เพื่อให้เกิดการตกตะกอนของเม็ดดิน ความขุน่ ข้นของน้ าดินใน
ส่วนบนของกระบอกตวงจะค่อยๆลดลง เนื่องจากเม็ดดินในส่วนบนของกระบอกตวงเคลื่อนที่ตกตะกอนไปสู่
ส่วนล่างของกระบอกตวงมากขึน้ ตลอดเวลา โดยเม็ดดินทีม่ ขี นาดใหญ่จะตกตะกอนไปก่อน และเม็ดดินขนาดเล็ก
CE 372 Lab. No.4 page 30

จะเคลื่อนทีต่ กตะกอนตามลงไปด้วยอัตราความเร็วทีช่ า้ กว่า เม็ดดินทีค่ า้ งอยู่ในน้ าส่วนบนของกระบอกตวงจะเป็ น


เม็ดดินทีม่ ขี นาดเล็กลง และมีปริมาณน้อยลง ตลอดเวลาทีผ่ ่านไปหลังจากเริม่ ต้นการทดสอบ ปริมาณเม็ดดินทีม่ ี
อยูใ่ นน้าส่วนบนของกระบอกตวง ณ เวลาใดๆ สามารถวัดได้โดยใช้ hydrometer Model ASTM 152H ทีจ่ ดั ทาขึน้
โดยเฉพาะ อ่านค่าปริมาณมวลสารทีม่ เี จือปนอยูใ่ นน้าปริมาตร 1000 ลบ.ซม. หรือ 1 ลิตร จากข้อมูลดังกล่าว จะ
นาไปคานวณได้ว่า ณ เวลาทีผ่ า่ นไปใดๆ ยังมีเม็ดดินเหลือลอยอยูใ่ นน้าส่วนบนของกระบอกตวง เป็ นร้อยละเท่าใด
โดยน้ าหนักของเม็ดดินทัง้ หมดทีใ่ ช้ในการทดสอบ และใช้ Stokes’ Law คานวณได้ว่า ณ เวลาทีผ่ ่านไปนัน้ ๆ
เม็ดดินทีต่ กตะกอนไปแล้วจากน้าส่วนบนของกระบอกตวง มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง หรือ particle size (particle
diameter, grain size, หรือ grain diameter) เล็กทีส่ ุดเท่าใด ทาให้ประเมินได้ว่า มวลดินคละทีใ่ ช้ในการทดสอบมี
เม็ดดินขนาดเล็กกว่า particle size ใด อยู่เป็ นร้อยละเท่าใดโดยน้ าหนัก ของมวลดินคละทัง้ หมด หรือ ค่า
percentage finer นัน่ เอง เมื่ออ่านค่าเก็บข้อมูลการทดสอบ ณ เวลาต่างๆหลายค่า ก็จะได้ค่า percentage finer
สาหรับค่า particle size ต่างๆหลายขนาด สามารถนาไป plot เป็ น particle size distribution curve ได้

กฎของ Stokes แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วของการตกตะกอนของอนุภาครูปทรง


กลมในของเหลวใดๆ กับขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาครูปทรงกลมนัน้ ดังต่อไปนี้

2   s   f  D 2
  
v = ……………….. (4.1)
9   2 
 

เมือ่ v เป็ นความเร็วของการเคลื่อนทีต่ กตะกอนของอนุภาครูปทรงกลม มีหน่วยเป็ น cm/s


D เป็ นขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาครูปทรงกลม มีหน่วยเป็ น cm
 เป็ นค่า absolute viscosity หรือ dynamic viscosity ของของเหลวตัวกลางของ
การตกตะกอน มีหน่วยเป็ น dyne.s/cm2 หรือ g/(cm.s) หรือ poise
S เป็ นหน่วยน้าหนัก (unit weight) ของอนุภาคทีต่ กตะกอน โดยที่ γ s  gρ w และ
ในหน่วย SI สามารถเขียนได้เป็ น  s  980.7 G s เมือ่ GS เป็ นค่า specific gravity
ของอนุภาคทีต่ กตะกอน
f เป็ นหน่วยน้าหนักของของเหลวตัวกลางการตกตะกอน แต่ในการทดสอบนี้ ใช้น้า
กลันเป็
่ นของเหลวตัวกลางการตกตะกอน ดังนัน้ f จึงเขียนแทนด้วย w โดยที่
γ w  gρ w และในหน่วย SI สามารถเขียนได้เป็ น γ w  980.7 G w เมือ่ GWเป็ นค่า
specific gravity ของน้า และมีคา่ เปลีย่ นแปลงไปตามอุณหภูม ิ (ตารางที่ 4.1)

สมการที่ 4.1 สามารถเขียนในรูปแบบทีเ่ รียบเรียงใหม่ เพือ่ ใช้ประเมินค่าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาคที่


ตกตะกอนได้ ดังนี้ คือ

18  v
D = ……………….. (4.2)
980.7 G s  G w 
CE 372 Lab. No.4 page 31

ผลการวิเคราะห์โดยสมการที่ 4.2 นี้ เป็ นทีย่ อมรับได้เมือ่ อนุภาคทีต่ กตะกอน มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง


0.0002 มม.ถึง 0.2 มม. และจะใช้ประเมินขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาคได้ จะต้องมีขอ้ มูลประกอบไปด้วย
ค่า  และ ค่า GW ของน้า ณ อุณหภูมทิ ท่ี าการทดสอบ ซึง่ สามารถอ่านค่าทัง้ สองได้จากตารางที่ 4.1 ส่วนค่า
GS เป็ นค่า specific gravity ของเม็ดดินซึง่ ประเมินได้จากการทดสอบทีผ่ า่ นมาแล้ว และค่า v เป็ นความเร็วของ
การตกตะกอนของอนุภาคหรือเม็ดดินในน้า

Hydrometer ทีใ่ ช้ในการทดสอบนี้เป็ น hydrometer มาตรฐาน ASTM MODEL No.152H ที่


ทาขึน้ โดยเฉพาะ มี scale สาหรับอ่านค่าเป็ นปริมาณมวลสารทีเ่ จือปนอยู่ในน้ า ในหน่ วย g/litre คือ กรัมของมวล
สารหรือมวลดินทีเ่ จือปนอยู่ในน้ าปริมาตร 1 ลิตร hydrometer นี้ม ี scale ทีใ่ ช้อ่านค่าได้จาก 0 ถึง 60 g/l ดังนัน้
จึงต้องระมัดระวังในการใช้งานหากมีปริมาณมวลสารเจือปนอยู่ในน้ าเกินกว่า 60g/l จะไม่สามารถใช้ hydrometer
นี้อา่ นค่าได้ ในการนา hydrometer นี้ไปใช้งาน เมือ่ จุ่ม hydrometer ลงไปในน้าดิน hydrometer จะต้องลอยตัวอยู่
ได้โดยอิสระ แล้วทาการอ่านค่าบนก้าน hydrometer ณ จุดทีก่ า้ น hydrometer ตัดกับระดับราบของผิวน้ า ค่าที่
อ่านได้จะเป็ นค่าปริมาณความเข้มข้นของเม็ดดินในน้ า ณ ระดับจุดศูนย์ถ่วงของกระเปาะ hydrometer ในหน่ วย
กรัมของเม็ดดิน/ลิตรของน้ าดิน ดังนัน้ เมื่อระยะเวลาทีท่ าการทดสอบผ่านไปนานขึน้ ปริมาณเม็ดดินทีล่ อยอยู่ใน
น้ าส่วนบนของกระบอกตวงลดลง hydrometer ก็จะจมลึกลงไปในน้ าดินได้มากขึน้ พร้อมๆกับค่าทีอ่ ่านได้จะ
ลดลงไปเรื่อยๆ ทาให้จุดศูนย์ถ่วงของกระเปาะ hydrometer จมลึกลงไปจากระดับผิวของน้ า ดินทุกขณะ ระยะ L
ซึง่ เป็ นระยะจากระดับราบของผิวน้ าดินถึงระดับจุดศูนย์ถ่วงของกระเปาะ hydrometer ณ เวลาทีผ่ ่านไปใดๆ มี
ความสาคัญทีจ่ ะต้องนามาใช้ในการคานวณความเร็วของการตกตะกอนของเม็ดดินในน้ าดินนัน้ โดยที่ Stokes’
Law ถือว่า อนุ ภาคทีผ่ วิ น้ า เคลื่อนทีต่ กตะกอนลงมาถึงระดับจุดศูนย์ถ่วงของกระเปาะ hydrometer เป็ นระยะทาง
L (cm) ในเวลา t (s) ทีผ่ า่ นไปหลังจากเริม่ การทดสอบ ดังนัน้ อนุภาคจะเคลื่อนทีต่ กตะกอนด้วยความเร็ว v โดยที่

L
v = ในหน่วย cm/s ……………….. (4.3)
t

และเมือ่ แทนค่า v นี้ลงในสมการที่ 4.2 พร้อมทัง้ เปลีย่ นหน่วยของเวลา (t) เป็ น นาที และเปลีย่ นหน่วยของขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาค หรือ particle size (D) เป็ น มม. จะเขียนสมการที่ 4.2 ได้ใหม่ เป็ น

30  L
D = ……………….. (4.4)
980.7 G s  G w  t

L
หรือ D = K ……………….. (4.5)
t

เมือ่ K เป็ นค่าสัมประสิทธิ ์ของการทดสอบ ซึง่ เป็ น function ของค่าความถ่วงจาเพาะของเม็ดดิน


(GS) และคุณสมบัตขิ องน้า (GW และ  ) ณ อุณหภูมทิ ใ่ี ช้ทาการทดสอบ (ตารางที่ 4.3)
D เป็ นขนาดของเม็ดดินทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ทีต่ กตะกอนผ่านจุดศูนย์ถ่วงของกระเปาะ hydrometer ลง
ไปแล้ว หลังจากการทดสอบผ่านไปเป็ นเวลา t ใดๆ มีหน่วยเป็ น มม.
t เป็ นระยะเวลาทีผ่ า่ นไป จากจุดเริม่ อ่านค่าการทดสอบ มีหน่วยเป็ น นาที
CE 372 Lab. No.4 page 32

L เป็ นระยะความลึก จากระดับราบของผิวน้าดินในกระบอกตวง ถึงระดับจุดศูนย์ถว่ งของ


กระเปาะ hydrometer ณ เวลา t ทีผ่ า่ นไปนัน้ ๆ มีหน่วยเป็ น ซม.

หากกาหนดให้ L เป็ นระยะทางจากระดับราบของผิวของเหลวลงไปถึงระดับจุดศูนย์ถ่วงของ


กระเปาะ hydrometer ในของเหลวนัน้ ดังแสดงไว้ในรูปที่ 4.1 จะเห็นได้ว่าทุกครัง้ ทีค่ า่ ทีอ่ า่ นได้บนก้าน hydrometer
(hydrometer reading, R) เปลีย่ นไป ระยะ L ก็จะเปลีย่ นไปด้วย แต่ความสัมพันธ์ระหว่างค่า L และค่า R บนก้าน
ของ hydrometer แต่ละอันเป็ นความสัมพันธ์ทค่ี งที่ สามารถประเมินได้โดยการ calibrate hydrometer ทีจ่ ะใช้ไว้
ล่วงหน้าก่อนทาการทดสอบ โดยอาศัยสมการ

1 V 
L = L1   L 2  b  ……………….. (4.6)
2 Ac 

เมือ่ L เป็ นระยะทางจากจุด scale reading ใดๆ (ค่า R หน่วย g/l) บนก้าน hydrometer
ถึงระดับจุดศูนย์ถ่วงของกระเปาะ hydrometer เมือ่ hydrometer นัน้ ลอยตัวอยูใ่ น
น้าดิน มีหน่วยเป็ น cm
L1 เป็ นระยะทางจากจุด scale reading ใดๆ (ค่า R หน่วย g/l) บนก้าน hydrometer
ถึงระดับ scale reading ทีอ่ ยู่ต่าสุดบนก้าน hydrometer นัน้ (ปกติจะเป็ น scale reading
ที่ R = 60 g/l) มีหน่วยเป็ น cm
L2 เป็ นระยะทางจากจุด scale reading ทีอ่ ยูต่ ่าสุดบนก้าน hydrometer (ปกติจะเป็ นค่า
R = 60 g/l) ถึงจุดปลายสุดของกระเปาะ hydrometer มีหน่วยเป็ น cm
Vb เป็ นปริมาตรของกระเปาะ hydrometer มีหน่วยเป็ น cc
AC เป็ นพืน้ ทีห่ น้าตัดภายในของกระบอกตวงความจุ 1000 cc ทีใ่ ช้ทดสอบการตกตะกอนของ
เม็ดดิน มีหน่วยเป็ น cm2

เมือ่ พิจารณาจากรูปที่ 4.1 จะเห็นได้ว่า ระยะจาก scale reading ทีเ่ ป็ นค่า R ใดๆ ลงไปถึง
1
จุดศูนย์ถ่วงของกระเปาะ hydrometer จะมีคา่ L =  L1  L 2  แต่จากรูปที่ 4.2 การนา hydrometer ไปจุ่มลง
 2 
ในของเหลวในกระบอกตวง ปริมาตรของกระเปาะ hydrometer (Vb) จะไปแทนทีข่ องเหลวในกระบอกตวง เป็ น
V 
ผลให้ระดับผิวของเหลวในกระบอกตวงสูงขึน้ จากระดับเดิม เป็ นระยะ =  b  (ระดับเดิมในทีน่ ้ี คือ ระดับขีด
 Ac 
แสดงปริมาตร 1000 cc ของกระบอกตวง) ทาให้จุดศูนย์ถ่วงของกระเปาะ hydrometer เคลื่อนทีส่ งู ขึน้ มาใน
1  Vb 
กระบอกตวงเป็ นระยะทาง =   เมือ่ เปรียบเทียบกับระดับทีจ่ ุดศูนย์ถ่วงของกระเปาะ hydrometer ควรจะ
2  A c 
วางตัวอยู่ใน ของเหลว หากระดับผิวของของเหลวทรงตัวอยู่ทร่ี ะดับเดิม (ทีข่ ดี แสดงปริมาตร 1000 cc) ในการ
ประเมินความสัมพันธ์ระหว่าง ระยะ L และค่า hydrometer reading, R โดยสมการที่ 4.6 นี้ จะถือว่า ก้าน
hydrometer ส่วนทีจ่ มลงไปแทนทีข่ องเหลวในกระบอกตวง มีปริมาตรน้อยมาก เมือ่ เปรียบเทียบกับปริมาตรของ
CE 372 Lab. No.4 page 33

รูปที่ 4.1 ระยะต่างๆบน HYDROMETER

รูปที่ 4.2 ระยะ L เมื่อ HYDROMETER ลอยอยู่ในของเหลว

กระเปาะ hydrometer (Vb) ดังนัน้ จึงสมมุตใิ ห้การเปลีย่ นแปลงของปริมาตรของเหลวส่วนทีถ่ ูกแทนทีด่ ว้ ยก้าน


hydrometer มีค่าเป็ นศูนย์ ผลของการทา hydrometer calibration จะเป็ นเส้นกราฟความสัมพันธ์ระหว่างค่า L
และค่า hydrometer scale reading, R ซึง่ จะบอกให้ทราบได้ว่า เมือ่ hydrometer ดังกล่าวลอยตัวอยู่ในของเหลว
ทีม่ อี นุภาคหรือเม็ดดินเจือปน และอ่านค่า ณ จุดทีก่ า้ น hydrometer ตัดกับระดับราบของผิวของเหลว ได้เป็ นค่า R
ใดๆ จุดศูนย์ถ่วงของกระเปาะ hydrometer ในขณะนัน้ จะอยูล่ กึ จากระดับราบของผิวของเหลวเป็ นระยะทาง L
เท่าใด เส้นกราฟความสัมพันธ์น้ีจะมีลกั ษณะเป็ นกราฟเส้นตรง
CE 372 Lab. No.4 page 34

การอ่านค่า scale บนก้าน hydrometer ทีถ่ ูกต้อง จะต้องเป็ นค่าทีร่ ะดับราบของผิวของเหลว


ตัดกับก้าน hydrometer เสมอ แต่โดยทัวไปในระหว่ ่ างการทดสอบ การอ่านค่าจะเป็ นการอ่านทีร่ ะดับ top of
meniscus ทัง้ นี้เนื่องจากแรงตึงผิวระหว่างของเหลวกับก้านของ hydrometer ทาให้จุดตัดของผิวของเหลวกับก้าน
hydrometer สูงขึน้ ไปจากระดับราบของระดับผิวของเหลวทีแ่ ท้จริง ดังแสดงไว้ในรูปที่ 4.1 และการทีข่ องเหลวมี
ความขุน่ ข้น ทาให้ไม่สามารถมองผ่านของเหลวเข้าไปอ่านค่าบนก้าน hydrometer ณ ระดับราบของผิวของเหลว
ในกระบอกตวงได้ จึงจาเป็ นต้องอ่านค่าบนก้าน hydrometer จากระดับ top of meniscus (Ra) แทนแล้วนาค่า Ra
ทีอ่ า่ นได้น้ีมาทาการปรับแก้ โดยใช้ค่า meniscus correction ซึง่ ประเมินได้โดยการนา hydrometer ดังกล่าว ไป
จุ่มลอยตัวในน้ าใส ทาให้สามารถอ่านค่าบนก้าน hydrometer ทัง้ ที่ top of meniscus และทีร่ ะดับราบของผิวน้ า
ได้อย่างถูกต้อง ความแตกต่างของค่าทีอ่ ่านได้ทงั ้ สองค่า จะนามาใช้เป็ นค่า meniscus correction สาหรับใช้การ
ปรับแก้คา่ Ra ทีอ่ า่ นได้ในน้าดิน ให้เป็ นค่า R ทีถ่ กู ต้อง เพือ่ นาไปประเมินค่า L จาก calibration chart ต่อไป

หลังจากทีป่ ระเมินขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง หรือ particle size (D) ของเม็ดดินทีต่ กตะกอนใน


ระยะเวลา t ใดๆทีผ่ ่านไปได้แล้ว จะสามารถประเมินปริมาณของเม็ดดินในมวลดินคละทีม่ ขี นาดเล็กกว่า D ซึง่
ยังคงแขวนลอยอยู่ในน้ าเหนือระดับจุดศูนย์ถ่วงของ hydrometer หลังจากระยะเวลา t ทีผ่ ่านไปดังกล่าวเป็ น
ปริมาณร้อยละโดยน้ าหนักของมวลดินคละทีใ่ ช้ในการทดสอบ หรือ percentage finer than particle size D ได้
จากสมการ

 a Rc 
N = 100   มีหน่วยเป็ น % ……………….. (4.7)
 Ws 

เมือ่ N เป็ นค่า percentage finer than particle size D ณ เวลา t ใดๆ
WS เป็ นน้าหนักของมวลดินแห้งในกระบอกตวงทีใ่ ช้ทาการทดสอบในครัง้ นี้ มีหน่วยเป็ น กรัม
a เป็ น factor ทีข่ น้ึ อยูก่ บั ค่า specific gravity ของเม็ดดิน ประเมินได้จากสมการ

1.65 G s
a = ……………….. (4.8)
2.65 G s  1

โดยที่ GS เป็ นค่า specific gravity ของเม็ดดิน และ a = 1.00 เมือ่ GS = 2.65
ค่า factor a นี้ จะอ่านโดยตรงจากตารางที่ 4.4 ก็ได้
RC เป็ นค่า hydrometer reading ทีถ่ กู ต้อง หลังจากปรับแก้ความคลาดเคลื่อนต่างๆแล้ว

ความคลาดเคลื่อนของค่า hydrometer reading (Ra) ทีต่ อ้ งปรับแก้ให้เป็ นค่าทีถ่ ูกต้อง (RC)


ในทีน่ ้ี เป็ นผลมาจากมาจากอนุ ภาคของสารเคมี dispersing agent ทีแ่ ตกตัวแขวนลอยอยู่ในน้ า อนุ ภาคเหล่านี้
ไม่ใช่อนุ ภาคของมวลดินคละทีท่ าการทดสอบ ความคลาดเคลื่อนทีเ่ กิดขึน้ เป็ นผลให้ ค่า hydrometer reading ที่
อ่านได้จากการทดลอง (Ra) แสดงปริมาณเม็ดดินทีล่ อยตัวอยู่ในน้ ามากเกินความเป็ นจริง ค่าปรับแก้ความ
คลาดเคลื่อนดังกล่าว เรียกว่าค่า zero correction หรือ CZ (BOWLES, 1992) ประเมินได้โดยการเตรียมกระบอก
ตวงบรรจุน้ าผสม dispersing agent ในปริมาณเดียวกันและทีอ่ ุณหภูมเิ ดียวกันกับทีใ่ ช้ทาการทดสอบกับมวลดิน
CE 372 Lab. No.4 page 35

คละ แล้วจุ่ม hydrometer ลงไปลอยอยูใ่ นส่วนผสมดังกล่าว อ่านค่าบนก้าน hydrometer ทีร่ ะดับ top of meniscus
จะได้คา่ CZ หากค่าทีอ่ า่ นได้อยู่ระหว่างช่วง scale 0 ถึง 60 g/l CZ จะมีค่าเป็ นบวก (+) แต่ถา้ อ่านค่าได้น้อยกว่า
0 g/l CZ จะมีค่าเป็ นลบ (-) ความคลาดเคลื่อนของค่า hydrometer reading อีกส่วนหนึ่งเป็ นผลเนื่องมาจาก
อุณหภูมขิ องน้าดินในขณะทีท่ าการอ่านค่า ซึง่ hydrometer ทีใ่ ช้ทาการทดสอบนี้ จะอ่านค่าได้ถูกต้องถ้าของเหลว
ทีใ่ ช้ทาการทดสอบมีอุณหภูม ิ 20OC หากอุณหภูมทิ ใ่ี ช้ทาการทดสอบผิดไปจากอุณหภูมมิ าตรฐาน 20OC ค่า
hydrometer reading (Ra) ทีอ่ ่านได้จะผิดไปจากความเป็ นจริง ค่าปรับแก้ความคลาดเคลื่อนเนื่องจากผลของ
อุณหภูมนิ ้ี เรียกว่า temperature correction หรือ CT เป็ นค่าคานวณสาเร็จดังแสดงไว้ในตารางที่ 4.2 ซึง่ จะเห็นได้
ว่า เมื่ออุณหภูมทิ ท่ี าการทดสอบต่ากว่า 20OC CT จะมีค่าเป็ นลบ (-) ถ้าอุณหภูมสิ งู กว่า 20OC CT จะมีค่าเป็ น
บวก (+) โดยทัวไปแล้
่ ว การทดสอบจะดาเนินไปภายใต้การควบคุมอุณหภูมทิ ค่ี งทีโ่ ดยวางกระบอกตวงน้ าดินและ
กระบอกตวงทีใ่ ส่ dispersing agent ไว้ในอ่างน้ าควบคุมอุณหภูมคิ งที่ (thermal bath) ตลอดการทดลอง แต่
อย่างไรก็ตาม ในการทดสอบทีต่ ่อเนื่องเป็ นระยะเวลานาน ควรจะทาการวัดอุณหภูมขิ องน้ าดินและน้ าผสม
dispersing agent ในกระบอกตวงทุกๆครัง้ ทีอ่ ่านค่า hydrometer (Ra) หลังจากทีเ่ ริม่ ต้นทาการทดสอบไปแล้ว
นานเกินกว่าสองชัวโมง ่ ค่าปรับแก้ความคลาดเคลื่อนทัง้ สองนี้ นามาใช้ปรับแก้ค่า hydrometer reading (Ra) ให้
เป็ นค่าทีถ่ กู ต้อง หรือ corrected hydrometer reading (RC) (BOWLES, 1992) ได้โดยใช้สมการ

RC = Ra - CZ + C T ……………….. (4.9)

โดยทาการ บวก และ ลบ ตามเครือ่ งหมาย และจะเห็นได้ว่า การปรับแก้ครัง้ นี้ ไม่มกี ารปรับแก้คา่ meniscus
error แต่อย่างใด ทัง้ นี้เนื่องจากค่า hydrometer reading (Ra) และค่าปรับแก้ CZ เป็ นค่าทีอ่ า่ นจากระดับ top of
meniscus ด้วยกันทัง้ คู่ meniscus error ทีเ่ กิดขึน้ จึงหมดไปโดยอัตโนมัติ

การประเมินขนาดและปริมาณของเม็ดดิน ในมวลดินคละเม็ดละเอียดโดยวิธี hydrometer


analysis ตามทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วนัน้ สามารถสรุปเพื่อความเข้าใจเกีย่ วกับการใช้ค่า hydrometer reading, (Ra)
ทีอ่ า่ นได้จากการทดสอบดังต่อไปนี้ คือ เมื่อการทดสอบผ่านไปเป็ นระยะเวลา t (นาที) ใดๆ อ่านค่า Ra บนก้าน
hydrometer ทีล่ อยตัวอยูใ่ นน้าดินทีร่ ะดับ top of meniscus ค่า Ra นี้ นาไปปรับแก้ meniscus error ให้เป็ นค่า R
นาไปประเมินค่า L จากกราฟความสัมพันธ์ทไ่ี ด้จากการทา hydrometer calibration เพื่อนาไปคานวณหาค่า
particle size, D จากสมการที่ 4.5 หลังจากนัน้ นาค่า hydrometer reading, (Ra) ไปปรับแก้ความคลาดเคลื่อน
CZ และ CT ตามสมการที่ 4.9 จะได้ค่า corrected hydrometer reading, (RC) นาไปใช้ในสมการที่ 4.7
คานวณหาค่า percentage finer หรือ ร้อยละโดยน้าหนักของมวลดินคละทีเ่ ม็ดดินมีขนาดเล็กกว่า particle size, D
ทีไ่ ด้คานวณไว้แล้วนัน้

อนึ่ง หากผลการทดสอบโดยวิธี hydrometer analysis นี้ เป็ นส่วนหนึ่งของการทดสอบเพื่อ


ประเมินปริมาณของเม็ดดินขนาดต่างๆในตัวอย่างมวลดินคละ ทีม่ ที งั ้ ดินเม็ดหยาบและดินเม็ดละเอียดปนกันอยู่
ผลการทดสอบโดยวิธี hydrometer analysis นี้ ต้องสามารถนาไปวิเคราะห์สมั พันธ์กบั ผลการทดสอบกับส่วนของ
มวลคละทีเ่ ป็ นดินเม็ดหยาบ ซึง่ ได้ทาการทดสอบโดยวิธรี ่อนผ่านตะแกรงไว้ก่อนหน้านี้แล้วได้ ค่า N หรือ
percentage finer than D ณ เวลา t ใดๆทีค่ านวณได้โดยสมการที่ 4.7 ในทีน่ ้ี เป็ นค่าร้อยละโดยน้ าหนัก เมื่อ
CE 372 Lab. No.4 page 36

เปรียบเทียบกับน้าหนักดินแห้งเฉพาะทีใ่ ช้ในการทดสอบ hydrometer analysis ซึง่ เป็ นดินเม็ดละเอียดส่วนทีร่ ่อน


จากมวลคละทัง้ หมดผ่านตะแกรง ASTM No.200 มิใช่เปรียบเทียบกับน้ าหนักดินแห้งของมวลดินคละทัง้ ตัวอย่าง
ดังนัน้ หากจะนาผลการทดสอบ hydrometer analysis นี้ไป plot เป็ น particle size distribution curve ร่วมกับผล
การทดสอบมวลดิน คละโดยวิธีร่อนผ่า นตะแกรงที่ได้ทดสอบไปก่อนหน้ านี้ แ ล้ว จ าเป็ น ต้องคานวณหาค่า
percentage finer เป็ นร้อยละโดยน้ าหนัก เมื่อเปรียบเทียบกับน้ าหนักมวลคละทัง้ ตัวอย่าง ซึง่ จะคานวณได้จาก
สมการ

N/ =  N XN มีหน่วยเป็ น % ……………… (4.10)


  200
 100 

เมือ่ N/ เป็ นค่า percentage finer than particle size D เมือ่ เปรียบเทียบกับน้าหนักของมวลดิน
คละทัง้ ตัวอย่าง
N เป็ นค่า percentage finer than particle size D เมือ่ เปรียบเทียบกับน้าหนักดินแห้ง
เฉพาะทีใ่ ช้ทาการทดสอบ hydrometer analysis ซึง่ คานวณได้จากสมการที่ 4.7
N200 เป็ นค่าร้อยละโดยน้าหนักของมวลดินคละทัง้ ตัวอย่างทีร่ อ่ นผ่านตะแกรง ASTM No.200
ซึง่ ประเมินได้จากการทดสอบโดยวิธรี อ่ น (หรือล้าง) ผ่านตะแกรง

5. วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ

5.1 ตัวอย่างดินแห้งร่อนผ่านตะแกรง ASTM No.200 ประมาณไม่น้อยกว่า 50 กรัม แต่ไม่เกิน 60 กรัม


5.2 กระบอกตวง (measuring cylinder) ขนาดความจุ 1000 cc จานวน 2 ใบ และ 500 cc จานวน 1 ใบ
5.3 hydrometer model ASTM No. 152H 1 อัน
5.4 เวอร์เนีย ขนาดวัดระยะได้ไม่ต่ากว่า 15 ซม. 1 อัน
5.5 เทอร์โมมิเตอร์ มีชว่ งวัดอุณหภูม ิ 0 ถึง 50 OC อ่านค่าได้ละเอียดถึง 1 OC
5.6 สารเคมีทใ่ี ช้เป็ น dispersing agent ในปริมาณทีต่ อ้ งการ
5.7 เครือ่ งปั น่ (mixer) และอุปกรณ์กวนผสมน้าดิน 1 ชุด
5.8 อ่างน้าควบคุมอุณหภูมคิ งทีไ่ ด้ (thermal bath)
5.9 นาฬิกาจับเวลา 1 เรือน
5.10 ถาดอะลูมเิ นียมเข้าเตาอบได้ มีความจุไม่ต่ากว่า 1500 cc 1 ใบ
5.11 เครือ่ งชังไฟฟ้
่ า ชังได้
่ ละเอียดถึง 0.01 กรัม

6. วิ ธีการทดสอบ

การทดสอบเรื่องนี้แบ่งเป็ น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็ นการประเมินความสัมพันธ์ระหว่างค่า


hydrometer reading, R ทีป่ รับแก้ meniscus error แล้ว กับ ระยะความลึกจากระดับผิวราบของของเหลวถึง
ระดับจุดศูนย์ถ่วงของกระเปาะ hydrometer ทีล่ อยอยู่ในของเหลว (L) ซึ่งเรียกโดยทัวไปว่
่ า การทดสอบ
hydrometer calibration หลังจากนัน้ จึงทดสอบการตกตะกอนของเม็ดดิน โดยใช้ hydrometer และกระบอกตวง
1000 cc ทีไ่ ด้ทาการ calibrate ร่วมกันไว้แล้ว
CE 372 Lab. No.4 page 37

6.1 HYDROMETER CALIBRATION


6.1.1 ประเมินพืน้ ทีห่ น้าตัดของกระบอกตวง 1000 cc (ค่า AC) ทีจ่ ะใช้ทดสอบการตกตะกอนของ
เม็ดดิน โดยใช้เวอร์เนีย วัดระยะระหว่างขีดบอกปริมาตร 500 cc และ 1000 cc บนกระบอก
ตวง ให้ได้ค่ามีความละเอียดถึง 0.01 ซม ซึง่ ปริมาตรภายในของกระบอกตวงในช่วงระยะ
ดังกล่าว เท่ากับ 500 cc นาค่าระยะทีว่ ดั ได้ไปหารปริมาตร 500 ลบ.ซม. จะได้ค่า
พืน้ ทีห่ น้าตัดภายในของกระบอกตวง (AC)
6.1.2 นากระบอกตวงความจุ 500 cc ไปใส่น้ าให้มปี ริมาตรประมาณ 400 cc อ่านค่าระดับผิวน้ า
ในกระบอกตวง เป็ น cc แล้วเอา hydrometer ทีจ่ ะทาการ calibrate จุ่มลงไปจน scale
reading ขีดต่าสุดบนก้าน hydrometer (ขีด scale 60 g/l) อยู่ทร่ี ะดับผิวน้ าพอดี ใช้มอื จับ
hydrometer ไว้ให้อยู่นิ่ง แล้วอ่านค่าระดับผิวน้ าจาก scale ข้างกระบอกตวงปริมาตรน้ า ใน
กระบอกตวงทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากการแทนทีข่ องกระเปาะ hydrometer จะเป็ นค่า
ปริมาตรของกระเปาะ hydrometer (Vb)
6.1.3 ใช้เวอร์เนีย วัดระยะ L2 จากขีดตาแหน่งค่า scale reading ต่าสุดบนก้าน hydrometer (ขีด
scale 60 g/l) ลงไปถึงจุดปลายสุดของกระเปาะ hydrometer
6.1.4 เลือก scale reading บนก้าน hydrometer ที่ R = 0 g/l เป็ นค่าแรก ใช้เวอร์เนียวัดระยะ
L1 จากขีดตาแหน่งค่า scale reading 0 g/l ลงไปถึงขีด scale reading ทีอ่ ยูต่ ่าสุดบนก้าน
hydrometer (ขีด scale 60 g/l)
6.1.5 วัดระยะ L1 อีก ตามวิธใี นข้อ 6.1.4 โดยเลือกขีดค่าบนก้าน hydrometer ทีค่ า่ scale
reading R = 10, 20, 30, 40, และ 50 g/l ตามลาดับ
6.1.6 บันทึกผลการวัดระยะ พืน้ ที่ และ ปริมาตรทัง้ หมดในหน่วย cm, cm2, และ cc ตามลาดับ
6.1.7 นาข้อมูลทีไ่ ด้มาทัง้ หมดไปคานวณ โดยสมการที่ 4.6 จะได้คา่ L เมือ่ R มีคา่ ต่างๆ นาค่า
L และ R แต่ละคู่ ไป plot เป็ น hydrometer calibration curve

6.2 การทดสอบการตกตะกอนของเม็ดดิ น
6.2.1 เตรียมสารละลาย dispersing agent โดยใช้สารเคมี sodium hexametaphosphate หนัก
40 กรัม ละลายลงในน้ากลัน่ 1000 cc
6.2.2 นาตัวอย่างดินแห้งร่อนผ่านตะแกรง ASTM No.200 ประมาณ 50 กรัม ใส่ลงในกระป๋ อง
อะลูมเิ นียมทีใ่ ช้กบั เครือ่ งปั น่ (mixer) ดังในรูปที่ 4.3 ก. เติมน้ ากลันให้
่ ท่วมตัวอย่างดิน แล้ว
ใช้สารละลาย dispersing agent ทีเ่ ตรียมไว้ในข้อ 6.2.1 ปริมาตร 125 cc เติมลงใน
กระป๋ อง ใช้เครื่องปั น่ (mixer) กวนผสมให้เข้ากันเป็ นน้ าดิน เทน้ าดินทีก่ วนผสมแล้วลงใน
กระบอกตวง 1000 cc ทีใ่ ช้ calibrate hydrometer ในข้อ 6.1 ใช้น้ ากลันล้ ่ างเม็ดดินจาก
กระป๋ องเครื่องปั น่ ลงไปในกระบอกตวงให้หมด แล้วปล่อยทิ้งไว้ให้ dispersing agent ทา
ปฏิกริ ยิ ากับเม็ดดินเป็ นเวลาประมาณ 16 ชัวโมง ่ เพือ่ ให้เม็ดดินแตกตัวออกจากกัน
6.2.3 หลังจากเม็ดดินแตกตัวดีแล้ว เติมน้ ากลันลงในกระบอกตวงให้
่ ได้ปริมาตรน้ าดิน 1000 cc
แล้วใช้อปุ กรณ์กวนผสมน้าดินในกระบอกตวง ดังในรูปที่ 4.3 ข. กวนผสมให้เม็ดดินกระจาย
ตัวในกระบอกตวงอย่างทัวถึ ่ ง
6.2.4 ใช้กระบอกตวงความจุ 1000 cc ใบที่ 2 เตรียมสารเคมีในปริมาณเท่ากับทีใ่ ช้ผสมน้าดิน คือ
ใช้สารละลายทีเ่ ตรียมขึน้ ในขัน้ ตอนที่ 6.2.1 ปริมาตร 125 cc แล้วเติมน้ากลันเพิ ่ ม่ ให้ได้
CE 372 Lab. No.4 page 38

ก. กระป๋องสาหรับกวนผสมน้าดิ นด้วยเครื่องปัน่

ข. ใบพัดสาหรับกวนผสมน้าดิ นในกระบอกตวง

รูปที่ 4.3 อุปกรณ์ประกอบเครื่องปัน่ (MIXER) และอุปกรณ์ กวนผสมน้าดิ น


CE 372 Lab. No.4 page 39

ปริมาตร 1000 cc พอดี แล้วนากระบอกตวงไปแช่ไว้ในอ่างควบคุมอุณหภูม ิ (thermal bath)


เพือ่ ใช้เป็ น control cylinder
6.2.5 จุ่ม hydrometer ทีไ่ ด้ calibrate ไว้แล้ว ลงในน้ าผสมสารเคมีใน control cylinder อ่านค่าที่
ระดับ top of meniscus จะได้ค่า zero correction, CZ แล้วมองผ่านของเหลวเข้าไปอ่านค่า
บนก้าน hydrometer ณ ระดับผิวราบของของเหลว ความแตกต่างระหว่างค่าทีอ่ ่านได้น้ี
กับค่าทีอ่ า่ นได้ทร่ี ะดับ top of meniscus จะเป็ นค่า meniscus correction
6.2.6 วางกระบอกตวงทีบ่ รรจุน้ าดิน ลงในอ่างควบคุมอุณหภูม ิ กวนผสมน้ าดินต่อไปจนกว่าจะ
พร้อมลงมือทาการทดสอบ ใช้เทอร์โมมิเตอร์วดั อุณหภูมขิ องน้าดินในกระบอกตวงและในน้ า
ผสมสารเคมีใน control cylinder จนอุณหภูมใิ นกระบอกตวงทัง้ สองมีค่าเท่ากันและคงที่
บันทึกค่าอุณหภูม ิ (T OC) ไว้
6.2.7 เมื่อพร้อมทีจ่ ะทาการทดสอบ ถอนอุปกรณ์กวนผสมออกจากกระบอกน้ าดิน แล้วหย่อน
hydrometer ลงไปแทนพร้อมกับเริม่ จับเวลา บันทึกวันทีแ่ ละเวลา (time of day) ทีเ่ ริม่ การ
ทดสอบ อ่านค่าบนก้าน hydrometer ทีร่ ะดับ top of meniscus ซึง่ เป็ นค่า Ra เมื่อเวลา
ผ่านไป 0.0, 0.25, 0.5, 0.75, 1, 1.5, 2, 3, และ 4 นาที ตามลาดับ
6.2.8 ถอน hydrometer ออกจากกระบอกน้ าดิน แล้วกวนผสมน้ าดินในกระบอกตวงให้ทวถึ ั่ ง
เมือ่ พร้อมแล้ว เริม่ ทดสอบตามขัน้ ตอนที่ 6.2.6 อีกครัง้ หนึ่ง
6.2.9 เปรียบเทียบชุดค่า Ra ทีอ่ ่านได้ในขัน้ ตอนที่ 6.2.8 นี้ กับชุดค่าทีอ่ ่านได้ในขัน้ ตอนที่ 6.2.7
ทีผ่ ่านมา ถ้าค่าแตกต่างกันมาก ให้กวนผสมน้ าดินเสียใหม่ให้ทวถึ ั ่ ง แล้วเริม่ ทดสอบตาม
ขัน้ ตอนที่ 6.2.7 อีกครัง้ จนกว่าชุดค่า Ra ในระยะเวลา 4 นาทีแรก ในการทดสอบ 2 ครัง้
ต่อเนื่องกัน จะมีคา่ ใกล้เคียงกัน
6.2.10 เมือ่ ชุดค่า Ra เป็ นทีย่ อมรับได้แล้วให้อ่านค่า Ra ทีเ่ วลา t ต่างๆต่อเนื่องกันไป เช่น ทีเ่ วลา
6, 8, 10, 15, 30, 60......นาที ตามลาดับ จนกว่าค่า Ra จะลดลงเหลือประมาณ 20 g/l หรือ
เมือ่ ได้คา่ Ra มากพอทีจ่ ะนาไปคานวณเพือ่ plot grading curve ได้โดยเหมาะสม
6.2.11 หลังจากการทดสอบผ่านไปนานเกินกว่า 2 ชัวโมงแล้ ่ ว ควรจะอ่านค่าอุณหภูมขิ องน้ าดินใน
กระบอกตวง ควบคูไ่ ปกับการอ่านค่า Ra ทุกครัง้
6.2.12 ไม่ควรแช่ hydrometer ไว้ในน้ าดินนานเกินไป เพราะกระเปาะ hydrometer จะเป็ น
อุปสรรคในการตกตะกอนของเม็ดดิน และมีเม็ดดินมาเกาะติดกับกระเปาะ hydrometer
ทาให้ hydrometer มีน้าหนักเพิม่ ขึน้ และจมลงไปในน้ าดินได้มากขึน้ ค่าทีอ่ ่านได้กจ็ ะผิด
ไปจากความเป็ นจริง ดังนัน้ หลังจากอ่านค่าทีเ่ วลา t = 4 นาทีแล้ว ให้ถอน hydrometer
ออกจากกระบอกน้ าดินหลังจากอ่านค่าแล้วทุกครัง้ นาไปแช่ไว้ใน control cylinder จนกว่า
พร้อมทีจ่ ะอ่านค่าครัง้ ต่อไป จึงนา hydrometer กลับไปแช่ลงในกระบอกน้าดินอีกครัง้
6.2.13 เมือ่ เสร็จสิน้ การทดสอบแล้ว เทน้ าดินจากกระบอกตวงใส่ถาดทีช่ งน ั ่ ้ าหนักและจดหมายเลข
ไว้แล้ว ใช้น้ากลันล้
่ างเม็ดดินจากกระบอกตวงลงไปในถาดให้หมด แล้วนาถาดน้ าดินไปเข้า
เตาอบจนแห้ง แล้วนาไปชังน ่ ้าหนักเพือ่ หาน้าหนักดินแห้งทีใ่ ช้ในการทดสอบครัง้ นี้ (WS)
6.2.14 บันทึกข้อมูลต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการทดลองนี้ลงใน data sheet ให้ครบถ้วน
CE 372 Lab. No.4 page 40

ตารางที่ 4.1 ค่า SPECIFIC GRAVITY และ ตารางที่ 4.2 ค่าปรับแก้ความคลาดเคลื่อน


VISCOSITY ของน้า เนื่ องจากอุณหภูมิ, CT
อุณหภูมิ Gw VISCOSITY ของน้า อุณหภูมิ CORRECTION
o o
C (POISES) C FACTOR, CT
4 1.00000 0.01567 15 - 1.10
16 0.99897 0.01111 16 - 0.90
17 0.99880 0.01083 17 - 0.70
18 0.99862 0.01056 18 - 0.50
19 0.99844 0.01030 19 - 0.30
20 0.99823 0.01005 20 0.00
21 0.99802 0.00981 21 + 0.20
22 0.99780 0.00985 22 + 0.40
23 0.99757 0.00936 23 + 0.70
24 0.99733 0.00914 24 + 1.00
25 0.99708 0.00894 25 + 1.30
26 0.99682 0.00874 26 + 1.65
27 0.99655 0.00855 27 + 2.00
28 0.99627 0.00836 28 + 2.50
29 0.99598 0.00818 29 + 3.05
30 0.99568 0.00801 30 + 3.80

ตารางที่ 4.3 ค่าสัมประสิ ทธิ์ K สาหรับใช้ในสมการที่ 4.5


อุณหภูมิ oC SPECIFIC GRAVITY ของเม็ดดิน
2.50 2.55 2.60 2.65 2.70 2.75 2.80 2.85
16 0.0151 0.0148 0.0146 0.0144 0.0141 0.0139 0.0137 0.0136
17 0.0149 0.0146 0.0144 0.0142 0.0140 0.0138 0.0136 0.0134
18 0.0148 0.0144 0.0142 0.0140 0.0138 0.0136 0.0134 0.0132
19 0.0145 0.0143 0.0140 0.0138 0.0136 0.0134 0.0132 0.0131
20 0.0143 0.0141 0.0139 0.0137 0.0134 0.0133 0.0131 0.0129
21 0.0141 0.0139 0.0137 0.0135 0.0133 0.0131 0.0129 0.0127
22 0.140 0.0137 0.0135 0.0133 0.0131 0.0129 0.0128 0.0126
23 0.0138 0.0136 0.0134 0.0132 0.0130 0.0128 0.0126 0.0124
24 0.0137 0.0134 0.0132 0.0130 0.0128 0.0126 0.0125 0.0123
25 0.0135 0.0133 0.0131 0.0129 0.0127 0.0125 0.0123 0.0122
26 0.0133 0.0131 0.0129 0.0127 0.0125 0.0124 0.0122 0.0120
27 0.0132 0.0130 0.0128 0.0126 0.0124 0.0122 0.0120 0.0119
28 0.0130 0.0126 0.0126 0.0124 0.0123 0.0121 0.0119 0.0117
29 0.0129 0.0127 0.0125 0.0123 0.0121 0.0120 0.0118 0.0116
30 0.0128 0.0126 0.0124 0.0122 0.0120 0.0118 0.0117 0.0115
CE 372 Lab. No.4 page 41

ตารางที่ 4.4 ค่า FACTOR a เมื่อเม็ดดิ นมีค่า SPECIFIC GRAVITY ต่างๆ


Gs 2.85 2.80 2.75 2.70 2.65 2.60 2.55 2.50
a 0.96 0.97 0.98 0.99 1.00 1.01 1.02 1.04

ตารางที่ 4.5 ค่า EFFECTIVE DEPTH, L สาหรับ HYDROMETER มาตรฐาน 152H และกระบอกตวง
มาตรฐานขนาด 1000 cc (จาก มาตรฐาน ASTM D 422)
Actual Effective Actual Effective Actual Effective Actual Effective
Reading Depth Reading Depth Reading Depth Reading Depth
R (g/l) L (cm) R (g/l) L (cm) R (g/l) L (cm) R (g/l) L (cm)
1 16.1 16 13.7 31 11.2 46 8.8
2 16.0 17 13.5 32 11.1 47 8.6
3 15.8 18 13.3 33 10.9 48 8.4
4 15.6 19 13.2 34 10.7 49 8.3
5 15.5 20 13.0 35 10.6 50 8.1
6 15.3 21 12.9 36 10.4 51 7.9
7 15.2 22 12.7 37 10.2 52 7.8
8 15.0 23 12.5 38 10.1 53 7.6
9 14.8 24 12.4 39 9.9 54 7.4
10 14.7 25 12.2 40 9.7 55 7.3
11 14.5 26 12.0 41 9.6 56 7.1
12 14.3 27 11.9 42 9.4 57 7.0
13 14.2 28 11.7 43 9.2 58 6.8
14 14.0 29 11.5 44 9.1 59 6.6
15 13.8 30 11.4 45 8.9 60 6.5
หมายเหตุ : L1 = 10.5 cm. เมื่อ R = 0 g/litre และ L1 = 2.3 cm. เมื่อ R = 50 g/litre

7. การคานวณผลการทดสอบ

7.1 นาข้อมูลจากการทดสอบ hydrometer calibration มาคานวณหาค่า L สาหรับ R แต่ละค่า โดยใช้


สมการที่ 4.6 แล้วนาผลทีไ่ ด้ไป plot กราฟความสัมพันธ์ ตามทีก่ าหนดไว้ใน data sheet
7.2 จากการทดสอบการตกตะกอนของเม็ดดิน ณ เวลาทีผ่ า่ นไป t นาทีใดๆ
7.2.1 นาค่า hydrometer reading, Ra แต่ละค่า ไปปรับแก้ meniscus error เป็ นค่า R แล้วอ่านค่า
L จาก calibration chart
7.2.2 อ่านค่า CT จากตารางที่ 4.2 เมือ่ ทราบอุณหภูม ิ (T OC) ขณะทีอ่ า่ นค่า Ra นัน้ ๆ
7.2.3 นาค่าอุณหภูม ิ (T OC) และ specific gravity ของเม็ดดิน ไปอ่านค่า K จากตารางที่ 4.3 แล้ว
คานวณค่า particle size (D) จากสมการที่ 4.5
CE 372 Lab. No.4 page 42

7.2.4 ใช้สมการที่ 4.9 ปรับแก้ค่า hydrometer reading, Ra ให้เป็ นค่า RC แล้วคานวณหาค่า


percentage finer (N) โดยใช้สมการที่ 4.7
7.2.5 หากตัวอย่างดินทีใ่ ช้ในการทดสอบนี้ เป็ นมวลคละส่วนทีร่ ่อนผ่านตะแกรง ASTM No. 200
ของตัว อย่างมวลคละที่ประกอบไปด้ว ยดินทัง้ เม็ดหยาบและเม็ดละเอียดให้คานวณหาค่า
percent finer than particle size, D เป็ นร้อยละโดยน้าหนักของมวลดินคละทัง้ ตัวอย่าง (N/)
โดยใช้สมการที่ 4.10 (ใช้คา่ N200 จากการทดสอบเรือ่ งที่ 3)
7.3 คานวณและ plot ตามขัน้ ตอนที่ 7.2 เมือ่ เวลาผ่านไปเป็ นค่า t ต่างๆ จนครบตามทีไ่ ด้บนั ทึกข้อมูลไว้
7.4 นาค่า particle size, D และ percent finer, N/ ทีค่ านวณได้ทงั ้ หมดไป plot ต่อเนื่องจาก particle
size distribution curve ที่ plot ไว้จากการร่อนส่วนทีเ่ ป็ นมวลหยาบของมวลคละเดียวกันนี้ผ่าน
ตะแกรง (จากการทดสอบเรือ่ งที่ 3)

8. บทวิ เคราะห์วิจารณ์

ให้เปรียบเทียบผลการทดสอบ hydrometer calibration กับตารางที่ 4.5 หลังจากนัน้ ให้


พิจารณาผลการทดสอบและผลการคานวณขนาดคละของเม็ดดิน แล้วสรุปลักษณะของมวลดินคละทีใ่ ช้ทาการ
ทดสอบ และทาการบ่งชีช้ นิดของมวลดินคละนี้ ในระบบต่างๆมาเท่าทีจ่ ะสามารถทาได้ พร้อมกับอธิบายให้เหตุผล
ประกอบการบ่งชีด้ งั กล่าว หลังจากนัน้ ให้พจิ ารณาวิธกี ารทดสอบว่า การทดสอบปฏิบตั ขิ นั ้ ตอนใดบ้างทีต่ อ้ งเอาใจ
ใส่ระมัดระวัง เพือ่ มิให้เกิดความผิดพลาดของข้อมูล

9. ข้อมูลเพิ่ มเติ มเกี่ยวกับการทดสอบนี้

9.1 สารเคมีทใ่ี ช้เป็ น dispersing agent มีอยูห่ ลายชนิดแต่ทน่ี ิยมใช้กนั มาก เป็ นสารเคมีทม่ี ชี ่อื ผลิตภัณฑ์
ว่า CALGON หรือ sodium hexametaphosphate (NaPO3) ความเข้มข้น 4% ซึง่ เตรียมขึน้ ตามที่
กล่าวไว้ในข้อ 6.2.1 สารเคมีอกี ชนิดหนึ่งทีน่ ิยมนามาใช้ คือ sodium silicate หรือเรียกทัวไปว่ ่ า
water glass (Na2SiO3) ซึง่ เตรียมขึน้ โดยใช้สารละลาย (Na2SiO3) เข้มข้น ประมาณ 0.5-1.0 ml
ละลายในน้ า 125 ml สาหรับใช้ทาการทดสอบดิน 1 ตัวอย่าง ปริมาณสาร dispersing agent ตามที่
ระบุไว้น้ี อาจเปลีย่ นแปลงได้ ขึน้ อยูก่ บั ชนิดของดินทีน่ ามาทดสอบ
9.2 การจุ่ม hydrometer ลงในน้าดิน ต้องทาอย่างระมัดระวัง โดยจับก้าน hydrometer ให้อยูใ่ น แนวดิ่ ง
หย่อนลงไปในน้ าดินเบาๆ การกระทบกระเทือนจะรบกวนการตกตะกอนของเม็ดดิน และในขณะ
ทดสอบต้องระวังมิให้กระบอกตวงใส่น้ าดินได้รบั ความกระทบกระเทือนใดๆ ซึง่ จะเป็ นผลกระทบต่อ
การเคลื่อนทีต่ กตะกอนของเม็ดดินในกระบอกตวงนัน้

@@@@@@@@@@@@@
CE 372 Lab. No.4 page 43

CE 372 ENGINEERING SOIL TESTS


EXPERIMENT No. 4.1
HYDROMETER CALIBRATION
ชื่อ-สกุล ………………………......................................…………….…… รหัส .................................. ตอนที่ .......... กลุ่มที่ ................ วันทดสอบ ........................................

Hydrometer ที่ ใช้ทดสอบ No.


กระบอกตวง 1000 cc ที่ใช้ทดสอบ No.
พื้นที่ หน้ าตัดภายในกระบอกตวง (Ac) (ตร.ซม.)
ปริ มาตร hydrometer bulb (Vb) (ลบ.ซม.)
ระยะจากขีด scale ตา่ สุดถึงปลาย hydrometer (L2) (ซม.)

Scale Reading
L1 L
TEST No. R
(กรัม/ลิ ตร) (ซม.) (ซม.)
1 0
2 10
3 20
4 30
5 40
6 50

HYDROMETER CALIBRATION CHART


40
ระยะจากผิวของเหลวถึงศูนย์ถ่วง HYDROMETER (L) (ซม.)

35

30

25

20

15

10

0
0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60
HYDROMETER SCALE READING (R) (กรัม/ลิ ตร)
CE 372 Lab. No.4 page 44

CE 372 ENGINEERING SOIL TESTS


EXPERIMENT No. 4.2
HYDROMETER ANALYSIS
ชื่อ-สกุล ………………………......................................…………….…… รหัส .................................. ตอนที่ .......... กลุ่มที่ ................ วันทดสอบ ........................................

กระบอกตวง No. ร้อยละผ่านตะแกรง No.200 (N200) (%)


Hydrometer No. ถ.พ.ตัวอย่างดิ น (Gs)
Dispersing agent ที่ ใช้ทดสอบ ค่า a จากตารางที่ 4.4
ปริ มาตรสารละลาย dispersing agent ที่ ใช้ (cc) zero correction (Cz) (กรัม/ลิ ตร)
น้าหนักดิ นแห้งที่ ใช้ทดสอบ (Ws) (กรัม) memiscus correction (กรัม/ลิ ตร)

วัน-เวลา อ่านค่า ค่า ค่าที่ ปรับแก้ effective ค่า Grain ปรับแก้ Percent Finer
วัน เวลา อุณหภูมิ ปรับแก้ อ่านได้ เป็ นค่า depth K Size Ra เป็ น ตัวอย่าง มวลรวม
เดือน เวลา ผ่านไป T CT Ra R L จากตาราง D Rc N N'
ปี (นาที) (องศา C) (กรัม/ลิ ตร) (กรัม/ลิ ตร) (ซม.) ที่ 4.3 (มม.) (กรัม/ลิ ตร) (%) (%)
0.00
0.25
0.50
0.75
1.00
1.50
2.00
3.00
4.00
6.00
8.00
10.00
15.00
20.00
30.00
45.00
60.00

 a  N %  
N /  
L
DK Rc  Ra  Cz  CT N  %   100 R c    N 200
t  Ws   100 
CE 372 ENGINEERING SOIL TESTS
การทดสอบเรือ่ งที่ 5
การทดสอบเพื่อประเมินค่าพิกดั สถานะความคงตัวของมวลดิน
(การประเมินค่าพิกดั อัตตาเบอร์ก)
TESTS FOR THE CONSISTENCY LIMITS OF SOILS
(ATTERBERG LIMITS DETERMINATION)

1. บทนา

ค่าพิกดั สถานะความคงตัว หรือ consistency limits ของมวลดิน เป็ นคุณสมบัตเิ ฉพาะของ


มวลดินเม็ดละเอียดประเภท cohesive soil หรือ มวลดินเม็ดละเอียดทีม่ ี clay particles เป็ นองค์ประกอบอยู่เป็ น
ปริมาณมาก มวลดิน cohesive soil นี้ สามารถคงตัวอยูใ่ นสถานะต่างๆตามธรรมชาติในลักษณะทีบ่ ่งบอกได้ดว้ ย
ความรูส้ กึ เมื่อจับต้อง ได้แก่ very soft (เหลวเละ), soft (อ่อน หรือ เหลว), firm (เหนียว หรือ หนืด), stiff
(ค่อนข้างแข็ง หรือ เหนียวแน่น), หรือ hard (เป็ นดินแห้งแข็ง) ทัง้ นี้ ขึน้ อยูก่ บั ปริมาณความชืน้ ของมวลดินนัน้ ๆ

สถานะความคงตัว หรือ consistency ของมวลดินเม็ดละเอียด สามารถเปลีย่ นแปลงไปได้


ขึน้ อยู่กบั ปริมาณความชืน้ ของมวลดิน อธิบายได้ดงั นี้คอื มวลดินทีม่ คี วามชืน้ สูงมากจนมีสภาพเป็ นโคลนเหลว
สามารถไหลไปมา หรือเปลีย่ นแปลงรูปร่างลักษณะได้ภายใต้น้าหนักของมวลดินนัน้ เอง จะมีสถานะความคงตัวจัด
อยู่ในประเภทของเหลวหนืด หรือ viscous liquid หากความชืน้ ของมวลดินดังกล่าวลดลง มวลดินจะมีความ
แข็งแรงมากขึน้ สามารถปั ้นก้อนดินให้เป็ นรูปร่างต่างๆได้โดยไม่แตกร้าวหรือสลายตัว มวลดินนัน้ จะมีสถานะ
ความคงตัวจัดอยูใ่ นประเภทของแข็งเหนียว หรือ plastic solid หากความชืน้ ของมวลดินนัน้ ลดลงต่อไป มวลดิน
จะมีความแข็งแรงเพิม่ ขึน้ จนมีสถานะความคงตัวเป็ นวัสดุประเภท กึง่ ของแข็ง หรือ semi-solid ซึง่ เมื่อนาไปคลึง
หรือปั น้ เป็ นรูปร่างต่างๆ จะเกิดรอยแยกหรือแตกร้าวบนก้อนมวลดินนัน้ และเมือ่ ความชืน้ ลดลงต่อไป มวลดินก็จะ
เปลีย่ นสถานะความคงตัวเป็ นก้อนดินแข็ง หรือ solid จนกระทังความชื ่ น้ หมดไปจากมวลดินนัน้ ค่าความชืน้ ของ
มวลดิน ณ จุดทีม่ วลดินนัน้ เกิดการเปลีย่ นสถานะความคงตัว จากสถานะหนึ่งไปสู่อกี สถานะหนึ่งเรียกว่า ค่าพิกดั
สถานะความคงตัว หรือ consistency limits ซึง่ ในทีน่ ้ีมจี ุดเปลีย่ นสถานะทีส่ าคัญอยู่ 3 จุด มีช่อื เรียกแตกต่างกัน
ตามการเปลีย่ นแปลงสถานะดังต่อไปนี้ คือ
ก. LIQUID LIMIT (LL) เป็ นค่าความชืน้ ของมวลดิน ณ จุดทีม่ วลดินนัน้ เปลีย่ นสถานะความคงตัว
ระหว่าง การเป็ นของเหลวหนืด หรือ viscous liquid กับการเป็ นของแข็งเหนียวปั น้ ได้ หรือ plastic solid
ข. PLASTIC LIMIT (PL) เป็ นค่าความชืน้ ของมวลดิน ณ จุดทีม่ วลดินนัน้ เปลีย่ นสถานะความคงตัว
ระหว่างการเป็ นของแข็งเหนียวปั น้ ได้ หรือ plastic solid กับการเป็ นมวลกึง่ ของแข็ง หรือ semi-solid
ค. SHRINKAGE LIMIT (SL) เป็ นค่าความชืน้ ของมวลดิน ณ จุดทีม่ วลดินนัน้ เปลีย่ นสถานะความคงตัว
ระหว่างการเป็ นมวลกึง่ ของแข็ง หรือ semi-solid กับการเป็ นมวลดินแข็ง หรือ solid
CE 372 Lab. No. 5 page 46

2. วัตถุประสงค์ของการทดสอบ

การทดสอบนี้ มีวตั ถุประสงค์ทจ่ี ะให้นักศึกษาได้เรียนรูถ้ งึ ทฤษฎีและหลักการ ทีเ่ กีย่ วข้องกับ


วิธกี ารทดสอบพร้อมทัง้ ฝึ กฝนการใช้อุปกรณ์ทดสอบ เพื่อประเมินค่า consistency limits หรือ Atterberg Limits
ของมวลดินเม็ดละเอียด ซึง่ ได้แก่ การทดสอบประเมินค่า Liquid Limit, Plastic Limit, และ Shrinkage Limit
และรวมไปถึงการทดสอบประเมินค่า Linear Shrinkage ของตัวอย่างดิน เพื่อให้ได้ผลการทดสอบไปใช้ประเมิน
คุณสมบัตทิ างกายภาพ และคุณสมบัตทิ างวิศวกรรมของมวลดินนัน้ ต่อไป

3. เอกสารอ้างอิ ง

3.1 มาตรฐาน ASTM D 4318


Standard Test Method for Liquid Limit, Plastic Limit, and Plasticity Index of Soils
3.2 มาตรฐาน ASTM D 427
Standard Test Method for Shrinkage Factors of Soils
3.3 มาตรฐาน AASHTO DESIGNATION T 89
Standard Method of Test for Determining the Liquid Limit of Soils
3.4 มาตรฐาน AASHTO DESIGNATION T 90
Standard Method for Determining the Plastic Limit and Plasticity Index of Soils
3.5 มาตรฐาน AASHTO DESIGNATION T 92
Standard Method for Determining the Shrinkage Factors of Soils
3.6 มาตรฐานอังกฤษ (BRITISH STANDARD) BS 1377 : 1975 TEST 2
Determination of the Liquid Limit
3.7 มาตรฐานอังกฤษ (BRITISH STANDARD) BS 1377 : 1975 TEST 3
Determination of the Plastic Limit
3.8 มาตรฐานอังกฤษ (BRITISH STANDARD) BS 1377 : 1975 TEST 4
Determination of the Plasticity Index
3.9 มาตรฐานอังกฤษ (BRITISH STANDARD) BS 1377 : 1975 TEST 5
Determination of the Linear Shrinkage
3.10 AUSTRALIAN STANDARD A 89-1966 TEST 5
Determination of the Linear Shrinkage of a Soil
3.11 BOWLES, J.E. (1992)
"Engineering Properties of Soils and their Measurement"
McGraw-Hill Book Co.; Fourth Edition 1992; Experiment No. 3 & 4
3.13 HEAD, K. H. (2006)
“Manual of Soil Laboratory Testing; Volume 1: Soil Classification and Compaction Tests”
Whittles Publishing, CRC Press; Third Edition 2006
.
CE 372 Lab. No. 5 page 47

4. ทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง

ATTERBERG นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดน ได้อธิบายสถานะความคงตัวของมวลดิน


cohesive soil ในรูปของความสัมพันธ์ระหว่าง การเปลีย่ นแปลงของความชืน้ กับการเปลีย่ นแปลงปริมาตรของ
มวลดิน เรียกในทีน่ ้ีว่า phase diagram ดังแสดงไว้ในรูปที่ 5.1 ซึง่ สามารถอธิบายได้ว่า การเปลีย่ นแปลงสถานะ
ความคงตัวของมวลดิน จากการเป็ นของเหลว (liquid) ไปเป็ นของแข็ง (solid) เป็ นผลเนื่องมาจากการทีป่ ริมาณน้ า
ในมวลดิน หรือความชืน้ ของมวลดินนัน้ ลดลง เมื่อ cohesive soil มีความชืน้ สูง มวลดินจะคงตัวอยู่ในสถานะ
viscous liquid มวลดินจะอยูใ่ นสภาพทีอ่ มิ่ ตัวด้วยน้า (saturated) มวลดินจะมีชอ่ งว่างระหว่างเม็ดดินมาก ทาให้ม ี
ค่า porosity สูง และมีความแข็งแรงต่า เมื่อความชืน้ หรือปริมาณน้ าในมวลดินลดลง เป็ นผลให้เม็ดดินจัดตัว
ใกล้ชดิ กันมากขึน้ ปริมาตรของช่องว่างระหว่างเม็ดดินจะลดลงเท่าๆกับปริมาตรน้ าทีร่ ะเหยหายไปจากมวลดิน ทา
ให้มวลดินมีปริมาตรลดลง โดยทีม่ วลดินนัน้ ยังคงสภาพ fully saturated ตลอดเวลา การทีเ่ ม็ดดินจัดตัวได้ใกล้ชดิ
กันมากขึน้ เป็ นผลให้ปริมาตรช่องว่างระหว่างเม็ดดิน (void) ลดลง และมวลดินมีความแข็งแรงสูงขึน้ ปริมาตรของ
มวลดินทีล่ ดลงในช่วงนี้ จะเป็ นสัดส่วนโดยตรงกับการลดลงของความชืน้ ของมวลดินนัน้ ทาให้เส้นความสัมพันธ์
NB ใน phase diagram ในรูปที่ 5.1 เป็ นเส้นตรงทีม่ คี วามชันเป็ นค่าคงที่ ค่าความชัน หรือ slope ของเส้นตรง NB
นี้ เรียกว่า ค่าอัตราการหดตัวของมวลดิน หรือ Shrinkage Ratio (SR) การลดลงของความชืน้ และปริมาตรของ
มวลดิน โดยทีม่ วลดินยังคงสภาพอิม่ ตัว (saturated) อยู่ตลอดเวลานัน้ เมื่อความชืน้ ในมวลดินลดลงต่ากว่าค่า
Liquid Limit มวลดินจะเปลีย่ นแปลงสถานะความคงตัวจากการเป็ นของเหลวหนืด (viscous liquid) ไปเป็ นของแข็ง
เหนียว (plastic solid) และเมือ่ ความชืน้ ในมวลดินลดลงต่ากว่าค่า Plastic Limit มวลดินจะเปลีย่ นสถานะความคง
ตัวจากการเป็ นของแข็งเหนียวไปเป็ นมวลกึง่ ของแข็ง (semi-solid) การลดลงของความชืน้ และปริมาตรของมวล
ดิน ในขณะทีม่ วลดินคงสภาพ saturated อยูต่ ลอดเวลา จะมีความสัมพันธ์เป็ นเส้นตรงต่อเนื่องไปจนความชืน้ ของ
มวลดินมีคา่ ลดลงเหลือเท่ากับค่า Shrinkage Limit ซึง่ เมื่อน้ าระเหยออกจากมวลดินจนมวลดินมีความชืน้ เท่ากับ
ค่า Shrinkage Limit ของมวลดินนัน้ แล้ว เม็ดดินในมวลดินนัน้ จะจัดตัวกันได้แน่ นทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะเป็ นไปได้เองตาม
ธรรมชาติ เม็ดดินจะไม่สามารถจัดตัวให้ใกล้ชดิ มากขึน้ ไปกว่านี้ได้อกี หากมีการสูญเสียน้าจากมวลดิน ดังนัน้ เมื่อ
ทาให้ความชืน้ ของมวลดินลดลงไปต่ากว่าค่า Shrinkage Limit ปริมาตรของมวลดินก็จะไม่เปลีย่ นแปลงลดลงอีก
ต่อไป ดังแสดงให้เห็นเป็ นเส้นความสัมพันธ์ AB ใน phase diagram มวลดินจะเปลีย่ นสถานะความคงตัวเป็ น
ของแข็ง (solid) การลดลงของความชืน้ หรือการระเหยของน้ าออกจากมวลดินในช่วง AB นี้จะทาให้มอี ากาศเข้า
มาแทนทีน่ ้ าในช่องว่างระหว่างเม็ดดิน ค่า degree of saturation ของมวลดินจะลดลงต่ากว่า 1.0 (หรือ < 100%)
โดยมีอากาศเข้าไปแทนทีน่ ้ าใน voids จนกระทังน ่ ้ าระเหยออกจากมวลดินจนหมด ความชืน้ และ degree of
saturation ของมวลดินมีค่าเป็ นศูนย์ มวลดินจะมีสถานะความคงตัวเป็ นของแข็งแห้ง เมื่อพิจารณาจาก phase
diagram ในรูปที่ 5.1 จะเห็นได้ว่า หากต่อเส้นความสัมพันธ์ NB ลงไปจนถึงแกนปริมาตรทีจ่ ุด M ด้วยความชัน
คงทีเ่ ท่าเดิม เส้นตรง BM จะเป็ นเส้นสมมุติ แสดงถึงการเปลีย่ นแปลงปริมาตรของมวลดินนัน้ เมื่อความชืน้ ลดลง
ต่ากว่าค่า Shrinkage Limit และสมมุติว่า ปริมาตรของช่องว่างระหว่างเม็ดดินในมวลดิน สามารถลดลงต่อไปได้
อย่างต่อเนื่อง ซึง่ ในทีส่ ดุ เมือ่ ไม่มนี ้าเหลืออยูใ่ นมวลดินนัน้ แล้ว จุด M ซึง่ อยู่บนแกนปริมาตรทีค่ วามชืน้ เป็ นศูนย์
จะหมายถึงมวลดินทีไ่ ม่มชี ่องว่างระหว่างเม็ดดินเหลืออยู่อกี หรือปริมาตรของช่องว่างระหว่างเม็ดดินในมวลดิน
(VV) มีคา่ เป็ นศูนย์ ค่าปริมาตรทีอ่ า่ นได้บนแกนปริมาตรมวลดินทีจ่ ุด M จะเป็ นค่าปริมาตรของเม็ดดิน (VS) ทีม่ อี ยู่
ในมวลดินนัน้ นอกจากนัน้ ATTERBERG ยังได้คดิ วิธกี ารทดสอบ เพื่อประเมินค่าพิกดั สถานะความคงตัว หรือ
consistency limits ซึง่ ได้แก่ค่า Liquid Limit, Plastic Limit, และ Shrinkage Limit ของมวลดิน fine-grained
cohesive soils ค่าพิกดั เหล่านี้จงึ เรียกกันโดยทัวไปว่ ่ า Atterberg Limits
CE 372 Lab. No. 5 page 48

รูปที่ 5.1 PHASE DIAGRAM แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ ยนแปลงความชื้นกับการ


เปลี่ยนแปลงปริ มาตรของมวลดิ นเม็ดละเอียด

วิธกี ารทดสอบของ ATTERBERG ได้ผ่านการปรับปรุงแก้ไขโดย CASAGRANDE เพื่อให้


การทดสอบเป็ นไปโดยวิธกี ารทีม่ มี าตรฐานแน่ นอน และเป็ นทีย่ อมรับได้โดยทัวไป ่ ใช้ทาการทดสอบกับมวลดิน
เม็ดละเอียดทีม่ ขี นาดเม็ดดินเล็กกว่า 0.42 มม. ซึง่ เป็ นเม็ดดินทีร่ ่อนผ่านช่องเปิ ดของตะแกรง B.S. No.36 หรือ
ตะแกรง ASTM No.40 ดังนัน้ ดินเม็ดละเอียดในทีน่ ้ี จึงครอบคลุมไปถึงมวลดินทีป่ ระกอบไปด้วย fine sand, silt,
และ clay แนวทางและหลักเกณฑ์การทดสอบเพื่อประเมินค่า Atterberg Limits โดยวิธกี ารที่ CASAGRANDE
ได้ปรับปรุงแก้ไขจากวิธขี อง ATTERBERG สามารถอธิบายโดยสรุปได้ดงั นี้

4.1 การทดสอบเพื่อประเมิ นค่า LIQUID LIMIT ของมวลดิ น (LL)


เป็ นการทดสอบเพือ่ ประเมินค่าความชืน้ ของมวลดิน ขณะทีม่ วลดินเปลีย่ นสถานะความคงตัว
ระหว่างการเป็ นของเหลวไหลได้ภายใต้น้ าหนักของมวลดินนัน้ เอง กับการเป็ นของแข็งอ่อนตัว เครื่องมือทีใ่ ช้ทา
การทดสอบ เรียกว่า Casagrande Liquid Limit Device มีลกั ษณะเป็ นถ้วยทองเหลือง สามารถกระดกขึน้ ลงได้
บนแผ่นยางแข็ง ดังแสดงไว้ในรูปที่ 5.2 ทาการทดสอบโดยนาดินเม็ดละเอียดทีเ่ ตรียมไว้ ผสมน้าให้ตวั อย่างดินมี
ความชืน้ สูง แล้วนาตัวอย่างดินใส่ลงในถ้วยทองเหลืองดังกล่าว แต่งผิวดินให้เรียบและอยู่ในแนวราบ แล้วใช้
grooving tool กรีดร่องผ่ากลางมวลดินเปี ยกในถ้วย ให้แยกจากกันเป็ นสองส่วน จนมองเห็นก้นถ้วยทองเหลือง
เป็ นแนวเส้นตรงกว้าง 2 มม. เคาะถ้วยทองเหลืองใส่ดนิ ให้ตกกระทบแผ่นยางแข็งทีร่ องรับ ซึง่ มีระยะตกกระทบ
อิสระ 1 ซม. ด้วยอัตราความเร็วในการเคาะคงที่ 120 ครัง้ ต่อนาที นับจานวนครัง้ การเคาะทีท่ าให้ม วลดินเปี ยกทัง้
2 ส่วนไหลเข้าหากัน ดังในรูปที่ 5.3 จนกระทังร่่ องทีก่ รีดไว้ปิดสนิทเป็ นทางยาวประมาณ 1/2 นิ้ว หรือ 12.7 มม.
ค่า Liquid Limit ของตัวอย่างดินทีใ่ ช้ทาการทดสอบจะเป็ นค่าความชืน้ ของมวลดิน ซึง่ เมื่อนามาทาการทดสอบแล้ว
จะไหลเข้าหากันปิ ดร่องทีก่ รีดไว้ได้ความยาวตามทีก่ าหนด เมือ่ ทาการเคาะ 25 ครัง้ ถ้าร่องทีก่ รีดไว้ปิดสนิทได้
CE 372 Lab. No. 5 page 49

ก. CASAGRANDE LIQUID LIMIT DEVICE

ข. GROOVING TOOLS (ที่ นิยมใช้ทวไปมี


ั่ 2 แบบ ตามในรูป)

รูปที่ 5.2 อุปกรณ์ ที่ใช้ในการทดสอบหาค่า LIQUID LIMIT ของตัวอย่างดิ น

ความยาวตามทีก่ าหนด เมื่อจานวนเคาะน้อยกว่า 25ครัง้ แสดงว่าความชืน้ ของตัวอย่างดินทีใ่ ช้ทาการทดสอบสูง


กว่าค่า Liquid Limit ของมวลดินนัน้ ตัวอย่างดินจึงไหลเข้ามาปิ ดร่องได้โดยง่าย หรือ ถ้าต้องทาการเคาะมากกว่า
25 ครัง้ แสดงว่าความชืน้ ของตัวอย่างดินต่ากว่าค่า Liquid Limit โดยทัวไปเป็ ่ นการยากทีจ่ ะผสมน้ าให้แก่
ตัวอย่างดินทีใ่ ช้ทาการทดสอบให้มคี วามชืน้ เท่ากับค่า Liquid Limit พอดี ดังนัน้ จึงทาการเคาะทดสอบกับ
ตัวอย่างดินทีค่ ่าความชืน้ ต่างๆทัง้ สูงและต่ากว่าค่า Liquid Limit ของตัวอย่างดินดังกล่าว แล้วบันทึกจานวนครัง้ ที่
ทาการเคาะตัวอย่างดินให้รอยกรีดปิ ดสนิทเป็ นความยาวตามทีก่ าหนดทีแ่ ต่ละความชืน้ นาข้อมูลมา plot กราฟ
CE 372 Lab. No. 5 page 50

ความสัมพันธ์ ระหว่างค่า water content (w) ของตัวอย่างดิน กับจานวนครัง้ ทีท่ าการเคาะ บนกระดาษกราฟ
semi-logarithmic โดยให้ค่า water content อยู่บน linear scale และจานวนครัง้ การเคาะอยู่บน logarithmic
scale ดังในรูปที่ 5.4 แล้วลากเส้นตรง (line of best fit) ในแนวของจุดต่างๆที่ plot ไว้ ค่า Liquid Limit ของ
ตัวอย่างดิน จะเป็ นค่าความชืน้ ณ จุดทีเ่ ส้นกราฟลากผ่านจานวนครัง้ การเคาะ 25 ครัง้ ดังในรูปที่ 5.4

รูปที่ 5.3 ลักษณะของตัวอย่างดิ นเมื่อเริ่ มต้ นและสิ้ นสุดการทดสอบเพื่อประเมิ นค่ า LIQUID


LIMIT และ PLASTIC LIMIT

รูปที่ 5.4 การ PLOT และประเมิ นค่า LIQUID LIMIT ของตัวอย่างดิ น จากผลการทดสอบ

นอกจากนี้ ยังสามารถทดสอบประเมินค่า Liquid Limit ของตัวอย่างดิน โดยทาการเคาะ


ตัวอย่างดินเปี ยกเพียงตัวอย่างเดียว แล้วนาข้อมูลมาทาการคานวณ เรียกว่าวิธี One-Point Liquid Limit ทาการ
ทดสอบโดยผสมน้ าให้ตวั อย่างดินมีความชืน้ เพียงพอทีจ่ ะทาการเคาะทดสอบระหว่าง 20-30 ครัง้ แล้วทาให้รอย
กรีดปิ ดสนิทเป็ นระยะความยาวตามทีก่ าหนด บันทึกจานวนครัง้ ทีท่ าการเคาะและค่าความชื้นของตัวอย่างดิน
นาไปคานวณหาค่า Liquid Limit ของตัวอย่างดิน จากสมการ
CE 372 Lab. No. 5 page 51

N tan 
LL = w N   ……………….. (5.1)
 25 

เมือ่ LL เป็ นค่า Liquid Limit ของตัวอย่างดิน


N เป็ นจานวนครัง้ ทีเ่ คาะจนรอยกรีดในตัวอย่างดินเปี ยกปิ ดสนิทเป็ นระยะความยาว 1/2 นิ้ว
ค่า N นี้จะต้องอยูร่ ะหว่าง 20 ถึง 30
wN เป็ นความชืน้ ของตัวอย่างดินทีใ่ ช้ทาการเคาะทดสอบในครัง้ นี้
tan  เป็ นค่าคงทีข่ น้ึ อยูก่ บั ชนิดของดินทีน่ ามาทดสอบ โดยทัวไปใช้
่ คา่ tan  = 0.121

วิธกี ารทดสอบประเมินค่า Liquid Limit โดยการเคาะตัวอย่างดินใน Casagrande Liquid


Limit Device ตามทีก่ ล่าวมาแล้วนี้ เปรียบเสมือนเป็ นการวัดค่า shear strength ของตัวอย่างดินทีค่ ่าความชืน้
ดังกล่าว โดย CASAGRANDE ได้พจิ ารณาแล้วพบว่า การเคาะ liquid limit device มาตรฐานแต่ละครัง้ เป็ นการ
ให้แรงเฉือนแก่ตวั อย่างดินมีค่า 1 g/cm2 ดังนัน้ จึงสรุปได้ว่า มวลดิน cohesive soil ทุกชนิด มีความสามารถ
ต้านทานแรงเฉือน หรือ shear strength ประมาณ 20-25 g/cm2 (ประมาณ 2.0 – 2.5 kPa) ณ จุดทีม่ วลดินนัน้
แปรสถานะจาก viscous liquid ไปเป็ น plastic solid หรือ ขณะทีม่ วลดินมีความชืน้ เท่ากับค่า Liquid Limit

4.2 การทดสอบเพื่อประเมิ นค่า PLASTIC LIMIT ของมวลดิ น (PL)

เป็ นการทดสอบเพือ่ ประเมินค่าความชืน้ ของมวลดิน ขณะทีม่ วลดินเปลีย่ นสถานะความคงตัว


ระหว่างการเป็ นของแข็งเหนียวปั ้นได้กบั การเป็ นมวลดินกึง่ ของแข็ง ทาการทดสอบโดยผสมน้ าให้ตวั อย่างดินมี
ความชืน้ พอสมควร แล้วปั น้ เป็ นก้อนกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. คลึงก้อนดินให้เป็ นเส้นยาวด้วย
นิ้วและอุง้ มือบนแผ่นกระจก เส้นดินทีอ่ ยู่ในสภาวะของแข็งปั ้นได้ (คือ มีความชืน้ สูงกว่า Plastic Limit) จะมีผวิ
เรียบเนียนเป็ นเนื้อเดียวกันตลอดเส้น คลึงเส้นดิน จนมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กลงเหลือประมาณ 3 มม.
การคลึงเส้นดินนี้ มีผลให้ความชืน้ ของเส้นดินลดลง เมื่อคลึงเส้นดินได้ขนาดดังกล่าวแล้ว เนื้อดินเริม่ มีรอยแยกตัว
(crumble) หรือมีรอยร้าวรอยแยกปรากฏขึน้ บนผิวของเส้นดิน ดังในรูปที่ 5.3 แสดงว่าเส้นดินนัน้ กาลังเปลี่ยน
สถานะจาก plastic ไปเป็ น semi-solid ความชืน้ ของตัวอย่างดินในขณะนัน้ จะเป็ นความชืน้ ทีค่ ่า Plastic Limit
การทดสอบตามหลักเกณฑ์ทร่ี ะบุไว้น้ีจะต้องใช้ความระมัดระวัง ความชานาญ และประสบการณ์ในการทดสอบ
พอสมควร ซึง่ อาจต้องทาการทดสอบซ้าหลายครัง้ แล้วนาผลการทดสอบทีม่ คี า่ ใกล้เคียงกัน มาคานวณหาค่าเฉลีย่
เป็ นค่า Plastic Limit ของตัวอย่างดินเพียงค่าเดียว

4.3 การทดสอบเพื่อประเมิ นค่า SHRINKAGE LIMIT ของมวลดิ น (SL)

เป็ นการทดสอบ เพื่อประเมินค่าความชืน้ ของมวลดิน ขณะทีม่ วลดินนัน้ เปลีย่ นสถานะความ


คงตัว ระหว่างการเป็ นมวลกึง่ ของแข็งกับการเป็ นมวลดินแข็ง ซึง่ ในกรณีทค่ี วามชืน้ ของมวลดินลดลงจะพบว่า เมื่อ
ความชืน้ ลดลงต่ากว่าค่า Shrinkage Limit ของมวลดิน ปริมาตรของมวลดินดังกล่าว จะไม่ลดลงอีกต่อไป ดังนัน้
ค่า Shrinkage Limit ของมวลดิน จึงกล่าวได้ว่าเป็ นค่าความชืน้ ทีน่ ้อยทีส่ ุดทีม่ วลดินยุตกิ ารหดตัวอันเนื่องมาจาก
การสูญเสียความชืน้ และปริมาตรของมวลดินทีม่ คี วามชืน้ เท่ากับค่า Shrinkage Limit จะเป็ นปริมาตรทีน่ ้อยทีส่ ุด
ทีม่ วลดินดังกล่าวจะคงตัวอยู่ได้ตามสภาพธรรมชาติ การทดสอบประเมินค่า Shrinkage Limit ของตัวอย่างดิน
CE 372 Lab. No. 5 page 52

ทาได้โดยนาดินเปี ยกความชื้น wi (เมื่อ wi > LL) ใส่ถว้ ยโลหะปริมาตรคงที่ (Vt) นาไปอบจนแห้ง ก้อนดินแห้ง
ในถ้วยโลหะจะมีขนาดเล็กลง นาก้อนดินแห้งไปหาปริมาตร (Vd) โดยการแทนทีป่ รอท ดังในรูปที่ 5.5 ค่าปริมาตร
Vd ดังกล่าว จะเท่ากับปริมาตรเมือ่ ก้อนดินนัน้ มีความชืน้ เท่ากับค่า Shrinkage Limit ซึง่ เป็ นขณะสุดท้ายทีก่ อ้ นดิน
นัน้ อยู่ในสภาพ saturated ในการทดสอบนี้ ดังนัน้ จึงกล่าวได้ว่า ขณะทีค่ วามชืน้ ของตัวอย่างดินลดลงจาก wi
จนตัวอย่างดินมีความชืน้ เท่ากับค่า Shrinkage Limit (SL) ปริมาตรของก้อนดินลดลงจาก Vt ลงมา เหลือเป็ น
ปริมาตร Vd ปริมาตรทีห่ ายไปในช่วงเวลาดังกล่าวคือ (Vt - Vd) จะเป็ นปริมาตรของน้ า (Vw) ทีห่ ายไปจาก
ตัวอย่างดิน ขณะทีค่ วามชืน้ ลดลงจาก wi ลงมาเป็ น wSL ดังนัน้ เมื่อค่า Shrinkage Limit ของมวลดิน เป็ นค่า
ความชืน้ เมือ่ มวลดินมีปริมาตร Vd และยังอยูใ่ นสภาพอิม่ ตัวด้วยน้า จึงเขียนเป็ นสมการได้คอื

รูปที่ 5.5 อุปกรณ์ ที่ใช้ทดสอบประเมิ นค่า SHRINKAGE LIMIT ของตัวอย่างดิ น

 Ww SL  
SL = 100   ……………….. (5.2)
 Ws 

เมือ่ SL เป็ นค่าความชืน้ ที่ Shrinkage Limit ของมวลดิน มีหน่วยเป็ น ร้อยละ


Ww SL เป็ นมวลของน้าในมวลดิน เมือ่ มวลดินนัน้ มีความชืน้ เท่ากับค่า Shrinkage Limit
WS เป็ นมวลหรือน้าหนักดินแห้งในก้อนตัวอย่างดินนัน้ และ

Ww SL = (Wwi - Ww) ……………….. (5.3)

เมือ่ Wwi เป็ นมวลของน้าในมวลดินเมือ่ มวลดินมีความชื้น wi ขณะเริม่ ทดสอบ


Ww เป็ นมวลของน้ าในมวลดินทีห่ ายไปเมื่อความชืน้ ของมวลดินลดลงจาก wi จนมวลดินมี
ความชืน้ เท่ากับ SL (Shrinkage Limit) และเมือ่
CE 372 Lab. No. 5 page 53

Vw = (Vt - Vd) ……………….. (5.4)

โดยที่ Vw เป็ นปริมาตรน้ าทีห่ ายไปจากมวลดิน เมื่อความชืน้ ของมวลดินลดลงจาก wi จนมวล


ดินมีความชืน้ เท่ากับ SL และ

Ww = Vw  w ดังนัน้

Ww = (Vt - Vd) W และสมการที่ 5.3 จะเขียนได้เป็ น

Ww SL = Wwi - (Vt - Vd) W ……………….. (5.5)

เมือ่ นาสมการที่ 5.5 ไปแทนค่าในสมการที่ 5.2 จะได้

 Wwi  Vt  Vd   w 
SL = 100  
 Ws 

  Wwi    Vt  Vd   w 
SL = 100    100  
  W 
s    Ws 

W 
และ เมือ่ wi = 100  wi  เป็ นความชืน้ ของตัวอย่างดินเปี ยกทีเ่ ตรียมขึน้ เพือ่ การทดสอบ
 Ws 

  Vt  Vd   w 
ดังนัน้ SL = w i  100   ……………….. (5.6)
  W s 

เมือ่ SL เป็ นค่า Shrinkage Limit ของตัวอย่างดินในหน่วยร้อยละ


Wwi เป็ นมวลของน้าในมวลดินเมือ่ มวลดินมีความชืน้ wi ขณะเริม่ ทดสอบ
WS เป็ นมวลหรือน้าหนักดินแห้งในก้อนตัวอย่างดินทีใ่ ช้ทาการทดสอบ
wi เป็ นความชืน้ ของตัวอย่างดินเปี ยกทีใ่ ช้ทดสอบ (มีหน่วยเป็ น ร้อยละ)
Vt เป็ นปริมาตรของตัวอย่างดินในถ้วยโลหะ ขณะทีม่ คี วามชืน้ wi
Vd เป็ นปริมาตรของก้อนตัวอย่างดินแห้ง ซึง่ เป็ นปริมาตรเดียวกันกับขณะทีต่ วั อย่างดินนัน้ มี
ความชืน้ เท่ากับค่า Shrinkage Limit
w เป็ นความหนาแน่ นของน้ า มีค่า = 1 g/cc ในระบบ เมตริก, 1000 kg/m3 ในระบบ SI,
และ 62.4 lb/ft3 ในระบบอังกฤษ
CE 372 Lab. No. 5 page 54

ผลจากการประเมินค่า Consistency Limits ของมวลดินเม็ดละเอียดตามทีก่ ล่าวมาแล้วนี้จะ


นาไปสูก่ ารคานวณหาปริมาณทีใ่ ช้บ่งบอกคุณสมบัตทิ างกายภาพพืน้ ฐานอืน่ ๆของมวลดินดังนี้ คือ

ก. PLASTICITY INDEX (PI) เป็ นช่วงค่าความชืน้ ทีม่ วลดินดังกล่าวคงตัวอยู่ในสถานะ plastic solid


ตามทีแ่ สดงไว้ในรูปที่ 5.1 ประเมินได้จากความสัมพันธ์

PI = LL - PL ……………….. (5.7)

เมือ่ PI, LL, และ PL เป็ นค่า Plasticity Index, Liquid Limit, และ Plastic Limit ของมวลดินตามลาดับ

ข. SHRINKAGE RATIO (SR) เป็ นค่าทีแ่ สดงให้เห็นถึงปริมาณการเปลีย่ นแปลงปริมาตรของมวลดิน


เมื่อมีการเปลีย่ นแปลงความชืน้ ของมวลดินนัน้ มีนิยามกาหนดไว้ว่า ค่า Shrinkage Ratio เป็ นค่า
อัตราส่วนระหว่างการเปลีย่ นแปลงของปริมาตรมวลดิน คิดเป็ นร้อยละของปริมาตรมวลดินนัน้ เมื่อแห้ง
กับการเปลีย่ นแปลงของความชืน้ ในมวลดิน เมื่อมวลดินมีความชืน้ สูงกว่าค่า Shrinkage Limit คิดเป็ น
ร้อยละของน้าหนักดินแห้งในมวลดินนัน้ ดังนัน้

 V 
100  
 Vd   V   Ws 
SR = =     ……………….. (5.8)
 W  V W
 d  w 
100  w 
 Ws 

เมือ่ ตัวอย่างดินมีความชืน้ สูงกว่า SL ปริมาตรของตัวอย่างดินทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป V) เท่ากับ ปริมาตร


น้าทีเ่ พิม่ ขึน้ หรือลดลงในตัวอย่างดินนัน้ VW) และเมือ่ Ww = Vw  w ทาให้

 V   Ws 
SR =   และ
 Vd   V  w 

Ws
SR = ……………….. (5.9)
Vd  w

SR เป็ นปริมาณทีไ่ ม่มหี น่ วย และ หากทราบค่า SR และ SL ของมวลดิน จะสามารถประเมินค่า


Specific Gravity (GS)ของตัวอย่างดินนัน้ ได้จากความสัมพันธ์

1
GS = เมือ่ SL มีหน่วยเป็ น ร้อยละ ……………… (5.10)
 1    SL 
 SR   100 
CE 372 Lab. No. 5 page 55

ค. LINEAR SHRINKAGE (LS) เป็ นปริมาณการหดตัวของมวลดินในทิศทางเดียว เมื่อความชืน้ ของ


มวลดินลดลงจากค่า wi ใดๆลงมา จนมวลดินมีความชืน้ เท่ากับค่า Shrinkage Limit ระบุเป็ นค่าขนาด
การหดตัวของมวลดิน คิดเป็ นร้อยละของขนาดของมวลดินในทิศทางเดียวกันนัน้ เมื่อมวลดินนัน้ มี
ความชืน้ wi หรือ

 L 
LS = 100   ……………… (5.11)
 Li 

โดยที่ L เป็ นความยาวของตัวอย่างดินทีล่ ดลง เมื่อความชืน้ ลดจาก wi ลงมาเป็ นความชืน้ ทีม่ คี ่า


เท่ากับ Shrinkage Limit ของมวลดินนัน้ และ Li เป็ นความยาวของตัวอย่างดินเมื่อตัวอย่างดินมี
ความชืน้ wi ค่า Linear Shrinkage ของตัวอย่างดิน สามารถทดสอบประเมินค่าได้ โดยใช้ตวั อย่างดินที่
มีความชืน้ สูงกว่าค่า Liquid Limit ใส่ลงในรางทองเหลืองรูปครึง่ ทรงกระบอกขนาดมาตรฐาน ดังในรูป
ที่ 5.6 แล้วนาไปอบจนแห้ง วัดความยาวของแท่งดินแห้งในราง จะสามารถคานวณค่า LS ได้จาก
สมการที่ 5.11 การทดสอบเพื่อประเมินค่า Linear Shrinkage วิธนี ้ี นิยมใช้กบั ตัวอย่างดินประเภท
non-plastic silt หรือมวลดินทีม่ ที รายละเอียดปนอยู่มาก ซึง่ ยากทีจ่ ะทดสอบประเมินค่า Plastic Limit
โดยวิธกี ารปกติ เพราะค่า Linear Shrinkage ของตัวอย่างดิน สามารถนาไปใช้ประมาณค่า Plasticity
Index ของตัวอย่างดินนัน้ ได้จากความสัมพันธ์แบบ empirical คือ

PI = 2.13 (LS) ……………… (5.12)

เมือ่ LS เป็ นค่า Linear Shrinkage ของมวลดิน มีหน่วยเป็ น ร้อยละ

รูปที่ 5.6 ลักษณะและขนาดของรางมาตรฐาน (SHRINKAGE TROUGH) ที่ ใช้ ทดสอบ


ประเมิ นค่า LINEAR SHRINKAGE ของตัวอย่างดิ น
CE 372 Lab. No. 5 page 56

5. วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ

การทดสอบในเรื่องนี้ เป็ นทาการทดสอบเพื่อประเมินค่า consistency limits ทัง้ 3 ค่า ของ


ตัวอย่างดิน คือ Liquid Limit, Plastic Limit, และ Shrinkage Limit และ รวมไปถึงการทดสอบเพื่อประเมินค่า
Linear Shrinkage ของตัวอย่างดินเดียวกันนี้ โดยวิธกี ารมาตรฐาน จึงต้องใช้อุปกรณ์การทดสอบแยกตาม
ประเภทการทดสอบดังต่อไปนี้

5.1 LIQUID LIMIT TEST


5.1.1 Liquid Limit Device 1 เครือ่ ง พร้อม grooving tool ขนาดมาตรฐาน 1 อัน
5.1.3 กระป๋ องหาความชืน้ ขนาดเล็ก 6 ใบ

5.2 PLASTIC LIMIT TEST


5.2.1 แผ่นกระจกเรียบสาหรับคลึงเส้นตัวอย่างดินชืน้ 1 แผ่น
5.2.2 กระป๋ องหาความชืน้ ขนาดเล็ก 3 ใบ

5.3 SHRINKAGE LIMIT TEST


5.3.1 ถ้วยโลหะกลมก้นเรียบ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.75 นิ้ว (44.4 มม) และลึก
ประมาณ 0.5 นิ้ว (12.7 มม) ใช้เป็ น shrinkage dish 1 ใบ
5.3.2 แผ่นแก้วติดปุ่มโลหะ 3 ปุ่ม ดังในรูปที่ 5.5 จานวน 1 แผ่น
5.3.3 จานแก้วหรือถ้วยกระเบือ้ งขอบต่า เพือ่ ใช้รองรับปรอททีล่ น้ จากการวัดปริมาตรก้อนดินแห้ง
จานวน 1 ใบ
5.3.4 ปรอท ปริมาณเพียงพอทีจ่ ะใช้ทาการทดสอบ
5.3.5 กระบอกตวงขนาดเล็กความจุ 25-50 ml มีขดี แบ่งปริมาตรข้างกระบอกตวงให้อ่านค่าได้
ละเอียดถึง 0.2 ml เพือ่ ใช้วดั ปริมาตรปรอท 1 กระบอก

5.4 LINEAR SHRINKAGE


5.4.1 รางทองเหลือง ขนาดมาตรฐาน รูปครึง่ ทรงกระบอก (shrinkage trough) ดังในรูปที่ 5.6
จานวน 2 ราง
5.4.2 กระป๋ องหาความชืน้ ขนาดกลาง 1 กระป๋ อง
5.4.3 เวอร์เนีย ขนาดวัดความยาวได้ไม่ต่ากว่า 150 มม. และอ่านค่าได้ละเอียดถึง 0.1 มม.

5.5 วัสดุอปุ กรณ์ ใช้ร่วมกันทัง้ 4 การทดสอบ


5.5.1 ตัวอย่างดินแห้ง เป็ นเม็ดละเอียด ร่อนผ่านตะแกรง ASTM No.40 มาแล้ว หนักประมาณ
500-600 กรัม
5.5.2 น้ากลัน่ ปริมาณเพียงพอทีจ่ ะใช้ผสมดินทาการทดสอบ
5.5.3 ถ้วยกระเบือ้ งผสมดิน พร้อมมีดปาด สาหรับคลุกผสม และตักดินเปี ยกบรรจุภาชนะต่างๆที่
ใช้ทาการทดสอบ จานวน 2 ชุด
5.5.4 กระบอกตวง ขนาดความจุ 100 cc หรือ ขวดฉีดน้า 1 ใบ
CE 372 Lab. No. 5 page 57

5.5.5 เครือ่ งชังไฟฟ้


่ า ชังได้
่ ละเอียดถึง 0.01 กรัม
5.5.6 เตาอบ ควบคุมอุณหภูมใิ ห้คงทีไ่ ด้
5.5.7 ถาดอลูมเิ นียมขนาดใหญ่ สาหรับใส่กระป๋ องหาความชืน้ ทัง้ หมดทีใ่ ช้ในการทดสอบ เพื่อ
นาเข้าเตาอบ จานวน 1 ใบ

6. วิ ธีการทดสอบ

6.1 การทดสอบเพื่อประเมิ นค่า LIQUID LIMIT ของตัวอย่างดิ น


6.1.1 นาตัวอย่างดินเม็ดละเอียดทีเ่ ตรียมไว้ หนักประมาณ 200 กรัม ใส่ลงในถ้วยกระเบื้องแล้ว
ผสมน้ าทีละน้อย ใช้มดี ปาดคลุกเคล้าให้น้ าและดินผสมกันโดยทัวถึ ่ งแล้วเพิม่ น้ า ทาการ
คลุกเคล้าต่อ ไปอีก จนมวลดินมีลกั ษณะเหนียวหนืด และอ่อนตัวพอสมควร ความชืน้ ของ
ตัวอย่างดินในขณะนี้จะยังต่ากว่าค่า Liquid Limit ของตัวอย่างดินนัน้ พอประมาณ
6.1.2 ใช้มดี ปาดดิน ตักดินเปี ยกจากถ้วยผสมดิน ใส่ลงในถ้วยทองเหลืองของ Liquid Limit
Device ใช้มดี ปาดอัดเนื้อดินลงในถ้วยทองเหลืองให้แน่ น จนไม่มฟี องหรือช่องว่างอากาศ
หลงเหลืออยูภ่ ายใน ตกแต่งผิวหน้าดินให้ราบเรียบ
6.1.3 ใช้ grooving tool กรีดร่องผ่ากลางตัวอย่างดินในถ้วยทองเหลือง ให้รอยร่องมีความลึก
จนถึงผิวทองเหลืองก้นถ้วย
6.1.4 หมุนมือหมุนกระดกถ้วยทองเหลืองขึน้ แล้วปล่อยให้ตกลงกระทบพืน้ ยางแข็ง ด้วยความเร็ว
ประมาณ 120 ครัง้ ต่อนาที สังเกตุดูการเคลื่อนทีข่ องมวลดินทีถ่ ูกแบ่งออกเป็ น 2 ส่วนใน
ถ้วยทองเหลือง เมื่อมวลดิน 2 ส่วนเคลื่อนตัวเข้าหากัน จนร่องทีก่ รีดผ่าไว้ปิดสนิทเป็ น
ระยะทางยาวประมาณ 1/2 นิ้ว ให้หยุดทาการเคาะ แล้วบันทึกจานวนครัง้ ทีท่ าการเคาะ
(no. of blows) ตัวอย่างดินนี้
6.1.5 ใช้มดี ปาดตักตัวอย่างดินเปี ยกจากถ้วยทองเหลืองบริเวณทีม่ วลดิน 2 ส่วนเคลื่อนเข้ามาชิด
ติดกัน ให้ได้น้าหนักประมาณ 20-30 กรัม ใส่กระป๋ องหาความชืน้ ทีจ่ ดหมายเลขและ บั น ทึ ก
น้าหนักไว้แล้วนาไปชังน ่ ้าหนัก แล้วนาไปเข้าเตาอบเพือ่ ประเมินค่าความชืน้ ของตัวอย่างดิน
6.1.6 ใช้มดี ปาด ตักดินทีเ่ หลืออยู่ในถ้วยทองเหลืองทัง้ หมดกลับคืนลงไปในถ้วยผสมดิน แล้วเติม
น้าให้ตวั อย่างดินมีความชืน้ สูงขึน้ อีกตามความเหมาะสม ใช้มดี ปาดคลุกผสมให้ทวถึ ั่ ง
6.1.7 ทาการทดสอบตามขัน้ ตอนที่ 6.1.2 ถึง ขัน้ ตอนที่ 6.1.6 อย่างน้อย 5 ครัง้ ให้ได้ขอ้ มูล
ความชืน้ ของตัวอย่างดิน และจานวนครัง้ ทีท่ าการเคาะ อย่างน้อย 5 ชุด จานวนครัง้ การ
เคาะ (no. of blows) ทีไ่ ด้จากการทดสอบ ควรจะมีค่าระหว่าง 45-10 ครัง้ และควรจะมี
ค่าจานวนครัง้ การเคาะทีส่ งู กว่า หรือ ต่ากว่า 25 ครัง้ อย่างน้อย อย่างละ 2 ค่า
6.1.8 ถ้าการเคาะทดสอบครัง้ แรกๆ ปรากฏว่าตัวอย่างดินแห้ง หรือเปี ยกแฉะเกินไป ให้เริม่ ทา
การทดสอบใหม่ โดยไม่ตอ้ งบันทึกผลการทดสอบทีใ่ ช้ไม่ได้นนั ้

6.2 การทดสอบเพื่อประเมิ นค่า PLASTIC LIMIT ของตัวอย่างดิ น


6.2.1 นาตัวอย่างดินเม็ดละเอียดทีเ่ ตรียมไว้ หนักประมาณ 50กรัม ใส่ลงในถ้วยกระเบือ้ งแล้วผสม
น้ าทีละน้อย ใช้มดี ปาดคลุกให้น้ าและดินผสมกันโดยทัวถึ
่ ง จนกระทังตั
่ วอย่างดินมีลกั ษณะ
เหนียวหนืด ความชืน้ ของตัวอย่างดินในขณะนี้ ควรจะสูงกว่าค่า Plastic Limit เล็กน้อย
CE 372 Lab. No. 5 page 58

6.2.2 ใช้มอื หยิบดินชืน้ จากถ้วยกระเบื้องมาปั ้นเป็ นก้อนกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 ซม.


จานวน 2-3 ก้อน วางก้อนดินลงบนแผ่นกระจก
6.2.3 ใช้องุ้ มือส่วนทีเ่ ป็ นนิ้วคลึงก้อนดิน ทีละก้อนด้วยน้ าหนักกดพอประมาณ ใช้ความเร็วในการ
คลึงประมาณ 80-90 ครัง้ ต่อนาทีจนก้อนดินยืดตัวออกเป็ นเส้น คลึงก้อนดินต่อไปจนเส้นดิน
มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3 มม.
6.2.4 ถ้าดินยังเกาะตัวเป็ นเส้นโดยไม่มรี อยแยกบนผิวเส้นดิน ให้ยุบรวมเส้นดินแล้วปั ้นเป็ นก้อน
กลม แล้วเริม่ ทาการคลึงตามทีก่ าหนดไว้ในขัน้ ตอน 6.2.3 ต่อไปอีก
6.2.5 คลึงก้อนดินจนเป็ นเส้นขนาดเส้นผ่าศูนย์ กลาง 3มม. แล้วกลับปั ้นก้อนซ้าไปมาระหว่า ง
ขัน้ ตอนทดสอบที่ 6.2.3 และ 6.2.4 จนกระทังเส้ ่ นดินเริม่ แยกแตกตัว หรือมีการลอกของ
ผิวดิน (crumble) ในขณะทีก่ าลังคลึง ดังในรูปที่ 5.3 ให้หยุดคลึงเส้นดิน นาเส้นดินที่
crumble แล้วนัน้ ใส่กระป๋ องหาความชืน้ ทีจ่ ดหมายเลขและบันทึกน้ าหนักแล้ว นาไป
ชังน่ ้าหนักและเข้าเตาอบ เพือ่ ประเมินค่าความชืน้ ของตัวอย่างเส้นดินนัน้
6.2.6 ทาการทดสอบ 2-3 ครัง้ ตามจานวนก้อนดินทีเ่ ตรียมไว้ในขัน้ ตอน 6.2.2 จะได้ขอ้ มูล เป็ น
ค่า ความชืน้ ของตัวอย่างดินที่ Plastic Limit จากการทดสอบ 2-3 ค่า

6.3 การทดสอบเพื่อประเมิ นค่า SHRINKAGE LIMIT ของตัวอย่างดิ น


6.3.1 ทดสอบหาปริมาตรของถ้วยโลหะ หรือ shrinkage dish ทีจ่ ะใช้ใส่ตวั อย่างดินเปี ยกในการ
ทดสอบนี้ โดยเทปรอทใส่ในถ้วยโลหะจนล้นเล็กน้อย ใช้แผ่นแก้วติดปุ่มด้านผิวเรียบ วางกด
ลงไปบนผิวปรอท เพือ่ ไล่ปรอทส่วนเกินออกจากถ้วยทดสอบ จนแผ่นแก้ววางอยูบ่ นข อ บ
ถ้วย แล้วยกแผ่นแก้วออกช้าๆ เทปรอทจากถ้วยทดสอบลงในกระบอกตวง ความจุ 25 ml
เพือ่ วัดปริมาตรของถ้วยโลหะ ซึง่ จะเป็ นปริมาตรของตัวอย่างดินเปี ยกทีใ่ ช้ ทดสอบ (Vt)
6.3.2 นาตัวอย่างดินเม็ดละเอียดทีเ่ ตรียมไว้ หนักประมาณ 50-100 กรัม ใส่ในถ้วยกระเบื้อง ผสม
น้าทีละน้อย ใช้มดี ปาดคลุกให้น้าและดินผสมกันโดยทัวถึ ่ ง แล้วเพิม่ น้ า ทาการคลุกดินเปี ยก
ต่อไปจนความชืน้ ของตัวอย่างดินสูงกว่าค่า Liquid Limit เล็กน้อย
6.3.3 นาถ้วยโลหะทีท่ ดสอบประเมินปริมาตรไว้แล้วมาทาวาสลินบางๆ เคลือบผิวโลหะภายใน
ถ้วย เพือ่ ไม่ให้เนื้อดินทีใ่ ช้ทาการทดสอบเกาะติดกับผิวโลหะ แล้วนาถ้วยไปชังน ่ ้าหนัก (W3)
6.3.4 ใช้มดี ปาด ตักตัวอย่างดินเปี ยกทีเ่ ตรียมไว้ใส่ลงไปในถ้วย โดยใส่ครัง้ แรกให้ได้ปริมาตร
ประมาณ1 ใน 3 ของถ้วย แล้วเคาะถ้วยลงบนพืน้ โต๊ะ เพื่อไล่ฟองอากาศออกจากตัวอย่าง
ดิน หลังจากนัน้ เติมดินเปี ยกลงไปอีกในปริมาณพอๆกัน เป็ นครัง้ ที่ 2 และครัง้ ที่ 3 จน
ตัวอย่างดินเต็มถ้วย หลังจากเติมดินแต่ละครัง้ ให้เคาะถ้วยไล่ฟองอากาศออกจากตัวอย่าง
ดินในถ้วยให้หมด เมื่อได้ตวั อย่างดินเปี ยกเต็มถ้วยแล้ว ใช้มดี ปาดแต่งผิวหน้าตัวอย่างดิน
ให้เรียบเสมอขอบถ้วยโลหะ แล้วนาถ้วยตัวอย่างดินนี้ไปชังน ่ ้าหนัก (W1)
6.3.5 เก็บถ้วยโลหะใส่ตวั อย่างดิน เปี ยกไว้ในห้องปฏิบตั ิการ เพื่อให้ตวั อย่างดินแห้งลงตาม
ธรรมชาติเป็ นเวลาประมาณ 24-48 ชัวโมง ่ แล้วจึงนาถ้วยตัวอย่างดินไปเข้าเตาอบ เพื่ออบ
ให้ดนิ แห้งสนิท
6.3.6 นาถ้วยโลหะพร้อมก้อนดินแห้งไปชังน ่ ้ าหนัก (W2) แล้วนาดินแห้งออกจากถ้วย ก้อนดิน
แห้งนี้ ควรจะคงสภาพเป็ นชิน้ เดียว หากก้อนแห้งแตกออกเป็ นชิน้ เล็กๆหลายชิน้ ให้ทาการ
ทดสอบใหม่
CE 372 Lab. No. 5 page 59

6.3.7 เทปรอทใส่ลงในถ้วยโลหะใบเดิมให้เต็ม โดยวิธกี ารตามขัน้ ตอนที่ 6.3.1 แล้วค่อยๆยกถ้วย


โลหะบรรจุปรอทเต็ม ไปวางลงในจานแก้วขอบต่า
6.3.8 นาก้อนดินแห้งใส่ลงไปในปรอทในถ้วยโลหะ แล้วใช้แผ่นแก้วติดปุ่มกดก้อนดินแห้งให้จมลง
ในปรอททัง้ ก้อน ปรอทจะล้นออกจากถ้วยโลหะไหลลงไปในจานแก้วทีร่ องรับ ดังในรูป
ที่ 5.5 ยกถ้วยโลหะออกจากจานแก้วแล้วเทปรอททีอ่ ยู่ในจานแก้วใส่กระบอกตวง เพื่อวัด
ปริมาตรปรอทส่วนทีล่ น้ จากถ้วยโลหะเป็ นปริมาตรของก้อนดินแห้ง (Vd)

6.4 การทดสอบเพื่อประเมิ นค่า LINEAR SHRINKAGE ของตัวอย่างดิ น


6.4.1 นารางโลหะ (shrinkage trough) ทัง้ 2 ราง ทีจ่ ะใช้ทาการทดสอบมาวัดความยาวภายใน
ตามแกนราบโดยใช้เวอร์เนีย ซึง่ ความยาวทีว่ ดั ได้น้ี จะเป็ นความยาวของตัวอย่างดินเปี ยก
ทีใ่ ช้ทดสอบ (L1 หรือ Li) แล้วใช้วาสลินทาเคลือบผิวโลหะภายในรางบางๆ เพื่อป้ องกันมิ
ให้ดนิ เกาะติดกับผิวโลหะ
6.4.2 นาตัวอย่างดินเม็ดละเอียดทีเ่ ตรียมไว้ หนักประมาณ 200 กรัม ใส่ลงในถ้วยกระเบื้องแล้ว
ผสมน้ าทีละน้อย ใช้มดี ปาดคลุกให้น้ าและดินผสมกันโดยทัวถึ ่ ง แล้วเพิม่ น้ า พร้อมทัง้
คลุกดินเปี ยกต่อไปจนความชืน้ ของตัวอย่างดินสูงกว่าค่า Liquid Limit เล็กน้อย
6.4.3 ใช้มดี ปาดตักตัวอย่างดินเปี ยกใส่ลงไปในรางทีละน้อย และอัดดินใส่รางให้แน่ น พร้อมกับ
เคาะรางใส่ดนิ ลงบนพืน้ เพือ่ ไล่ฟองอากาศ เมือ่ ได้ดนิ เปี ยกไร้ฟองหรือช่องว่างอากาศเต็มราง
แล้ว ใช้มดี ปาดแต่งผิวหน้าดินให้เรียบเสมอขอบราง
6.4.4 เก็บตัวอย่างดินเปี ยกทีเ่ หลือใส่กระป๋ องหาความชืน้ ชังน ่ ้ าหนัก แล้วนาไปอบให้แห้ง เพื่อ
ตรวจสอบว่า ตัวอย่างดินทีใ่ ช้ทาการทดสอบนี้ มีความชืน้ เท่าใด
6.4.5 เก็บ รางโลหะใส่ตวั อย่า งดิน เปี ยกไว้ใ นห้องปฏิบ ัติการ เพื่อให้ตัวอย่างดิน แห้งลงตาม
ธรรมชาติ เป็ นเวลาประมาณ 24-48 ชัวโมง ่ แล้วจึงนารางตัวอย่างดินไปเข้าเตาอบ เพื่ออบ
ให้ดนิ แห้งสนิท
6.4.6 เมื่อนารางตัวอย่างดินออกจากเตาอบแล้ว ก้อนตัวอย่างดินแห้งในรางจะต้องคงสภาพเป็ น
ชิน้ เดียว หากก้อนดินแห้งแตกออกเป็ นหลายชิน้ ให้ทาการทดสอบใหม่
6.4.7 ใช้เวอร์เนียวัดความยาวตามแนวนอนของก้อนดินแห้งในราง (L2)

7. การคานวณผลการทดสอบ

7.1 การคานวณใน DATA SHEET


7.1.1 จากผลการทดสอบ Liquid Limit ทาการคานวณค่าความชื้นของตัวอย่างดินแต่ละ
ตัวอย่างแล้วนาค่าความชืน้ พร้อมกับ จานวนครัง้ ทีท่ าการเคาะตัวอย่างดินนัน้ ไป plot
ลงในกระดาษกราฟ semi-logarithmic โดย plot ค่าความชืน้ บน linear scale และ plot ค่า
จานวนครัง้ การเคาะบน logarithmic scale ดังในรูปที่ 5.4 แล้วลากเส้นตรงในลักษณะ
line of best fit ผ่านจุดทัง้ หมดที่ plot ได้ อ่านค่าความชืน้ ณ จุดทีเ่ ส้นตรงนี้ลากผ่านค่า
จานวนครัง้ การเคาะ 25 ครัง้ จะได้เป็ นค่า Liquid Limit ของตัวอย่างดินทีใ่ ช้ทดสอบ
CE 372 Lab. No. 5 page 60

7.1.2 คานวณค่าความชื้นของตัวอย่างดินทีใ่ ช้ทาการทดสอบ Plastic Limit แล้วนาค่าความชื้น


ทีค่ านวณได้มาหาค่าเฉลีย่ เพียงค่าเดียว ค่าความชืน้ ดังกล่าว จะเป็ นค่าความชืน้ ที่ Plastic
Limit ของตัวอย่างดินทีใ่ ช้ทดสอบ
7.1.3 คานวณค่า Shrinkage Limit ของตัวอย่างดินจากข้อมูลทีท่ ดสอบได้โดยใช้สมการที่ 5.6
7.1.4 คานวณค่า Linear Shrinkage ของตัวอย่างดินทีใ่ ช้ทาการทดสอบ โดยใช้สมการที่ 5.11
พร้อมทัง้ คานวณหาความชืน้ ของตัวอย่างดินเปี ยก ทีใ่ ช้ทดสอบ เพื่อเปรียบเทียบกับค่า
Liquid Limit ของตัวอย่างดินเดียวกันนี้
7.1.5 คานวณหาค่า Plasticity Index ของตัวอย่างดินทีใ่ ช้ทดสอบ โดยใช้สมการที่ 5.7

7.2 การคานวณเพื่อเปรียบเที ยบผลการทดสอบ


7.2.1 นาค่าความชืน้ ของตัวอย่างดินจากผลการทดสอบ Liquid Limit เมื่อจานวนครัง้ ทีเ่ คาะ
ตัวอย่างดิน มีค่าระหว่าง 20-30 ครัง้ มาคานวณหาค่า Liquid Limit ของตัวอย่างดิน
ดังกล่าว ในลักษณะการทดสอบแบบ one-point method โดยใช้สมการที่ 5.1
7.2.2 คานวณค่า Plasticity Index ของตัวอย่างดินจากผลการทดสอบ Linear Shrinkage ที่
คานวณได้ในขัน้ ตอนที่ 7.1.4 โดยใช้สมการที่ 5.12
7.2.3 คานวณค่า Shrinkage Ratio (SR) ของตัวอย่างดิน จากผลการทดสอบ Shrinkage Limit
โดยใช้สมการที่ 5.9
7.2.4 ประเมินค่า Specific Gravity (Gs) ของตัวอย่างดิน จากผลการทดสอบ Shrinkage Limit
โดยใช้สมการที่ 5.10
7.2.5 หากทราบค่า specific gravity ของตัวอย่างดินอยู่ก่อนแล้ว ให้คานวณเพื่อประเมินค่า
Shrinkage Limit ของตัวอย่างดินนี้ โดยสมการที่ 5.10 และโดยการ plot phase diagram
ดังในรูปที่ 5.1

8. บทวิ เคราะห์วิจารณ์

8.1 ให้สรุปผลการทดสอบและผลการคานวณทัง้ หมด พร้อมทัง้ วิจารณ์ ผลการทดสอบ และวิเคราะห์


คุณสมบัตขิ องตัวอย่างดินทีใ่ ช้ในทดสอบครัง้ นี้
8.2 เปรียบเทียบค่า Liquid Limit ทีป่ ระเมินได้จากการคานวณในขัน้ ตอนที่ 7.1.1 กับค่าทีค่ านวณได้จาก
ขัน้ ตอนที่ 7.2.1 หากค่าทีไ่ ด้แตกต่างกัน จงอธิบายถึงสาเหตุทท่ี าให้เกิดความแตกต่างดังกล่าว
8.3 เปรียบเทียบค่า Plasticity Index ทีป่ ระเมินได้จากการคานวณ ในขัน้ ตอนที่ 7.1.5 กับค่าทีค่ านวณ
ได้จากขัน้ ตอนที่ 7.2.2 หากค่าทีไ่ ด้ต่างกัน จงอธิบายถึงสาเหตุทท่ี าให้เกิดความแตกต่างดังกล่าว
8.4 เปรียบเทียบค่า Shrinkage Limit ทีป่ ระเมินได้จากการคานวณ ในขัน้ ตอนที่ 7.1.3 กับค่าทีป่ ระเมิน
ได้จากขัน้ ตอนที่ 7.2.5 หากค่าทีไ่ ด้ต่างกัน จงอธิบายถึงสาเหตุทท่ี าให้เกิดความแตกต่างดังกล่าว
8.5 วิเคราะห์วจิ ารณ์แสดงความคิดเห็นอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับวิธกี ารทดลองในเรือ่ งนี้
CE 372 Lab. No. 5 page 61

9. ข้อมูลเพิ่ มเติ มเกี่ยวกับการทดลองนี้

9.1 การเตรียมตัวอย่างดินทีจ่ ะใช้ทาการทดสอบประเมินค่า consistency limits ให้ได้ผลการทดสอบที่


ถูกต้องเป็ นทีเ่ ชื่อถือได้ จะต้องทาการเตรียมตัวอย่างดินอย่างถูกต้องตามวิธกี ารทีก่ าหนด ซึง่ จะ
ศึกษารายละเอียดได้จาก มาตรฐาน ASTM D 4318 หรือ ทีแ่ นะนาโดย BOWLES (1992) วิธี
เตรียมตัวอย่างดินทีถ่ ูกต้องวิธหี นึ่งที่ BOWLES แนะนาคือ นามวลดินทีจ่ ะใช้ทดสอบมาทาให้แห้ง
โดยตากไว้ในอากาศ (air-dried) ให้น้าในมวลดินระเหยแห้งไปเองตามธรรมชาติ แล้วจึงใช้คอ้ นยาง
ทุบให้เม็ดดินแยกแตกตัวออกจากกัน ก่อนนาไปร่อนผ่านตะแกรง ASTM No.40 แล้วเก็บมวลดิน
เม็ดละเอียดส่วนทีร่ ่อนผ่านตะแกรงไว้ใช้ในการทดสอบ สาหรับการทดสอบเพื่อประเมินค่า Liquid
Limit และ Plastic Limit ให้นาตัวอย่างดินทีเ่ ตรียมไว้แล้วนี้ ไปผสมน้ าให้มคี วามชืน้ พอสมควร
คลุกให้เข้ากันโดยทัวถึ ่ ง จนตัวอย่างดินมีสภาพเหนียวหนืด (plastic) หมักตัวอย่างดินทิง้ ไว้ในสภาพ
ดังกล่าว (curing) ประมาณ 24-48 ชัวโมง ่ ก่อนนาไปทดสอบ ส่วนการทดสอบประเมินค่า
Shrinkage Limit และ Linear Shrinkage ไม่จาเป็ นต้องหมักตัวอย่างดินก่อนทดสอบ สามารถใช้
ดินแห้งทีเ่ ตรียมไว้ผสมน้ า แล้วทดสอบได้ทนั ที เหตุผลทีต่ อ้ งเตรียมตัวอย่างดินอย่างระมัดระวัง
เช่นนี้ เพราะการทาตัวอย่างดินให้แห้งโดยนาเข้าเตาอบทีอ่ ุณหภูม ิ 100-105 OC (oven-dried) ก่อน
ทาการทดสอบ จะมีผลกระทบต่อโครงสร้าง องค์ประกอบ และคุณสมบัตขิ องเม็ดดิน clay ซึง่ เป็ น
ส่วนสาคัญในการกาหนดคุณสมบัติ consistency และคุณสมบัติ plasticity ของมวลดินเม็ดละเอียด
ทาให้ค่า Consistency Limits ของตัวอย่างดินทีป่ ระเมินได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ค่า Liquid Limit ผิด
ไปจากความเป็ นจริง คือ ค่า Liquid Limit ทีป่ ระเมินได้จากตัวอย่างดินทีท่ าให้แห้งโดยเข้าเตาอบ
(oven-dried) จะน้อยกว่า ค่า Liquid Limit ทีป่ ระเมินได้จากตัวอย่างดินทีท่ าให้แห้งในสภาวะอากาศ
ตามธรรมชาติ (air-dried) อย่างไรก็ตาม การทดสอบประเมินค่า Liquid Limit และ Plastic Limit
โดยใช้ดนิ แห้งจากการตากไว้ในอากาศไปผสมน้าแล้วทาการทดสอบทันที ผลการทดสอบก็จะยังอาจ
เกิดความคลาดเคลื่อนได้บา้ งระหว่าง 2-6 เปอร์เซนต์ ดังนัน้ จึงต้องนาตัวอย่างดินแห้งทีจ่ ะใช้
ทดสอบไปผสมน้าแล้วหมักทิง้ ไว้ เพือ่ เปิ ดโอกาสให้เม็ดดิน clay ในตัวอย่างดิน ได้ทาปฏิกริ ยิ ากับน้า
ฟื้ นสภาพเม็ดดินจนมีคุณสมบัตใิ กล้เคียงสภาพธรรมชาติ ก่อนทีจ่ ะถูกทาให้แห้ง แล้วจึงนามาไป
ทดสอบ ผลกระทบจากวิธกี ารเตรียมตัวอย่างดิน ทีม่ ตี ่อผลของการทดสอบ ตามทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดนี้
จะเกิดขึน้ อย่างเห็นได้ชดั กับมวลดินทีม่ เี ม็ดดิน clay ปนอยู่เป็ นปริมาณมาก ดังนัน้ กรณีท่ี
พิจารณาแล้วเห็นว่า ตัวอย่างดินชืน้ ในสภาพธรรมชาติทจ่ี ะใช้ทดสอบ เป็ นดินเม็ดละเอียดล้วน ไม่ม ี
ดินเม็ดหยาบปน สามารถนาตัวอย่างดินดังกล่าวไปใช้ทดสอบได้ทนั ที โดยไม่ตอ้ งทาให้แห้งเสียก่อน
ซึง่ เป็ นวิธที ส่ี ะดวกทีส่ ดุ และจะไม่ทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลงคุณสมบัตขิ องเม็ดดิน clay ในตัวอย่าง
ดินอีกด้วย ส่วนมวลดินทีม่ เี ม็ดดิน clay ปนอยู่น้อย การเตรียมตัวอย่างดินเพื่อใช้ทาการทดสอบ
จะไม่มผี ลกระทบต่อผลของการทดสอบมากนัก อนึ่ง วิธกี ารทีก่ าหนดให้นักศึกษาปฏิบตั ใิ นการ
ทดสอบในทีน่ ้ี มีจุดประสงค์ทจ่ี ะฝึกฝนการใช้เครือ่ งมืออุปกรณ์การทดสอบเป็ นหลัก และให้สามารถ
ทาการทดสอบได้เสร็จสิน้ ภายในเวลาทีก่ าหนด จึงไม่สามารถฝึกการเตรียมตัวอย่างตามขบวนการที่
ถูกต้องตามทีก่ ล่าวไว้ในทีน่ ้ีทกุ ประการได้
9.2 การทาให้ ตัวอย่ างดินความชื้นสูงที่เตรียมขึ้นในภาชนะทดลอง แห้ งสนิท ในการทดสอบเพื่อประเมินค่า
Shrinkage Limit และค่า Linear Shrinkage ของตัวอย่างดิน จะนาภาชนะใส่ตัวอย่างดินเข้ าเตาอบ
ในทันทีมิได้ จะต้ องปล่อยตัวอย่างดินทิ้งไว้ ในบรรยากาศธรรมชาติ เพื่อให้ ความชื้นของตัวอย่างดินลดลง
CE 372 Lab. No. 5 page 62

อย่างช้ าๆจนเกือบแห้ ง แล้ วจึงนาเข้ าเตาอบจนแห้ งสนิท ทั้งนี้หากนาตัวอย่างดินที่มีความชื้นสูงเข้ าเตาอบ


นา้ จะระเหยออกจากตัวอย่ างดิน และตัวอย่ างดินเกิดการหดตัว อย่ างรวดเร็ว เป็ นผลให้ ก้อนดินแห้ งจะ
แตกแยกออกจากกันเป็ นชิ้นๆ ไม่สามารถนาก้ อนดินแห้ งเหล่านั้นไปทาการวัดขนาด หรือวัดปริมาตรต่อไปได้

@@@@@@@@@@@@@@@
CE 372 Lab. No.5 page 63

CE 372 ENGINEERING SOIL TESTS


EXPERIMENT No. 5
CONSISTENCY (ATTERBERG) LIMITS TEST
ชื่อ-สกุล ......................................................................................................... รหัส ................................................ ตอนที่ .............. กลุม่ ที่ ................. วันทดสอบ .................................................
LIQUID LIMIT (L.L.) TEST PLASTIC LIMIT (P.L.) TEST
การทดสอบครัง้ ที่ 1 2 3 4 5 6 1 2 3
หมายเลขกระป๋ องหาความชื้น
น้ าหนักดินเปี ยก + กระป๋ อง (กรัม)
น้ าหนักดินแห้ง + กระป๋ อง (กรัม)
น้ าหนักกระป๋ องหาความชื้น (กรัม)
น้ าหนักน้ าในตัวอย่างดิน (กรัม)
น้ าหนักดินแห้ง (กรัม)
ความชื้นตัวอย่างดิน (%)
จานวนครัง้ การเคาะ (ครัง้ ) ค่าเฉลี่ย P.L. (%)
SHRINKAGE LIMIT (S.L.) TEST LIQUID LIMIT PLOT
8
หมายเลขถ้วย SHRINKAGE
7
น้ าหนักดินเปี ยก + ถ้วย (W1) (กรัม)
6
น้ าหนักดินแห้ง + ถ้วย (W2) (กรัม)
น้ าหนักถ้วย SHRINKAGE (W3) (กรัม) 5
ความชื้น (%)

น้ าหนักน้ าในตัวอย่างดิน Ww = (W1 - W2) (กรัม) 4

น้ าหนักดินแห้ง Ws = (W2 - W3) (กรัม) 3

ความชื้นตัวอย่างดิน w = 100(Ww/Ws) (%) 2

ปริมาตรดินเปี ยกในถ้วย SHRINKAGE (Vi) (ลบ.ซม.) 1

ปริมาตรก้อนดินแห้ง (Vd) (ลบ.ซม.) 0


1 10 100
ค่า SHRINKAGE LIMIT (SL) (%)
ค่าเฉลี่ย SHRINKAGE LIMIT (%) จานวนครัง้ การเคาะ (Blows)
LINEAR SHRINKAGE (L.S.) TEST SUMMARY OF RESULTS

หมายเลขราง LINEAR SHRINKAGE LIQUID LIMIT (L.L.) (%)

ความยาวดินเปี ยกในราง (L1) (มม.) PLASTIC LIMIT (P.L.) (%)

ความยาวดินแห้งในราง (L2) (มม.) PLASTICITY INDEX (P.I. = L.L. - P.L.) (%)

ระยะการหดตัว L3 = (L1 - L2) (มม.) SHRINKAGE LIMIT (S.L.) (%)

ค่า LINEAR SHRINKAGE (L.S.) (%) LINEAR SHRINKAGE (L.S.) (%)

ค่าเฉลี่ย LINEAR SHRINKAGE (L.S.) (%) ESTIMATED P.I. (P.I. = 2.13 x L.S.) (%)
CE 372 ENGINEERING SOIL TESTS
การทดสอบเรือ่ งที่ 6
การทดสอบเพื่อประเมิน
ค่าสัมประสิทธ์ ิ การเคลื่อนที่ของน้าผ่านมวลดินในห้องปฏิบตั ิ การ
LABORATORY TESTS FOR
THE COEFFICIENT OF PERMEABILITY OF SOIL

1. บทนา

มวลดินประกอบไปด้วยเม็ดดิน (soil particles) และช่องว่างระหว่างเม็ดดิน (voids) มวลดิน


จึงจัด เป็ นวัสดุโปร่งพรุน หรือ porous material เมื่อมีน้ าอยู่ภายในมวลดิน น้ าจะถูกเก็บไว้ภายในช่องว่าง
ระหว่างเม็ดดิน และเมื่อมีการเคลื่อนทีข่ องน้ าภายในมวลดิน จากจุดทีม่ พี ลังงาน หรือ head สูงกว่าไปยังจุดทีม่ ี
พลังงานต่ากว่า น้าจะไหลไปในช่องว่างระหว่างเม็ดดินซึง่ ต่อเนื่องถึงกันโดยตลอดภายในมวลดินนัน้ โดยช่องว่าง
ระหว่างเม็ดดินทีต่ ่อเนื่องถึงกันนัน้ จะทาหน้าทีเ่ ป็ น flow channels น้ าจะไหลผ่าน flow channels ในมวลดินได้
สะดวกรวดเร็วเพียงใด สามารถบ่งชีไ้ ด้โดย ค่าสัมประสิทธิการเคลื่อนทีข่ องน้า หรือ Coefficient of Permeability
(k) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ค่า hydraulic conductivity ของมวลดิน ค่า k นี้มหี น่วยเป็ นหน่ วยของความเร็ว เช่น
mm/s, cm/s, หรือ m/s เป็ นต้น ถ้ามวลดินใดมีคา่ k สูง แสดงว่าน้าสามารถไหลผ่านมวลดินนัน้ ได้สะดวก มวลดิน
นัน้ จะเรียกได้ว่าเป็ น pervious soil หรือ permeable soil เช่น ดินทราย และ กรวด เป็ นต้น หากมวลดินมีคา่ k ต่า
มาก แสดงว่า น้ าไหลผ่านมวลดินดังกล่าวได้ยาก หรือเกือบไม่ได้เลย มวลดินนัน้ จะเรียกได้ว่าเป็ น impervious
soil หรือ impermeable soil เช่น ดินเหนียวอัดแน่ น เป็ นต้น การทีน่ ้ าสามารถไหลผ่านมวลดินได้ มีความสาคัญ
ต่องานวิศวกรรมโยธาทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น
- การไหลของน้าลอดใต้หรือผ่านตัวเขือ่ นดิน จะมีผลต่อเสถียรภาพของเขือ่ นดิน
- การไหลของน้าออกจากมวลดินอิม่ ตัวภายใต้แรงกระทา จะมีผลต่ออัตราการทรุดตัวของมวลดิน
- การไหลของน้ าผ่านมวลดินเข้าสู่พ้นื ทีก่ ารขุดเพื่อก่อสร้างฐานรากหรืออาคารใต้ดนิ จะมีผลต่อการ
กาหนดขัน้ ตอนและวิธกี ารก่อสร้าง และความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
- การป้ องกันและควบคุมการเคลื่อนที่ของของเหลวที่เป็ นมลพิษ และ/หรือ น้ าเสียจากบ่อทิ้งขยะ
(landfills) เพือ่ มิให้ปนเปื้ อนกับน้าใต้ดนิ หรือเป็ นปั ญหากับสิง่ แวดล้อม
- การออกแบบและคัดเลือกมวลดินคละสาหรับใช้เป็ นวัสดุระบายน้ า (drainage materials) เพื่อลดค่า
pore water pressure ในมวลดิน หรือ ลดการกัดเซาะภายในตัวเขือ่ นดิน เป็ นต้น

การทดสอบเพื่อประเมินค่า Coefficient of Permeability (k) ของมวลดิน ทาได้หลายวิธี


ขึน้ อยูก่ บั ชนิด และคุณสมบัตทิ างกายภาพมวลดินนัน้ ๆ ซึง่ มีทงั ้ การทดสอบในห้องปฏิบตั กิ าร และการทดสอบใน
สนาม การทดสอบในห้องปฏิบตั กิ าร ก็มที งั ้ วิธกี ารโดยตรง ใช้อุปกรณ์ทดสอบ เรียกว่า permeameter ได้แก่การ
ทดสอบโดยวิธี constant head และวิธี falling head (หรือ variable head) ซึง่ การทดสอบโดยวิธี constant head
CE 372 Lab. No.6 page 65

เหมาะสาหรับมวลดินทีน่ ้ าไหลผ่านได้สะดวก มีค่า k สูงถึงปานกลาง เช่น กรวด ทราย ส่วนการทดสอบโดยวิธี


falling head เหมาะสาหรับมวลดินทีม่ คี ่า k ปานกลาง ถึง ค่อนข้างต่า เช่น ทรายละเอียด หรือ ดินปนทราย เป็ น
ต้น และการทดสอบโดยอ้อม เป็ นการทดสอบตัวอย่างมวลดินใน oedometer คานวณหาค่า Coefficient of
Permeability ของตัวอย่างดินโดยอาศัยผลการทดสอบประเมินคุณสมบัติ consolidation ของมวลดิน วิธนี ้ีเหมาะ
สาหรับมวลดินทีน่ ้ าไหลหรือซึมผ่านได้ยาก มีค่า k ต่า ถึง ต่ามาก เช่น ดินเหนียว เป็ นต้น ในทีน่ ้ี จะกล่าวถึง
เฉพาะการทดสอบเพื่อประเมินค่า Coefficient of Permeability ของมวลดิน permeable soils ในห้องปฏิบตั กิ าร
โดยใช้ permeameter เท่านัน้

2. วัตถุประสงค์ของการทดสอบ

เพื่อให้นักศึกษาได้ศกึ ษาเรียนรูว้ ธิ กี ารทดสอบประเมินค่า Coefficient of Permeability ของ


มวลดินประเภท permeable soil ในห้องปฏิบตั กิ าร โดยวิธี constant head และวิธี falling head (หรือ variable
head) โดยใช้ permeameter

3. เอกสารอ้างอิ ง

3.1 มาตรฐาน ASTM D 2434


Standard Test Method for Permeability of Granular Soils (Constant Head)
3.2 มาตรฐาน AASHTO DESIGNATION T 215
Standard Method of Test for Permeability of Granular Soils (Constant Head)
3.3 BOWLES, J.E. (1992)
“Engineering Properties of Soils and Their Measurement”
McGraw-Hill Book Co.; Fourth Edition 1992; Experiment No.11 & 12
3.4 HEAD, K.H. and EPPS, R.J. (2011)
“Manual of Soil Laboratory Testing”
Volume 2 : Permeability, Shear Strength, and Compressibility Tests
Whittles Publishing, CRC Press, Taylor & Francis Group; Third Edition 2011
3.5 DAS, B.M. (2002)
“Soil Mechanics Laboratory Manual”
Oxford University Press; Sixth Edition 2002
3.6 BARDET, J. (1997)
“Experimental Soil Mechanics”
Prentice-Hall, 1997.
3.7 LIU, C. and EVETT, J.B. (1997)
“Soil Properties: Testing, Measurement, and Evaluation”
Prentice-Hall Inc.; Third Edition 1997.
CE 372 Lab. No.6 page 66

4. ทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้อง

การไหลของน้ าระหว่างจุด 2 จุดใดๆในมวลดิน มีสาเหตุจากความแตกต่างของพลังงานรวม


(total energy หรือ total head) ของน้า ระหว่าง 2 จุดดังกล่าวในมวลดินนัน้ โดยน้ าจะเคลื่อนทีจ่ ากจุดทีม่ พี ลังงาน
รวมสูงกว่า ไปยังจุดทีม่ พี ลังงานรวมต่ากว่า โดยใช้เส้นทางผ่าน flow channels ทีส่ นั ้ ทีส่ ุดระหว่างจุด 2 จุดนัน้
Darcy ได้ศกึ ษาทดลองการไหลของน้ าผ่าน saturated granular soils ในห้องปฏิบตั กิ าร พบว่า ปริมาตรน้ าทีไ่ หล
ผ่านมวลดินในหนึ่งหน่วยเวลา จะแปรผันโดยตรงกับพืน้ ทีห่ น้าตัดของมวลดินทีน่ ้าไหลผ่านและ ความแตกต่างของ
พลังงานรวม (total head difference) ระหว่างจุด 2 จุดในมวลดินภายใต้การพิจารณา และแปรผกผันกับระยะทาง
ระหว่างจุด 2 จุดนัน้ โดยมีค่าสัมประสิทธิ ์การเคลื่อนทีข่ องน้ า (Coefficient of Permeability หรือ hydraulic
conductivity, k) เป็ นค่าคงทีข่ องการแปรผัน สามารถเขียนเป็ นสมการความสัมพันธ์ได้ คือ

h
q = k   A ……………….. (6.1)
 L 

เมือ่ q เป็ นปริมาตรน้าทีไ่ หลผ่านมวลดินในหนึ่งหน่วยเวลา


A เป็ นพืน้ ทีห่ น้าตัดของมวลดินทีน่ ้าไหลผ่าน ในทิศทางตัง้ ฉากกับทิศทางการไหลของน้า
h เป็ นค่าความแตกต่างของพลังงานรวม (total head difference) ทีท่ าให้เกิดการไหลของน้ า
ระหว่างจุด 2 จุด ในมวลดิน หรือเรียกได้อกี อย่างหนึ่งว่า total head loss หมายถึง
พลังงานทีน่ ้าสูญเสียไปในการเคลื่อนทีผ่ า่ นมวลดินระหว่าง 2 จุด ดังกล่าว
L เป็ นระยะทางทีน่ ้ าไหลผ่านมวลดิน ภายใต้ total head difference h ดังกล่าว หรือ
ระยะทางระหว่างจุด 2 จุดในมวลดินทีท่ าการวัดค่า h
k เป็ นค่าสัมประสิทธิ ์การเคลื่อนทีข่ องน้ า (Coefficient of Permeability) ซึง่ เป็ นคุณสมบัตขิ อง
มวลดินนัน้

และเมือ่ กาหนดให้ i เป็ นค่า hydraulic gradient ของการไหลของน้าผ่านมวลดิน โดยที่

i =  h  ……………….. (6.2)
 
 L 

สมการที่ 6.1 จึงเขียนได้เป็ น

q = kiA ……………….. (6.3)

ดังนัน้ จึงสามารถกล่าวได้ว่า ค่า Coefficient of Permeability (k) ของมวลดินใดๆเป็ นปริมาณทีบ่ อกระยะทางที่


น้ าไหลผ่านหนึ่งหน่ วยพืน้ ทีข่ องมวลดินนัน้ ภายใต้ความดันหนึ่งหน่ วย hydraulic gradient ในหนึ่งหน่ วยเวลา
อนึ่ง ค่า Coefficient of Permeability ของมวลดินใดๆ มิใช่ค่าคงทีต่ ลอดเวลา องค์ประกอบทีม่ ผี ลกระทบต่อค่า
Coefficient of Permeability ของมวลดิน ได้แก่
CE 372 Lab. No.6 page 67

ก. รูปร่างและขนาดของเม็ดดิ น ทีป่ ระกอบกันขึน้ เป็ นมวลดิน โดยพิจารณาจากมวลดินทีม่ ี void ratio


หรือ porosity เท่ากัน มวลดินทีป่ ระกอบไปด้วยเม็ดดินทีม่ ลี กั ษณะเป็ นเหลีย่ มมุม (angular) และเป็ น
แผ่นแบน (platy) จะมีแนวโน้มต้านทานการเคลื่อนทีข่ องน้ าผ่านมวลดินมากกว่า เป็ นผลให้ k มีค่าต่า
กว่ามวลดินซึง่ ประกอบไปด้วยเม็ดดินทีม่ ลี กั ษณะกลมมน (round and spherical)
ข. คุณสมบัติกายภาพพื้นฐานของมวลดิ น ได้แก่ ค่า void ratio และค่า degree of saturation ซึง่ พบว่า
มวลดินชนิดเดียวกัน มวลรวมทีม่ คี ่า void ratio สูงกว่า จะมีค่า k ทีส่ งู กว่าตามไปด้วย และค่า k ของ
มวลดินจะเพิม่ ขึน้ เมื่อค่า degree of saturation ของมวลดินนัน้ เพิม่ ขึน้ ดังนัน้ มวลดินใดๆ จะมีค่า k
สูงสุด เมือ่ มวลดินนัน้ อยู่ ในสภาพ saturated คือ Sr = 1.0
ค. องค์ประกอบของเม็ดดิ นในมวลดิ น ในกรณีของมวลดินทีป่ ระกอบไปด้วย clay particles เป็ น ส่วน
ใหญ่ซ่งึ ความหนาของน้ าทีเ่ คลือบผิวเม็ดดินอยู่ในรูปของ diffuse double layer จะมีผลกระทบต่อ
ประสิทธิภาพในการเคลื่อนทีข่ องน้ าผ่านช่องว่างระหว่างเม็ดดินเหล่านัน้ จากการศึกษาพบว่า ค่า k
ของมวลดินจะลดลงถ้า diffuse double layer ของ clay particles มีความหนามากขึน้ ส่วน
องค์ประกอบของเม็ดดินประเภท granular soils ไม่มผี ลกระทบต่อค่า k ของมวลดินแต่อย่างใด
ง. โครงสร้างของมวลดิ น ในมวลดินประเภท cohesive fine grained soils ทีม่ กี ารจัดตัวในลักษณะ
flocculated structure จะมีค่า k สูงกว่ามวลดินชนิดเดียวกันในสภาพ remoulded หรือเมื่อการจัดตัว
ของเม็ดดินในมวลดินนัน้ อยูใ่ นลักษณะ dispersed structure
จ. คุณสมบัติของของเหลวที่ ไหลผ่านมวลดิ น ได้แก่ ความหนืด (viscosity) ความหนาแน่ น และความ
เข้มข้นของน้า ซึง่ คุณสมบัตเิ หล่านี้เปลีย่ นแปรไป ขึน้ อยูก่ บั อุณหภูม ิ และปริมาณอนุ ภาคทีเ่ จือปนอยู่ใน
รูปของสารละลายในน้ าทีไ่ หลผ่านมวลดิน ดังนัน้ ค่า Coefficient of Permeability ของมวลดินทีก่ ล่าวถึง
่ จะเป็ นค่า k ทีอ่ า้ งอิงกับคุณสมบัตขิ องน้ าทีอ่ ุณหภูม ิ 20OC หรือ k20 ซึง่ ใช้เป็ นอุณหภูม ิ
โดยทัวไป
มาตรฐานทางกลศาสตร์ดนิ ดังนัน้ หากต้องการทราบค่า k ของมวลดินที่ อุณหภูมใิ ดๆ ก็สามารถ
คานวณจากค่า k20 ของวลดินนัน้ ๆได้จากความสัมพันธ์

 
k 20 = k T  T  ……………….. (6.4)
  20 

เมือ่ k 20 เป็ นค่า Coefficient of Permeability ของมวลดินทีอ่ ณุ หภูม ิ 20OC


kT เป็ นค่า Coefficient of Permeability ของมวลดินทีอ่ ณ ุ หภูม ิ TOC
 20 เป็ นค่า Coefficient of Viscosity ของน้าทีไ่ หลผ่านมวลดิน ทีอ่ ณุ หภูม ิ 20OC
T ุ หภูม ิ TOC
เป็ นค่า Coefficient of Viscosity ของน้าทีไ่ หลผ่านมวลดิน ทีอ่ ณ

การทดสอบเพื่อประเมินค่า Coefficient of Permeability ของตัวอย่างดินในห้องปฏิบตั กิ าร


โดยตรง โดยใช้ permeameter มีวธิ กี ารทดสอบได้ 2 วิธี คือ

4.1 CONSTANT HEAD METHOD


เป็ นการทดสอบตามวิธกี ารทดลองของ Darcy ดังแสดงไว้ในรูปที่ 6.1 โดยปล่อยให้น้ าไหล
ผ่านมวลดินภายใต้คา่ total head difference คงทีค่ า่ หนึ่ง แล้ววัดปริมาตรน้าทีไ่ หลผ่านตัวอย่างดินในการทดสอบ
CE 372 Lab. No.6 page 68

รูปที่ 6.1 การติ ดตัง้ อุปกรณ์ การทดสอบแบบ CONSTANT HEAD ตามวิ ธีการทดลองของ
DARCY

รูปที่ 6.2 แสดงหลักการทดสอบ แบบ FALLING HEAD หรือ VARIABLE HEAD


CE 372 Lab. No.6 page 69

ในระยะเวลาทีก่ าหนด วิธนี ้ีเหมาะกับตัวอย่างดินทีม่ คี ่า k สูง ถึง ปานกลาง น้ าไหลผ่านตัวอย่างดินได้สะดวก


เช่น กรวด หรือ ทราย เป็ นต้น ซึง่ จะทาให้น้าสามารถไหลผ่านตัวอย่างดินในการทดสอบได้เป็ นปริมาณพอสมควร
โดยใช้ระยะเวลาในการทดสอบไม่นานนัก แล้วนาข้อมูลมาคานวณหาค่า k จากสมการของ Darcy คือ

Q  L 
k =   ……………….. (6.5)
A t  h 

เมือ่ A เป็ นพืน้ ทีห่ น้าตัดของมวลดินทีน่ ้าไหลผ่าน ในทิศทางตัง้ ฉากกับทิศทางการไหลของน้า


h เป็ น total head difference ทีท่ าให้น้าไหลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งในมวลดิน โดยทีจ่ ุดทัง้
สองนัน้ อยูห่ า่ งกันเป็ นระยะทาง L ซึง่ ค่า h นี้ จะเป็ นค่าคงทีต่ ลอดการทดลอง
Q เป็ นปริมาตรน้าทีไ่ หลผ่านตัวอย่างดินบนพืน้ ที่ A ระหว่างจุด 2 จุดดังกล่าว ในเวลา t

4.2 FALLING HEAD หรือ VARIABLE HEAD METHOD


ในกรณีทท่ี าการทดสอบกับตัวอย่างดินทีม่ คี า่ k ปานกลาง ถึง ค่อนข้างต่า เช่น ทรายละเอียด
มวลคละ granular soil ประเภท well graded ทีม่ คี วามหนาแน่นสูง เป็ นต้น น้าไหลเคลื่อนทีผ่ ่านตัวอย่างดินได้ชา้
การทดสอบโดยวิธี constant head ตามปกติ จะต้องใช้เวลานานเพื่อให้น้ าทีไ่ หลผ่านการทดลองออกมามีปริมาณ
พอสมควร หรือมิฉะนัน้ จะต้องทาการทดสอบภายใต้ total head difference คงทีท่ ม่ี คี า่ สูงมาก ดังนัน้ จึงเปลีย่ นมา
ทาการทดสอบโดยวิธี falling head หรือ variable head แทน หลักการและการติดตัง้ อุปกรณ์ทดสอบโดยวิธนี ้ี
แสดงไว้ใน รูปที่ 6.2 น้าทีจ่ ะไหลผ่านตัวอย่างดินบรรจุอยูใ่ น burette หรือ standpipe ทีม่ ี scale ระบุปริมาตร เพื่อ
สามารถคานวณหาพืน้ ทีห่ น้าตัดภายใน (a) ของ burette ได้ เมื่อเริม่ การทดลอง ระดับน้ าใน burette อยู่ทร่ี ะดับ
h1 ทาการทดลองโดยปล่อยน้าไหลผ่านตัวอย่างดิน แล้วจับเวลาทีร่ ะดับน้าใน burette ลดลงมาจนถึงระดับ h2 ซึง่
จะเห็นได้ว่า ในการทดสอบโดยวิธนี ้ี total head difference ทีท่ าให้น้ าไหลผ่านตัวอย่างดินจะเปลีย่ นแปลงไป
ตลอดเวลาทีท่ าการทดสอบ คือ ลดลงจาก h1 มาเป็ น h2 หลังจากนัน้ นาข้อมูลทีไ่ ด้ ไปคานวณหาค่า Coefficient
of Permeability, k ของตัวอย่างดินจากสมการ

aL h 
k = 2.3 log 1  ……………….. (6.6)
A t  h2 

เมือ่ a เป็ นพืน้ ทีห่ น้าตัดภายในของ burette หรือ standpipe


L เป็ นความยาวของตัวอย่างดิน หรือ ระยะทางทีน่ ้าไหลผ่านมวลดินภายใต้การทดลอง
A เป็ นพืน้ ทีห่ น้าตัดของตัวอย่างดิน ในทิศทางตัง้ ฉากกับทิศทางการไหลของน้า
t ระยะเวลาทีน่ ้ าไหลผ่านมวลดิน หรือ ระยะเวลาทีน่ ้ าใน standpipe ลดลงจากระดับ h1 ลง
มาถึงระดับ h2
h1 เป็ นค่า total head difference ทีท่ าให้น้าไหลผ่านตัวอย่างดินเมือ่ เริม่ จับเวลาการทดสอบ
h2 เป็ นค่า total head difference ทีท่ าให้น้าไหลผ่านตัวอย่างดินเมือ่ สิน้ สุดการทดสอบทีเ่ วลา t
CE 372 Lab. No.6 page 70

การทดสอบและประเมินค่า Coefficient of Permeability ของตัวอย่างดินทัง้ 2 วิธนี ้ี อาศัย


ทฤษฎีของ Darcy การไหลของน้าผ่านมวลดินจึงต้องเป็ นไปในลักษณะ laminar ซึง่ ขณะทีเ่ ก็บข้อมูลการไหลของ
น้ าผ่านมวลดิน ตัวอย่างดินต้องอยู่ในสภาพ fully saturated และ การไหลของน้ าผ่านตัวอย่างดินต้องเป็ นไปใน
ลักษณะ steady flow ดังนัน้ ควรจะปล่อยให้น้าไหลผ่านตัวอย่างดินอย่างสม่าเสมอเป็ นระยะเวลาหนึ่งก่อนเริม่ ทา
การทดสอบเก็บข้อมูล

5. วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดสอบ

5.1 CONSTANT HEAD TEST


5.1.1 ตัวอย่างทราย ขนาด 2.00 มม. ถึง 0.075 มม. (ร่อนผ่านตะแกรง ASTM No.10 ค้างบน
ตะแกรง ASTM No.200)
5.1.2 ชุดอุปกรณ์การทดสอบ constant head test set ประกอบด้วย permeameter, constant
head tank, และ manometer
5.1.3 กระบอกตวง ขนาด 500 ml, และ 1000 ml.

5.2 FALLING HEAD หรือ VARIABLE HEAD TEST


5.2.1 ตัวอย่างดินทีม่ ลี กั ษณะเป็ น well graded เช่น ทรายปน silt และ ดินเหนียว
5.2.2 ชุดอุปกรณ์ทดสอบ falling head test set ประกอบด้วย permeameter และ standpipe พร้อม
อุปกรณ์จบั ยึด

5.3 อุปกรณ์ ที่ใช้ร่วมกันทัง้ 2 การทดสอบ


5.3.1 กรวย สาหรับใช้ในการบรรจุตวั อย่างดินลงไปใน permeameter และอุปกรณ์ใช้บดอัดหรือ
ปรับความหนาแน่นของตัวอย่างดินใน permeameter
5.3.2 ทีต่ กั ดิน และ ถาดใส่ตวั อย่างดิน
5.3.3 นาฬิกาจับเวลา เทปวัดระยะ หรือ ไม้เมตร และ thermometer
5.3.4 เครือ่ งชังไฟฟ้
่ า ชังได้
่ ละเอียดถึง 0.1 กรัม

6. วิ ธีการทดสอบ

6.1 CONSTANT HEAD TEST


6.1.1 นา permeameter ไปชังน ่ ้าหนัก วัดความลึกภายใน permeameter แล้ววัดเส้นผ่าศูนย์กลาง
ภายใน คานวณหาพืน้ ทีห่ น้าตัดของตัวอย่างดิน (A)
6.1.2 บรรจุตวั อย่างดินลงใน permeameter ให้ได้ความหนาแน่ นตามทีต่ อ้ งการ วัดความสูงของ
ตัวอย่างดินใน permeameter แล้วนาไปชังน ่ ้าหนัก คานวณน้าหนักตัวอย่างดิน นาตัวอย่าง
ดินทีเ่ หลืออยูใ่ นถาดไปทดสอบหาความชืน้ (w)
6.1.3 ติดตัง้ permeameter เข้ากับชุดอุปกรณ์ทดสอบ constant head test ในลักษณะ ทีแ่ สดงไว้
ในรูปที่ 6.3 หรือ 6.4 (ในทีน่ ้ี จะทาการทดลองในลักษณะ upward flow ดังในรูปที่ 6.4)
6.1.4 วัดระยะระหว่าง manometer outlets จุด a และ c ดังในรูปที่ 6.4 เป็ นค่า L ใน data sheet
CE 372 Lab. No.6 page 71

รูปที่ 6.3 DIAGRAM แสดงการติ ดตัง้ อุปกรณ์ ทดสอบวิ ธี CONSTANT HEAD โดยให้น้าไหลผ่าน
ตัวอย่างดิ นแบบ DOWNWARD FLOW

รูปที่ 6.4 DIAGRAM แสดงการติ ดตัง้ อุปกรณ์ ทดสอบวิ ธี CONSTANT HEAD โดยให้ น้าไหล
ผ่านตัวอย่างดิ นแบบ UPWARD FLOW
CE 372 Lab. No.6 page 72

6.1.5 เปิ ดน้ าเข้า constant head tank ให้มปี ริมาณ overflow ทีเ่ หมาะสม แล้วเปิ ด valve ให้น้ า
จาก constant head tank ไหลผ่านตัวอย่างดินออกไปทาง outlet
6.1.6 ปล่อยให้น้ าไหลผ่านตัวอย่างดินใน permeameter เพื่อไล่อากาศออกจากช่องว่างระหว่าง
เม็ดดินจนตัวอย่างดินอยูใ่ นสภาวะ saturate ตรวจดูให้แน่ ใจว่าไม่มฟี องอากาศหลงเหลืออยู่
ในตัวอย่างดินและในส่วนต่างๆของระบบท่อและ manometer แล้วตรวจสอบระดับน้ าใน
constant head tank ให้คงที่
6.1.7 บันทึกค่า h1 และ h2 จาก manometer คานวณค่า total head difference ( h )
6.1.8 ใช้กระบอกตวง รองรับน้ าทีไ่ หลผ่านตัวอย่างดินออกมาทาง outlet ดังในรูป ในเวลา t ที่
กาหนดไว้ ในการทดสอบนี้ จะกาหนดเวลา t เป็ นเท่าใด ขึน้ อยู่กบั ค่า k ของตัวอย่างดิน
โดยเวลา t จะต้องไม่เร็ว หรือ นานเกินไป และปริมาตร Q ทีว่ ดั ได้ มีปริมาณทีเ่ หมาะสม
แล้ววัดอุณหภูมขิ องน้าทีไ่ หลผ่านการทดลองออกมาในกระบอกตวง
6.1.9 ทดสอบซ้าตามขัน้ ตอนที่ 6.1.8 อีก 2 ครัง้ โดยใช้ระยะเวลา t เท่าเดิม เพื่อตรวจสอบว่าการ
ไหลของน้ าผ่านตัวอย่างดินเป็ นไปในลักษณะ steady flow โดยปริมาตร Q ทีว่ ดั ได้ ทัง้ 3
ค่า ควรจะมีคา่ ใกล้เคียงกัน ถ้าครัง้ ใดได้คา่ ทีแ่ ตกต่างไปมาก ให้ทดสอบใหม่
6.1.10 ทดสอบซ้าตามขัน้ ตอนที่ 6.1.8 ถึง 6.1.9 อีก 1 รอบ โดยเปลีย่ นค่า t ไปตามความเหมาะสม
6.1.11 เปลีย่ นระดับ constant head tank เพือ่ เปลีย่ นแปลงค่า h แล้วเริม่ ทดสอบเก็บข้อมูลตาม
ขัน้ ตอนที่ 6.1.7 ถึง 6.1.10 อีก 1 ชุด

6.2 FALLING HEAD TEST


6.2.1 เตรียมตัวอย่างดินตามขัน้ ตอน 6.1.1 และ 6.1.2 โดยทาการบดอัดดินลงใน permeameter
ทีเ่ ป็ นแบบโลหะ ให้ได้ความหนาแน่นตามกาหนด
6.2.2 วัดระยะระหว่างขีด scale ปริมาตร 2 ค่าบน standpipe นาไปคานวณหาค่า พืน้ ทีห่ น้าตัด
ภายใน (a) ของ standpipe
6.2.3 ติดตัง้ permeameter เข้ากับชุดอุปกรณ์ทดสอบ falling head test ในลักษณะทีแ่ สดงไว้
เป็ นตัวอย่างดังในรูปที่ 6.5
6.2.4 เปิ ด valve ให้น้ าจาก standpipe ไหลผ่านตัวอย่างดินออกไปทาง outlet อย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้ตวั อย่างดินใน permeameter อยู่ในสภาวะ saturate (ซึง่ อาจต้องใช้เวลานาน ถ้า
ตัวอย่างดินมีคา่ k ต่า)
6.2.5 เมื่อเริม่ การทดสอบ เติมน้ าใน standpipe ให้เต็ม ทาเครื่องหมายจุดอ่านค่าการทดสอบ
บนหลอดแก้ว standpipe (จุด 1 และ จุด 2) ดังในรูปที่ 6.5 แล้ววัดระยะ h1 และ h2
6.2.6 เปิ ด valve ให้น้าไหลผ่านตัวอย่างดิน เมือ่ ระดับน้าในหลอดแก้ว standpipe ลดลงถึงจุด 1 ที่
กาหนดไว้ ให้เริม่ จับเวลา และเมื่อระดับน้ าใน standpipe ลดลงต่อมาถึงจุด 2 ทีก่ าหนดไว้
ให้หยุดจับเวลา บันทึกค่าเวลา t และวัดอุณหภูมขิ องน้าทีไ่ หลผ่านการทดลอง
6.2.7 ทดสอบซ้าตามขัน้ ตอนที่ 6.2.6 อีก 2 ครัง้ โดยใช้ค่า h1 และ h2 ค่าเดิม เพื่อตรวจสอบว่า
การไหลของน้าผ่านตัวอย่างดินเป็ นไปในลักษณะ steady flow โดยระยะเวลา t ควรจะมีค่า
ใกล้ เคียงกัน ถ้าครัง้ ใดได้คา่ ทีแ่ ตกต่างไปมาก ให้ทดสอบใหม่
6.2.8 ทดสอบตามขัน้ ตอนที่ 6.2.5 ถึง 6.2.7 อีก 1 รอบ โดยเปลีย่ นตาแหน่ ง จุด 1 และ จุด 2 บน
หลอดแก้ว standpipe (และค่า h1 และ h2) ไปตามความเหมาะสม
CE 372 Lab. No.6 page 73

รูปที่ 6.5 DIAGRAM แสดงการติ ดตัง้ อุปกรณ์ ทดสอบโดยวิ ธี FALLING HEAD

7. การคานวณผลการทดสอบ

7.1 ให้คานวณข้อมูลทางกายภาพของตัวอย่างดินใน data sheet ให้ครบถ้วน


7.2 คานวณค่า Coefficient of Permeability (k) ของตัวอย่างดิน โดยใช้สมการที่ 6.5 สาหรับ constant
head test และสมการที่ 6.6 สาหรับ falling head test แล้วหาค่า k โดยเฉลีย่ (kave) ในแต่ละกรณี
ตามทีร่ ะบุไว้ใน data sheet
7.3 คานวณหาค่า Coefficient of Permeability ที่ 20oC (k20) ในแต่ละกรณี โดยใช้สมการที่ 6.4 และ
ตารางที่ 6.2 แล้วคานวณ หาค่า k20(ave) ของตัวอย่างดินนี้

8. บทวิ เคราะห์วิจารณ์

8.1 ในกรณีของ constant head test ให้เปรียบเทียบผลการทดสอบจากค่า k20 ทีป่ ระเมินได้จากการ


ทดสอบภายใต้ condition ต่างๆ ว่าเปลีย่ นแปลงแตกต่างกันอย่างไร ให้หาเหตุผลอธิบายสาเหตุของ
ความแตกต่างทีเ่ กิดขึน้ นัน้
8.1.1 เมือ่ h มีคา่ คงที่ แต่ทดสอบโดยวัดปริมาตรน้าในช่วงเวลา t ต่างกัน
8.1.2 เมือ่ h มีคา่ แตกต่างกัน
8.2 ในกรณีของ falling head test ให้เปรียบเทียบผลการทดสอบ โดยพิจารณาจากค่า k20 ทีป่ ระเมินได้
เมือ่ ค่า h1 และ h2 เปลีย่ นแปลงไป ให้หาเหตุผลอธิบายสาเหตุของความแตกต่างทีเ่ กิดขึน้ นัน้
CE 372 Lab. No.6 page 74

9. ข้อมูลเพิ่ มเติ มเกี่ยวกับการทดสอบนี้

9.1 มาตรฐาน ASTM และ AASHTO กาหนดไว้ว่า การทดสอบโดยวิธี constant head กับตัวอย่างดิน
granular soils ให้ใช้ permeameter มาตรฐาน ดังแสดงไว้ในรูปที่ 6.6 โดยขนาดของ
permeameter ต้องสัมพันธ์กบั ขนาดของเม็ดดินทีใ่ หญ่ทส่ี ุดในมวลคละทีใ่ ช้ทดสอบ ดังแสดงไว้ใน
ตารางที่ 6.1 โดยทีม่ วลคละ granular soils ทีใ่ ช้ทดสอบ จะมีเม็ดดินขนาดเล็กกว่า 75 microns หรือ
0.075 มม. (ผ่านตะแกรง ASTM No.200) ได้ไม่เกิน 10% ของมวลคละนัน้ โดยน้าหนัก
9.2 การไหลของน้ าผ่านมวลดินในการทดสอบในทุกกรณี ต้องเป็ นไปในลักษณะ steady state, laminar
flow โดยมีขอ้ กาหนด คือ
- การไหลของน้ าผ่านตัวอย่างดินต้องเป็ นไปอย่างต่อเนื่อง โดยไม่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ปริมาตรของตัวอย่างดินนัน้
- ขณะทีน่ ้ าไหลผ่านตัวอย่างดิน ช่องว่างระหว่างเม็ดดินต้องเต็มไปด้วยน้ า โดยไม่มฟี องอากาศ
หลงเหลืออยู่ หรือ ตัวอย่างดินอยูใ่ นสภาวะ fully saturated
- ในการทดลองโดยวิธี constant head ต้องให้น้ าไหลผ่านตัวอย่างดินภายใต้ค่า hydraulic
gradient (i) คงที่
- อัตราส่วนระหว่าง ความเร็วของการไหลของน้ าผ่านตัวอย่างดิน กับค่า hydraulic gradient, i มี
ค่าต่ากว่าค่าทีท่ าให้การไหลของน้าเป็ นไปแบบ turbulent

รูปที่ 6.6 PERMEAMETER ตามมาตรฐาน ASTM


CE 372 Lab. No.6 page 75

ตารางที่ 6.1 ขนาดของ PERMEAMETER สัมพันธ์กบั ขนาดของเม็ดดิ นในตัวอย่างดิ นตาม


มาตรฐาน ASTM
เม็ดดินใหญ่ทส่ี ดุ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กทีส่ ดุ ของ Permeameter
มีขนาดระหว่าง (Minimum Cylinder Diameter)
(Maximum Particle Size น้อยกว่า 35% ค้างบนตะแกรงขนาด มากกว่า 35% ค้างบนตะแกรงขนาด
Lies between Sieve 2.00 มม. (No.10) 9.5 มม. (3/8 นิ้ว) 2.00 มม. (No.10) 9.5 มม. (3/8 นิ้ว)
Openings)
2.00 มม. (No.10) 76 มม. - 114 มม. -
และ 9.5 มม. (3/8 นิ้ว) (3 นิ้ว) (4.5 นิ้ว)
9.5 มม. (3/8 นิ้ว) - 152 มม. - 229 มม.
และ 19.0 มม. (3/4 นิ้ว) (6 นิ้ว) (9 นิ้ว)

9.3 เนื่องจากค่า Coefficient of Permeability ของ granular soils โดยทัวไป ่ แปรผันขึน้ อยู่กบั void
ratio ของมวลคละนัน้ ดังนัน้ ในการทดสอบประเมินค่า Coefficient of Permeability ของมวลคละ
granular soils เพื่อต้องการข้อมูลไปใช้งานทางวิศวกรรม จึงเตรียมตัวอย่างทดสอบให้มคี วาม
หนาแน่ น หรือ void ratio ต่างกัน 3-4 ตัวอย่าง เมื่อทดสอบประเมินค่า k20 แล้ว นาค่า k20 และ ค่า
void ratio (e) ของแต่ละตัวอย่างไป plot ลงในกราฟ semi-log ดังในรูปที่ 6.7 โดย plot ค่า void
ratio ลงบน linear scale และ plot ค่า k20 ลงบน log scale เส้นกราฟที่ plot ได้จะเป็ นเส้นตรง
โดยประมาณ กราฟความสัมพันธ์น้ี สามารถนาไปใช้ประเมินค่า k20 ของมวลคละดังกล่าวในสภาพที่
ใช้งานจริง เมือ่ มวลคละนัน้ ได้รบั การบดอัดให้มคี า่ void ratio เป็ นค่าใดๆได้

รูปที่ 6.7 กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง VOID RATIO กับ ค่า k20 ของมวลคละ GRANULAR SOIL
ตัวอย่างหนึ่ ง
CE 372 Lab. No.6 page 76

9.4 ในการเตรียมตัวอย่างมวลคละ granular soil เพื่อใช้ทาการทดสอบ ตัวอย่างมวลคละใน


permeameter ควรมีความหนาแน่ นสม่าเสมอโดยตลอด ดังนัน้ การบรรจุมวลคละแห้งลงใน
permeameter มาตรฐาน ASTM D 2434 จึงกาหนดให้ใช้กรวยและท่อยางดังแสดงไว้ในรูปที่ 6.8
ส่วนการเตรียมตัวอย่างทดสอบให้มคี วามหนาแน่ นตามทีต่ อ้ งการ สามารถใช้อุปกรณ์บดอัดตัวอย่าง
ตามทีแ่ นะนาไว้ในมาตรฐาน ASTM D 2434 เช่น vibrating tamper, sliding tamper, หรือ rod with
sliding weight ทีป่ รับระดับการตกกระทบได้ หรือ จะใช้ vibrating table ก็ได้ ขึน้ อยู่กบั ขนาดของ
เม็ดดินในมวลคละและความหนาแน่นของตัวอย่างทีต่ อ้ งการในการทดสอบนัน้ ๆ
9.5 การไล่อากาศออกจาก void ในมวลคละใน permeameter เพื่อให้ตวั อย่างอยู่ในสภาพ fully
saturated โดยการปล่อยน้าไหลผ่านตัวอย่างมวลคละใน permeameter นัน้ อาจไม่ได้ผลดีในกรณีท่ี
ตัวอย่างเป็ นมวลคละเม็ดละเอียดและมีความหนาแน่ นสูง มาตรฐาน ASTM D 2434 แนะนาให้ใช้
vacuum pump ช่วยในการ saturate ตัวอย่างมวลคละใน permeameter ก่อนการทดสอบ ดังแสดง
ไว้ในรูปที่ 6.9

รูปที่ 6.8 การบรรจุตวั อย่างทรายแห้งลงใน PERMEAMETER โดยใช้กรวยและท่อยาง

รูปที่ 6.9 การ SATURATE ตัวอย่างมวลคละใน PERMEAMETER โดยใช้ VACUUM PUMP


CE 372 Lab. No.6 page 77

 T 
ตารางที่ 6.2 ค่า VISCOSITY RATIO   ที่ ใช้ปรับแก้ค่า kT ให้เป็ นค่า k20 ตามสมการที่ 6.4

 20 
T oC 0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9
16 1.1056 1.1028 1.0999 1.0971 1.0943 1.0915 1.0887 1.0859 1.0803 1.0802
17 1.0774 1.0747 1.0720 1.0693 1.0667 1.0640 1.0613 1.0586 1.0560 1.0533
18 1.0507 1.0480 1.0454 1.0429 1.0403 1.0377 10.351 1.0325 1.0300 1.0274
19 1.0248 1.0223 1.0198 1.0174 1.0149 1.0124 1.0099 1.0074 1.0050 1.0025
20 1.0000 0.9976 0.9952 0.9928 0.9904 0.9881 0.9857 0.9833 0.9809 0.9785
21 0.9761 0.9738 0.9715 0.9692 0.9669 0.9646 0.9623 0.9600 0.9577 0.9554
22 0.9531 0.9509 0.9487 0.9465 0.9443 0.9421 0.9399 0.9377 0.9355 0.9333
23 0.9311 0.9290 0.9268 0.9247 0.9225 0.9204 0.9183 0.9161 0.9140 0.9118
24 0.9097 0.9077 0.9056 0.9036 0.9015 0.8995 0.8975 0.8954 0.8934 0.8913
25 0.8893 0.8873 0.8853 0.8833 0.8813 0.8794 0.8774 0.8754 0.8734 0.8714
26 0.8694 0.8675 0.8656 0.8636 0.8617 0.8598 0.8579 0.8560 0.8540 0.8521
27 0.8502 0.8484 0.8465 0.8447 0.8428 0.8410 0.8392 0.8373 0.8355 0.8336
28 0.8318 0.8300 0.8282 0.8264 0.8246 0.8229 0.8211 0.8193 0.8175 0.8157
29 0.8139 0.8122 0.8105 0.8087 0.8070 0.8053 0.8036 0.8019 0.8001 0.7984
30 0.7967 0.7950 0.7934 0.7917 0.7901 0.7884 0.7867 0.7851 0.7834 0.7818
31 0.7801 0.7785 0.7769 0.7753 0.7737 0.7721 0.7705 0.7689 0.7673 0.7657
32 0.7641 0.7626 0.7610 0.7595 0.7579 0.7564 0.7548 0.7533 0.7517 0.7502
33 0.7486 0.7471 0.7456 0.7440 0.7425 0.7410 0.7395 0.7380 0.7364 0.7349
34 0.7334 0.7320 0.7305 0.7291 0.7276 0.7262 0.7247 0.7233 0.7218 0.7204
35 0.7189 0.7175 0.7161 0.7147 0.7133 0.7120 0.7106 0.7092 0.7078 0.7064

@@@@@@@@@@@
CE 372 Lab. No.6 page 78

CE 372 ENGINEERING SOIL TEST


EXPERIMENT No. 6.1
SOIL PERMEABILITY TEST
CONSTANT HEAD METHOD
ชื่อ-สกุล …………………..………..............…………………..................…….….. รหัส ........................................ ตอนที่ ............... กลุ่มที่ ................... วันทดสอบ ..................................................
ข้อมูล PERMEAMETER และอุปกรณ์ ทดสอบ ข้อมูลตัวอย่างดิ น
เส้นผ่าศูนย์กลางภายใน permeameter (d) (cm.) น้ าหนัก permeameter + ตัวอย่างดิน (g)
พื้นที่หน้าตัดภายใน permeameter (A) (sq.cm.) น้ าหนัก permeameter (g)
ความสูงตัวอย่างดินภายใน permeameter (H) (cm.) น้ าหนักตัวอย่างดิน (g)
ระยะระหว่าง manometer outlets (บน-ล่าง) (L) (cm.) ปริมาตรตัวอย่างดิน (Vt) (cc)
การหาความชื้นตัวอย่างดิ นที ใ่ ช้ทดสอบ ความหนาแน่ นรวม (rt) (kg/cu.m.)
หมายเลยกระป๋ องความชื้น ความชื้นตัวอย่างดิน (w) (%)
น้ าหนักกระป๋ อง + ดินชื้น (g) ความหนาแน่ นแห้ง (rd) (kg/cu.m.)
น้ าหนักกระป๋ อง + ดินแห้ง (g) Specific Gravity (Gs)
น้ าหนักกระป๋ องเปล่า (g) ปริมาตร soil solid ในตัวอย่างดิน (Vs) (cc)
น้ าหนักน้ าในตัวอย่างดิน (g) ปริมาตร voids ในตัวอย่างดิน (Vv) (cc)
น้ าหนักดินแห้งในกระป๋ อง (g) ค่า void ratio ตัวอย่างดิ น (e)
ความชื้นตัวอย่างดิ นที่ ใช้ทดสอบ (w) (%) ค่า porosity ในตัวอย่างดิ น (n)
ข้อมูลการทดสอบ
การทดสอบชุดที ่ 1 การทดสอบชุดที ่ 2
h1 cm. h1 cm.
Manometer Readings Manometer Readings
h2 cm. h2 cm.
Total Head Difference dh cm. Total Head Difference dh cm.

ระยะ ปริมาตร อุณหภูมิ ระยะ ปริมาตร อุณหภูมิ


kT k20 k20 kT k20 k20
Viscosity Ratio

Viscosity Ratio

การทดสอบ
เวลา น้ า น้ า เวลา น้ า น้ า
รอบ ครัง้ t Q T เฉลี่ย t Q T เฉลี่ย
ที่ ที่ (s) (cc) (deg. C) (cm/s) (cm/s) (cm/s) (s) (cc) (deg. C) (cm/s) (cm/s) (cm/s)
1 1
2
3
2 1
2
3
สรุปผลการทดสอบ คุณสมบัติตวั อย่างดิ น DRY DENSITY kg/cu.m.
VOID RATIO
k20 cm./s
CE 372 Lab. No.6 page 79

CE 372 ENGINEERING SOIL TEST


EXPERIMENT No. 6.2
SOIL PERMEABILITY TEST
FALLING HEAD METHOD

ชื่อ-สกุล …………………..………..............…………………..................…..….….. รหัส .......................................... ตอนที่ ............... กลุ่มที่ ................... วันทดสอบ ..................................................
ข้อมูล PERMEAMETER และอุปกรณ์ ทดสอบ ข้อมูลตัวอย่างดิน
เส้นผ่าศูนย์กลางภายใน permeameter (d) (cm.) น้ าหนัก permeameter + ตัวอย่างดิน (g)
พื้นที่หน้าตัดภายใน permeameter (A) (sq.cm.) น้ าหนัก permeameter (g)
ความสูงตัวอย่างดินภายใน permeameter (H) (cm.) น้ าหนักตัวอย่างดิน (g)
พื้นที่หน้าตัดภายในหลอดแก้ว standpipe (a) (sq.cm.) ปริมาตรตัวอย่างดิน (Vt) (cc)
การหาความชื้นตัวอย่างดิ นทีใ่ ช้ทดสอบ ความหนาแน่ นรวม (rt) (kg/cu.m.)
หมายเลยกระป๋ องความชื้น ความชื้นตัวอย่างดิน (w) (%)
น้ าหนักกระป๋ อง + ดินชื้น (g) ความหนาแน่ นแห้ง (rd) (kg/cu.m.)
น้ าหนักกระป๋ อง + ดินแห้ง (g) Specific Gravity (Gs)
น้ าหนักกระป๋ องเปล่า (g) ปริมาตร soil solid ในตัวอย่างดิน (Vs) (cc)
น้ าหนักน้ าในตัวอย่างดิน (g) ปริมาตร voids ในตัวอย่างดิน (Vv) (cc)
น้ าหนักดินแห้งในกระป๋ อง (g) ค่า void ratio ตัวอย่างดิ น (e)
ความชื้นตัวอย่างดิ นที่ ใช้ทดสอบ (w) (%) ค่า porosity ในตัวอย่างดิ น (n)
ข้อมูลการทดสอบ
Standpipe ระยะเวลา อุณหภูมิ ปริมาตรน้ า
Viscosity Ratio

การทดสอบ
Readings ที่ระดับน้ าลดลง น้ า ที่ไหลผ่าน kT k20 k20
รอบ ครัง้ h1 h2 ใน standpipe, t T การทดลอง เฉลี่ย
ที่ ที่ (cm.) (cm.) นาที วินาที (degree C) (cc) (cm./s) (cm./s) (cm./s)
1 1
2
3
2 1
2
3

สรุปผลการทดสอบ คุณสมบัติตวั อย่างดิ น DRY DENSITY kg/cu.m.


VOID RATIO
k20 cm./s

You might also like