You are on page 1of 4

85

มทช.(ท) 206-2545
มาตรฐานการทดสอบหาค่ าแรงเฉือนขนานเสีย้ นของไม้
(SHEAR TEST OF WOOD PARALLEL TO GRAIN)
----------
1. ขอบข่ าย
มาตรฐานการทดสอบนี ้ครอบคลุมถึงการหาความสามารถในการรับแรงเฉือนของไม้ ในแนวขนานเสี ้ยน

2. นิยาม
ความสามารถในการรับแรงเฉือนของไม้ หมายถึง ความสามารถของไม้ ในการต้ านทานแรงเค้ น ที่จะทาให้ สว่ นของ
หน้ าตัดไม้ ที่อยูใ่ นระนาบเดียวกับแนวแรงเลือ่ นออกจากกัน

3. ชัน้ คุณภาพและสัญลักษณ์
ให้ เป็ นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก. 424 ไม้ แปรรูป : สาหรับงานก่อสร้ างทัว่ ไป

4. วิธีทา
4.1 เครื่องมือและอุปกรณ์ ประกอบด้ วย
4.1.1 เครื่ องมือทดสอบแรงเฉือน ที่มีลกั ษณะเช่นเดียวกับที่แสดงในรูปที่ 1 โดยให้ มีระยะห่างระหว่างขอบด้ านในของ
ผิวที่รองรับกับระนาบที่จะเกิดการวิบตั ิของไม้ เท่ากับ 3 ม.ม.

น ้าหนักกด

แผ่นเหล็กกด

ไม้ ตวั อย่าง

รูปที่ 1 เครื่ องมือทดสอบหาค่าแรงเฉือนขนานเสี ้ยนของไม้


86

4.2 การเตรียมตัวอย่ าง
4.2.1 เตรี ยมไม้ ตวั อย่างที่ไสเรี ยบ (DRESSED TIMBER) และเกลี ้ยง (CLEAR WOOD) ขนาด 5x5x6.3 ซม. โดยให้ มี
พื ้นที่ที่จะรับแรงเฉือนเมื่อทาการทดสอบ เท่ากับ 5 x 5 ซม. ดังแสดงในรูปที่ 2
4.2.2 ไม้ ตวั อย่างที่จะนามาทดสอบ ต้ องมีความชื ้น (MOISTURE CONTENT) อยูร่ ะหว่างร้ อยละ 10 ถึง ร้ อยละ 14

C B

E
D A = 5 ซม., B = 5 ซม.
C = 5 ซม., D = 6.3 ซม.
A E = 2 ซม.

รูปที่ 2 ไม้ ตวั อย่าง

4.3 แบบฟอร์ ม
ใช้ แบบฟอร์ มที่ บฟ. มทช.(ท) 206.1-2545
4.4 การทดสอบ
4.4.1 ชัง่ น ้าหนัก ไม้ ตวั อย่าง ให้ ละเอียด ถึง 0.1 กรัม
4.4.2 วัดขนาด ไม้ ตวั อย่าง ให้ ละเอียด ถึง 0.1 ม.ม.
4.4.3 บันทึกลักษณะทิศทาง ของลายไม้ (วงปี ) ของพื ้นที่ที่รับแรงเฉือนว่าอยูใ่ นลักษณะตังฉากกั
้ บวงปี (RADIAL) หรื อ
สัมผัสกับวงปี (TANGENTIAL) หรื ออยูร่ ะหว่างแนวตังฉากและแนวสั
้ มผัสกับวงปี (INTERMEDIATE)
4.4.4 วางไม้ ตวั อย่างลงในเครื่ องมือทดสอบในลักษณะดังต่อไปนี ้
4.4.4.1 ไม่มีการบิดตัวของไม้ ตวั อย่าง เมื่อมีแรงกระทา
4.4.4.2 วางไม้ ตวั อย่างให้ อยูใ่ นแนวดิ่ง
4.4.4.3 พื ้นผิวล่างของไม้ ตวั อย่างวางให้ ได้ ระนาบบนที่รองรับ
4.4.5 ค่อย ๆ ปรับเครื่ อง มือให้ เข้ าที่แล้ วทาการทดสอบ โดยให้ แผ่นเหล็กกดเคลือ่ นที่ด้วยความเร็ วไม่มากกว่า 2 ม.ม.
ต่อนาที จนไม้ ตวั อย่างเกิดการวิบตั ิ
4.4.6 บันทึกค่าแรงกระทาสูงสุด และลักษณะการวิบตั ิของไม้ ตวั อย่าง

5. การคานวณ
ให้ ดาเนินการคานวณตามวิธีที่กาหนดไว้ ในแบบฟอร์ ม ตามข้ อ 4.3

6. การรายงาน
ให้ รายงานตามแบบฟอร์ ม ในข้ อ 4.3
87

7. เกณฑ์ การตัดสินและความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้
เกณฑ์การตัดสินให้ เป็ นไปตาม มทช.104 : มาตรฐานงานไม้ โดยใช้ คา่ เฉลีย่ ความสามารถในการรับแรงเฉือนของไม้

8. ข้ อควรระวัง
8.1 ไม้ ตวั อย่างที่จะนามาทดสอบต้ องอยูใ่ นสภาพที่สมบูรณ์เรี ยบร้ อย มีขนาดตามที่กาหนดเท่ากันตลอดทังท่
้ อน และต้ อง
ไม่มี ตาหนิในเนื ้อไม้
8.2 การอบไม้ ตวั อย่าง ห้ ามอบนานเกินความจาเป็ น และห้ ามเกินกว่าอุณหภูมิที่กาหนดไว้ (103 + 2 องศาเซลเซียส)

9. หนังสืออ้ างอิง
9.1 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก. 421-2525 ไม้ แปรรูป : ข้ อกาหนดทัว่ ไป
9.2 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก. 424-2530 ไม้ แปรรูป : สาหรับงานก่อสร้ างทัว่ ไป
9.3 ASTM DESIGNATION D 143-83 STANDARD METHODS OF TESTING SMALL CLEAR SPECIMENS OF
TIMBER

**********
88

โครงการ……..……………………………. บฟ.มทช.(ท) 206.1-2545 ทะเบียนทดสอบ……………


สถานที่ก่อสร้ าง…………………………….
…………………………………………..… ผู้ทดสอบ
(หน่วยงานที่ทาการทดสอบ)
ผู้รับจ้ าง……………………………..……..
ผู้ตรวจสอบ
ผู้นาส่ง……………………..……………… มาตรฐานวิธีการทดสอบหาค่ า
ชนิดตัวอย่าง………………ทดสอบครัง้ ที่.… แรงเฉือนขนานเสีย้ นของไม้ อนุมัติ
ทดสอบวันที่……………….……แผ่นที่……
ชนิดไม้ ตัวอย่ าง
รายละเอียด ไม้ ………………… ไม้ …………………. ไม้ …………………
1 2 3 1 2 3 1 2 3
1. มิติของพืน้ ที่รับแรง กว้ าง B. (ซม.)
เฉือน สูง A. (ซม.)

2. ทิศทางของลายไม้

3. ความชืน้ ของไม้ ตัวอย่ าง (ร้ อยละ)

4. พืน้ ที่รับแรงเฉือน (ตร.ซม.)

5. ค่ าแรงเฉือนสูงสุด (กก.)

6. ความสามารถรับแรงเฉือน (กก./ตร.ซม.)

7. ความสามารถรั บแรงเฉือนเฉลี่ย (กก./ตร.


ซม.)

ภาพด้ านข้ าง
8. ลักษณะการวิบัติ
ภาพด้ านล่ าง

หมายเหตุ ทิศทางของลายไม้ R = Radial


T = Tangential
I = termediate

You might also like