You are on page 1of 16

บทที่ 3

วิธีการดำเนินโครงงาน

ในบทนีก
้ ล่าวถึงขัน
้ ตอนในการดำเนินโครงงานการศึกษาถึง
ความแก่-อ่อน ของลำต้นผักตบชวาที่ส่งผลต่อคุณภาพของอิฐบล็อก
ประสานที่ได้จากดินตะกอนที่เหลือจากการผลิตน้ำประปาที่สง่ ผล
ต่อคุณสมบัติทางกลและทางกายภาพของอิฐบล็อกประสานซึ่งมีวิธี
การดำเนินโครงงาน ดังแสดงในภาพที่ 3.1

เริ่ มต้ น

ศึกษาทฤษฎีที่

จัดเตรียมวัสดุ

การผสม การอัดขึน
้ รูป

ทดสอบ

การบันทึกผล วิเคราะห์ผล และ


2

สิ ้นสุด

ภาพที่ 3.1 ขัน


้ ตอนการดำเนินโครงงาน

3.1 การศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

ในการศึกษาแนวทางถึงความแก่-อ่อน ของลำต้นผักตบชวาที่
ส่งผลต่อคุณภาพของอิฐบล็อกประสานที่ได้จากดินตะกอนที่เหลือ
จากการผลิตน้ำประปาที่ส่งผลต่อคุณสมบัติทางกลและทางกายภาพ
ของอิฐบล็อกประสาน ได้มีการศึกษาและค้นคว้าจากเอกสารตำรา
ต่างๆ เกี่ยวกับทฤษฎีการศึกษา และหลักการที่เกี่ยวข้องโดยแบ่ง
เป็ นหัวข้อ ดังต่อไปนี ้

3.1.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับผักตบชวา

3.1.2 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับดินตะกอน

3.1.3 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอิฐบล็อกประสาน
3

3.3.4 วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ในการขึน


้ รูปอิฐบล็อก
ประสาน

3.3.5 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัสดุที่ใช้ในการทำแม่พิมพ์

3.3.6 การขึน
้ รูปอิฐบล็อกประสาน

3.3.7 สถิติที่เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงงาน

3.3.8 การทดสอบคุณสมบัติทางกล

3.3.9 การทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพ

3.3.10 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

3.2 จัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ในการทดลอง
3.2.1 การจัดเตรียมวัสดุในการทดลอง
1. ผักตบชวา เป็ นวัสดุธรรมชาติที่เป็ นส่วนผสมหนึ่ง
ในการขึน
้ รูปชิน
้ งานทดสอบ ซึ่งผักตบชวาที่นำมาเป็ นตัวอย่างใน
การศึกษา คือส่วนของลำต้นผักตบชวาซึ่งแบ่งออกเป็ น ลำต้นอ่อน
ปานกลาง และลำต้นแก่
2. ดินตะกอนที่เหลือทิง้ จากการผลิตน้ำประปา ดิน
ตะกอนนีไ้ ด้มาจากการถูกระบายทิง้ จากกระบวนการผลิตน้ำประปา
ของการประปาส่วนภูมิภาค สาขาตาก
3. ปูนซีเมนต์ปอร์แลนด์ประเภท 1 คือวัสดุที่เป็ นส่วน
ผสมหนึง่ ในการขึน
้ รูปชิน
้ งานทดสอบ
4. ทราย เป็ นวัสดุทสำ
ี่ คัญชนิดหนึ่งซึ่งเป็ นส่วนผสมของ
คอนกรีต ทรายเป็ นหินแข็งที่แตกแยกซึง่ ทรายที่ในการก่อสร้าง จะ
มีขนาดของทราย แบ่งออกเป็ น 3 ชนิด ได้แก่ ทรายหยาบ ทราย
4

ขนาดกลาง และทรายละเอียด แต่การทำอิฐบล็อกประสาน ควรใช้


ทรายขนาดกลาง
3.2.2 อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
1. เครื่องตีย่อย ใช้ตีย่อยลำต้นผักตบชวาและดิน
ตะกอนที่เหลือทิง้ จากการผลิตน้ำประปา สำหรับเตรียมวัตถุดิบใน
การขึน
้ รูปชิน
้ งานทดสอบ
2. เครื่องมอร์ต้า ใช้สำหรับผสมอัตราส่วนระหว่าง
ลำต้นผักตบชวา ดินตะกอนประปา ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์
ประเภท 1 และทรายให้เข้ากันก่อนนำไปขึน
้ รูป
3. ตะแกรงร่อนทราย (มาตรฐาน ASTM C 136, C
33) ที่ใช้ในการทดลองมีขนาดเบอร์ 4
4. แม่พิมพ์ที่ใช้ในการขึน
้ รูปอิฐบล็อกประสาน มี
ขนาด 12.5×25×10cm เพื่อที่จะได้นำตัวชิน
้ งานไปทำการทดสอบ
คุณสมบัติทางกล ด้านความเค้นแรงกดอัด และการทดสอบ
คุณสมบัติทางกายภาพ ด้านการดูดซึมน้ำและด้านปริมาณความชื้น
5. เครื่องชั่งดิจิทัล ทศนิยม 3 ตำแหน่ง ใช้สำหรับการ
ชั่งวัตถุดิบในการทดสอบที่อัตราส่วนผสมของผักตบชวา ดินตะกอน
ประปา ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท 1 และทราย
6. เครื่องทดสอบคุณสมบัติทางกล ของวัสดุแบบ
อเนกประสงค์ เป็ นเครื่องในการทดสอบแรงกดของชิน
้ งานทดสอบ
7. เวอร์เนียคาลิปเปอร์แบบ Mitutuyo มีความ
ละเอียด 0.02 มิลลิเมตร เป็ นเวอร์เนียที่ใช้งานกันทั่วไป อ่านค่าจาก
สเกลที่ตัวเครื่อง
5

3.3 การผสม การอัดขึน


้ รูปและการบ่มอิฐบล็อกประสาน
3.3.1 ในการเตรียมวัตถุดิบ เตรียมดินตะกอนประปาที่เหลือ
ทิง้ จากการผลิตน้ำประปาและลำต้นผักตบชวา( ลำต้นอ่อน ปาน
กลาง และลำต้นแก่ ) ที่ผ่านการตีย่อยและร่อนผ่านตะแกงร่อน
ทรายเบอร์4 ตามมาตรฐาน ASTM C136, C33 ปูนซีเมนต์ปอร์ต
แลนต์ประเภท 1 และทรายละเอียด แล้วทำการผสมอัตราส่วนเข้า
ด้วยกัน (กำหนดให้ผักตบชวาลำต้นอ่อน ลำต้นปานกลาง ลำต้นแก่
เป็ น A B C ตามลำดับ )อัตราส่วนดังตารางที่ 3.1
3.3.2 นำดินตะกอนประปาและลำต้นผักตบชวาที่ร่อนผ่าน
ตะแกรงเบอร์ 4 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 และทราย ที่
ผสมแล้วนำมาใส่เครื่องผสม เพื่อผสมวัตถุดิบให้เป็ นเนื้อเดียวกัน
แล้วจึงเติมน้ำลงไปผสม
ตารางที่ 3.1 แสดงอัตราส่วนผสมที่ใช้ในการทดลอง
ชิน
้ งาน อัตราส่วนผสม ( เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก )
ปูนซีเมนต์ ดินตะกอน ทราย ผักตบชวา
ปอร์ตแลนด์ ประปา
ประเภท 1
0A 10 50 40 0
10A 10 50 40 10
15A 10 50 40 15
20A 10 50 40 20
0B 10 50 40 0
10B 10 50 40 10
6

15B 10 50 40 15
20B 10 50 40 20
0C 10 50 40 0
10C 10 50 40 10
15C 10 50 40 15
20C 10 50 40 20

3.3.3 ตรวจดูสว่ นผสมทัง้ หมด ว่าเป็ นเนื้อเดียวกัน และวัตถุดบ


ิ มี
ความชื้นพอประมาณ แต่ไม่ควรแฉะเกินไป ตรวจสอบโดยการนำ
วัตถุดบ
ิ นัน
้ ขึน
้ มากำด้วยมือ ถ้าจับตัวกันเป็ นก้อนแล้ว แสดงว่าสามารถ
นำมาขึน
้ รูปได้

3.3.4 อัดขึน
้ รูปชิน
้ งานและการจัดเตรียมชิน
้ งานทดสอบ นำวัสดุ
ทีผ
่ า่ นการผสมอัดขึน
้ รูปชิน
้ งานทดสอบในแม่พม
ิ พ์เครื่องอัดอิฐบล็อก
ประสานทีม
่ ข
ี นาดก้อนบล็อก 10x12.5x25 เซนติเมตร เป็ นเครื่องมือ
แบบโยก โดยใช้หลักการทดสอบแรงแบบคานงัด ปล่อยทิง้ ไว้ 3 นาที
และทำการดันบล็อกออกจากแบบแม่พม
ิ พ์ นำตัวอย่างทีทำ
่ การอัดขึน

รูปอิฐบล็อกประสานแล้วมาจัดเรียงในทีร่ ม
่ จนมีอายุครบ 1 วัน บ่ม
ก้อนบล็อกทดสอบด้วยความชื้น จากนัน
้ เริม
่ บ่มโดยการรดน้ำด้วย
ฝั กบัวให้ชม
ุ่ แล้วคลุมผ้าพลาสติกเพื่อไม่ให้ไอน้ำระเหยออก บ่มด้วย
ความชื้นทิง้ ไว้ 7 วัน, 14 วัน และ 28 วัน

3.3.5 นำชิน
้ งานอิฐบล็อกประสานทีผ
่ า่ นการบ่มน้ำไปทดสอบ
สมบัตต
ิ า่ งๆ โดยอัตราส่วนผสมละ 3 ชิน
้ ต่อการทดสอบ ซึง่ ประกอบ
ด้วยการทดสอบด้านความเค้นแรงกดในหน้าชิน
้ งานจำนวน 36 ชิน
้ ต่อ
7

การทดสอบ การทดสอบด้านการดูดซึมน้ำจำนวน 36 ชิน


้ ต่อการ
ทดสอบและการทดสอบด้านความชื้นจำนวน 36 ชิน
้ ทดสอบ

ตาราง 3.2 ผลการชัง่ น้ำหนัก

ชิน
้ งานA1 หดตัวร้อย ชิน
้ งานA2 หดตัวร้อย ชิน
้ งานA3 หดตัวร้อย
ละ…../น้ำ ละ…../น้ำ ละ…../น้ำ
หนัก….กก./ลักษณะ หนัก….กก./ลักษณะ หนัก….กก./ลักษณะ
พื้นผิว….. พื้นผิว….. พื้นผิว…..

ชิน
้ งานB1 หดตัวร้อย ชิน
้ งานB2 หดตัวร้อย ชิน
้ งานB3 หดตัวร้อย
ละ…../น้ำ ละ…../น้ำ ละ…../น้ำ
หนัก….กก./ลักษณะ หนัก….กก./ลักษณะ หนัก….กก./ลักษณะ
พื้นผิว….. พื้นผิว….. พื้นผิว…..
8

ชิน
้ งานC1 หดตัวร้อย ชิน
้ งานC2 หดตัวร้อย ชิน
้ งานC3 หดตัวร้อย
ละ…../น้ำ ละ…../น้ำ ละ…../น้ำ
หนัก….กก./ลักษณะ หนัก….กก./ลักษณะ หนัก….กก./ลักษณะ
พื้นผิว….. พื้นผิว….. พื้นผิว…..

3.4 การทดสอบคุณสมบัติทางกลและทางกายภาพ

3.4.1 ในการทดสอบชิน
้ งาน คณะผู้ดำเนินโครงงานได้ทำการ
ทดสอบคุณสมบัติทางทางกลประกอบด้วย ด้านความเค้นแรงกด
ของอิฐบล็อกประสานในหน้าชิน
้ งานจริง และคุณสมบัติทาง
กายภาพด้านการดูดซึมน้ำของอิฐบล็อกประสาในหน้าชิน
้ งานจริง
และด้านความชื้นของอิฐบล้อกประสานในหน้าชิน
้ งานจริง

3.4.1.1 การทดสอบคุณสมบัติทางทางกล

3.4.1.1.1 การทดสอบความเค้นแรงกด
( Compression Test ) คือโดยการใช้แรงกดหรือแรงอัดในแนว
ตรง การกดใช้ทดสอบโดยใช้หัววัดทรงกระบอกหรือหัววัดที่มี
ลักษณะเป็ นจานแบนกดลงบน จะใช้หลักการเพิ่มแรงอย่างช้าๆ
และสม่ำเสมอแล้ววัดค่าการเปลี่ยนแปลงรูปร่างวัสดุทนำ
ี่ มาทดสอบ
หากเป็ นวัสดุที่มีความเหนียวจะโป่ งพองออก วัสดุที่มีความอ่อนจะ
9

ถูกอัดโดยไม่แตกหัก แต่หากวัสดุมีความเปราะจะแตกหัก โดย


การนำตัวอย่างการทดสอบที่เขียนระบุหมายเลขไว้ไปเข้าเครื่อง
ทดสอบความเค้นแรงกด ซึง่ การทดสอบครัง้ นีท
้ างคณะผู้ดำเนิน
โครงงานได้ทำการทดสอบความเค้นแรงกด ดังภาพที่ 3.17

3.4.1.2 การทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพ

3.4.1.2.1 ปริมาณความชื้นของอิฐ คือ


อัตราส่วนระหว่างน้ำหนักของน้ำที่มีอยู่ในอิฐในสภาพธรรมชาติต่อ
น้ำหนักอิฐอบแห้ง โดยการนำชิน
้ งานตัวอย่างการทดสอบที่เขียน
ระบุหมายเลขไว้ชั่งน้ำหนัก แล้วจดบันทึกและนำก้อนตัวอย่างอบ
แห้งในตู้อบด้วยอุณหภูมิ 100±5 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 24
ชั่วโมงแล้วชั่งน้ำหนักและทำการจดบันทึก ซึง่ การทดสอบครัง้ นีท
้ าง
คณะผู้ดำเนินโครงงานได้ทำการทดสอบการหาปริมาณความชื้นของ
อิฐ

3.4.1.2.2 อัตราการดูดซึมน้ำ คือลักษณะ


การเปลี่ยนแปลงภายนอกที่สามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่าหรือโดย
ใช้เครื่องมือวัดสามารถบอกความหนัก กว้าง ยาว ได้มีคณ
ุ สมบัติที่
ขึน
้ อยู่กับปริมาณและเนื้อสารในวัตถุ โดยอัตราส่วนระหว่างน้ำหนัก
ของน้ำที่มีอยู่ในอิฐ หลังจากนำไปแซ่น้ำต่อน้ำหนักอิฐอบแห้ง โดย
การนำชิน
้ งานตัวอย่างการทดสอบที่เขียนระบุหมายเลขไว้ไปแช่น้ำ
ให้ท่วมเป็ นระยะเวลา 48 ชั่วโมง แล้วทำการชั่งน้ำหนัก จากนัน
้ ใช้
ผ้าเช็ดให้หมาดที่ผิวทีละก้อนแล้วชั่งน้ำหนัก ซึ่งการทดสอบครัง้ นี ้
ทางคณะผู้ดำเนินโครงงานได้ทำการทดสอบการหาอัตราการดูดซึม
10

น้ำของอิฐ จากนัน ่ ้ำเป็ นเวลา 48 ชวั่ โมง แล ้ว


้ นำก ้อนตัวอย่างแชน
ทำการชงั่
น้ำหนัก แล ้วทำการคำนวณตามสมการ

3.5 การบันทึกผล วิเคราะห์ผล และสรุปผลการทดสอบ


3.5.1 ผลการทดสอบคุณสมบัติทางกล
3.5.1.1 การทดสอบด้านความเค้นแรงกด
ตารางที่ 3.3 ผลการทดสอบการหาค่าความเค้นแรงกด
ชิน
้ พื้นที่หน้าตัดอิฐ แรงที่กระทำ (นิว ความเค้นแรงกด
งาน บล็อก ตัน) (นิวตันต่อคาราง
(ตารางมิลลิเมตร) มิลลิเมตร)
A1

ค่าเฉลี่ย
A2

ค่าเฉลี่ย
A3

ค่าเฉลี่ย
B1
11

ค่าเฉลี่ย
B2

ค่าเฉลี่ย
B3

ค่าเฉลี่ย
C1

ค่าเฉลี่ย
ชิน
้ งาน พื้นที่หน้าตัดอิฐ แรงที่กระทำ (นิว ความเค้นแรงกด
บล็อก ตัน) (นิวตันต่อคาราง
(ตารางมิลลิเมตร) มิลลิเมตร)
C2

ค่าเฉลี่ย
C3
12

ค่าเฉลี่ย

3.5.2 ผลการทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพ
3.5.2.1 การทดสอบปริมาณความชื้น

ตารางที่ 3.4 ผลการทดสอบปริมาณความชื้นของอิฐบล็อกประสาน


ชิน
้ น้ำหนักอิฐ น้ำหนักอิฐที่ น้ำหนักน้ำ เปอร์เซ็นต์
งาน สภาพ ตากแห้ง (กรัม) ความชื้น
ธรรมชาติ (กรัม)
(กรัม)
A1

ค่าเฉลี่ย
A2

ค่าเฉลี่ย
A3

ค่าเฉลี่ย
13

B1

ค่าเฉลี่ย
ชิน
้ น้ำหนักอิฐ น้ำหนักอิฐที่ น้ำหนักน้ำ เปอร์เซ็นต์
งาน สภาพ ตากแห้ง (กรัม) ความชื้น
ธรรมชาติ (ก (กรัม)
รัม)
B2

ค่าเฉลี่ย
B3

ค่าเฉลี่ย
C1

ค่าเฉลี่ย
C2
14

ค่าเฉลี่ย
C3

ค่าเฉลี่ย

3.5.2.2 การอัตราการดูดซึมน้ำของอิฐ

ตารางที่ 3.5 ผลการทดสอบการดูดซึมน้ำของอิฐบล็อกประสาน


ชิน
้ น้ำหนักอิฐที่ตาก น้ำหนักอิฐหลังดูด น้ำหนักอิฐหลังดูด
งาน แห้ง (กรัม) ซึมน้ำ (กรัม) ซึมน้ำ (กรัม)
A1

ค่าเฉลี่ย

ชิน
้ น้ำหนักอิฐที่ตาก น้ำหนักอิฐหลังดูด น้ำหนักอิฐหลังดูด
งาน แห้ง (กรัม) ซึมน้ำ (กรัม) ซึมน้ำ (กรัม)
A2

ค่าเฉลี่ย
A3
15

ค่าเฉลี่ย
B1

ค่าเฉลี่ย
B2

ค่าเฉลี่ย
B3

ค่าเฉลี่ย
C1

ค่าเฉลี่ย
C2

ค่าเฉลี่ย
16

ชิน
้ งาน น้ำหนักอิฐที่ตาก น้ำหนักอิฐหลังดูด น้ำหนักอิฐหลังดูด
แห้ง (กรัม) ซึมน้ำ (กรัม) ซึมน้ำ (กรัม)
C3

ค่าเฉลี่ย

(น
ายกานต์ วิรุณพันธ์)

…24./…สิงหาคม../…2564..

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน

You might also like