You are on page 1of 4

89

มทช.(ท) 207-2545
มาตรฐานวิธีการทดสอบหาค่ าความถ่ วงจาเพาะของไม้
(SPECIFIC GRAVITY OF WOOD)
----------
1. ขอบข่ าย
มาตรฐานการทดสอบนี ้ครอบคลุมถึงความถ่วงจาเพาะของไม้ ในสภาพอบแห้ ง โดยวิธีการทดสอบต่อไปนี ้
1.1 วิธีการทดสอบ ก. หาปริ มาตรโดยการ วัดขนาด
1.2 วิธีการทดสอบ ข. หาปริ มาตรโดยการ แทนที่ น ้า
1.3 วิธีการทดสอบ ค. หาปริ มาตรโดยการ แทนที่ ปรอท

2. นิยาม
ความถ่วงจาเพาะของไม้ (SPECIFIC GRAVITY OF WOOD ) หมายถึง น ้าหนักของไม้ หารด้ วยน ้าหนักน ้าที่มี
ปริ มาตรเท่ากัน

3.ชัน้ คุณภาพและสัญลักษณ์
ให้ เป็ นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก. 424 ไม้ แปรรูป : สาหรับงานก่อสร้ างทัว่ ไป

4. วิธีทา
4.1 เครื่องมือและอุปกรณ์ ประกอบด้ วย
4.1.1 ตู้อบไฟฟ้ า (ELECTRIC DRY OVENT) เป็ นตู้อบที่สามารถปรับและควบคุมอุณหภูมิได้ สาหรับการทดสอบนี ้ให้
ควบคุมที่อณุ หภูมิ 103 + 2 องศาเซลเซียส โดยตลอดในช่วงเวลาที่ต้องการอบไม้ ตวั อย่างจนน ้าหนักลดลงคงที่ ตู้อบ
ไฟฟ้ าควรมีอากาศหมุนเวียนภายใน เพื่อให้ อณ ุ หภูมิเท่ากันโดยทัว่ และควรมีช่องระบบไอน ้าออกได้ ด้วย
4.1.2 เครื่ องชัง่ ให้ มีความละเอียดของการชัง่ น ้าหนักได้ ไม่น้อยกว่า 0.05 กรัม
4.2 การเตรียมตัวอย่ าง
4.2.1 เตรี ยมไม้ ตวั อย่างที่ไสเรี ยบ (DRESSED TIMBER) และเกลี ้ยง (CLEAR WOOD) ขนาด 2.5x2.5x3.0 ซม. หรื อ
ในกรณีที่เป็ นไม้ แผ่นแบน ให้ เตรี ยมไม้ ตวั อย่างที่มีพื ้นที่ผิว ขนาด 7.5x15 ซม.
4.2.2 การเตรี ยมไม้ ตวั อย่าง จากท่อนไม้ ใช้ ในงานโครงสร้ าง (STRUCTURAL ELEMENTS ) ควรตัดชิ ้นไม้ อย่างน้ อย
45 ซม.
4.2.3 ในการทดสอบโดยวิธีการทดสอบ ข . ให้ ทาการเคลือบผิวของไม้ ตวั อย่างด้ วยขี ้ผึ ้งพาราฟี นร้ อนก่อนการหา
ปริ มาตร น ้าหนักของพาราฟี นที่เพิ่มขึ ้นมา ถือว่าน้ อยมากจนตัดทิ ้งได้
4.2.4 ไม้ ตวั อย่างที่นามาทดสอบ ต้ องมีความชื ้นอยูร่ ะหว่าง ร้ อยละ 10 ถึง 14
90

4.3 แบบฟอร์ ม
ใช้ แบบฟอร์ มที่ บฟ. มทช.(ท) 207.1-2545

4.4 การทดสอบ
4.4.1 ชัง่ น ้าหนักของไม้ ตวั อย่าง ให้ ละเอียด ถึง 0.05 กรัม
4.4.2 หาปริ มาตรของไม้ ตวั อย่าง ซึง่ สามารถกระทาได้ 3 วิธี ดังนี ้
วิธีการทดสอบ ก. หาปริ มาตรโดยการ วัดขนาด
วิธีการทดสอบ ข. หาปริ มาตรโดยการ แทนที่ น ้า
วิธีการทดสอบ ค. หาปริ มาตรโดยการ แทนที่ ปรอท
ถ้ าชิ ้นไม้ ตวั อย่างที่นามาทดสอบ ได้ ผา่ นการเตรี ยมมาอย่า งดี มีขนาดที่แน่นอนและสม่าเสมอ การทดสอบโดย
วิธีการทดสอบ ก . จะให้ ผลลัพธ์ที่ละเอียดเพียงพอกับความต้ องการ แต่ถ้าชิ ้นไม้ ตวั อย่างมีลกั ษณะไม่เรี ยบร้ อย บิดเบี ้ยว ควร
จะทาการทดสอบ โดยใช้ วิธีการทดสอบ ข. หรื อ วิธีการทดสอบ ค.
วิธีการทดสอบ ก. หาปริมาตรโดยการวัดขนาด
วิธีการนี ้ เหมาะสาหรับทดสอบไม้ ตวั อย่าง ที่ผา่ นการเตรี ยมมาอย่างดีมีลกั ษณะรูปร่างได้ ฉากกันทุกมุม การทดสอบให้
ดาเนินการ ดังนี ้
ขจัดเสี ้ยนไม้ ที่เกาะอยูต่ ามผิวของชิ ้นไม้ ตวั อย่างออก และทาการวัดขนาด เพื่อหาความยาว (L) ความกว้ าง (B) และ
ความหนา (T) ของชิ ้นไม้ ตวั อย่าง โดยวัดละเอียดถึง 0.25 มม. และวัดอย่างน้ อย 3 ตาแหน่ง ในแต่ละด้ านเพื่อนามาเฉลีย่ กัน
วิธีการทดสอบ ข. หาปริมาตรโดยการแทนที่นา้
ไม้ ตวั อย่างที่จะนามาใช้ ในการทดสอบโดยวิธีนี ้ ต้ องผ่ านการเคลือบผิวด้ วยขี ้ผึ ้งพาราฟี นมาแล้ ว การทดสอบให้
ดาเนินการ ดังนี ้
นาชิ ้นไม้ ตวั อย่างใส่ลงไปในภาชนะที่ทราบขนาดปริ มาตรความจุแล้ วเติมน ้าจนกระทัง่ เต็ม นาชิ ้นไม้ ตวั อย่างนันออกมา ้
จากภาชนะ แล้ วหาปริ มาตรน ้าที่เหลืออยูห่ รื ออาจจะดาเนินการหาปริ มาตร โดย การแทนที่น ้าด้ วยชิ ้นไม้ ตวั อย่างลงไปใน
กระบอกตวง ค่าความแตกต่างของปริ มาตรก่อน และภายหลัง การแทนที่น ้าด้ วยชิ ้นไม้ ตวั อย่าง คือ ค่าปริ มาตรของชิ ้นตัวอย่าง
(V)
วิธีการทดสอบ ค. หาปริมาตรโดยการแทนที่ปรอท
การทดสอบโดยวิธีนี ้ ไม่จาเป็ นต้ องเคลือบผิวชิ ้นไม้ ตวั อย่างด้ วยขี ้ผึ ้งพาราฟี น อย่างไรก็ตาม การทดสอบควรกระทาใน
ที่อากาศถ่ายเทได้ สะดวก เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดได้ จากการใช้ ปรอท การหาปริ มาตรโดยวิธีนี ้ ให้ ทาในลักษณะ
เดียวกับวิธีการทดสอบ ข.
5. การคานวณ
ให้ ดาเนินการคานวณตามวิธีการที่กาหนดไว้ ในแบบฟอร์ ม ในข้ อ 4.3

6. การรายงาน
ให้ รายงานตามแบบฟอร์ ม ในข้ อ 4.3
91

7. เกณฑ์ การตัดสินและความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้
เกณฑ์การตัดสินให้ เป็ นไปตาม มทช. 104: มาตรฐานงานไม้ โดยใช้ คา่ เฉลีย่ การทดสอบหาความถ่วงจาเพาะของไม้

8. ข้ อควรระวัง
8.1 ไม้ ตวั อย่างที่จะนามาทดสอบ ควรอยูใ่ นสภาพที่เรี ยบร้ อย มีขนาดตามที่กาหนดเท่ากันตลอดทังท่
้ อน และต้ องไม่มี
ตาหนิในเนื ้อไม้
8.2 การอบไม้ ตวั อย่าง ห้ ามอบนานเกินความจาเป็ น และห้ ามเกินกว่าอุณหภูมิที่กาหนดไว้ (103 + 2 องศาเซลเซียส)

9. หนังสืออ้ างอิง
9.1 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก. 424-2530 ไม้ แปรรูป : สาหรับงานก่อสร้ างทัว่ ไป
9.2. ASTM DESIGNATION D 2395-83 "STANDARD TEST METHODS FOR SPECIFIC GRAVITY OF WOOD
AND WOOD-BASE MATERIALS"

**********
92

โครงการ………………………..…………. บฟ.มทช.(ท) 207.1-2545 ทะเบียนทดสอบ………………


สถานที่ก่อสร้ าง……………………………. ผู้ทดสอบ
………………………………………..……
(หน่วยงานที่ทาการทดสอบ)
ผู้รับจ้ าง………………………………..….. ผู้ตรวจสอบ
ผู้นาส่ง……………………………..………
มาตรฐานวิธีการทดสอบหาค่ า
ชนิดตัวอย่าง………..……ทดสอบครัง้ ที่..… ความถ่ วงจาเพาะของไม้ อนุมัติ
ทดสอบวันที่………………..….แผ่นที่……..
ชนิดไม้ ตัวอย่ าง
รายละเอียด ไม้ ……………. ไม้ ……………. ไม้ ………………. หมายเหตุ
1 2 3 1 2 3 1 2 3
ความยาว L.(ม.ม.)
เฉพาะ
1. มิติของไม้ ตัวอย่ าง ความกว้ างB.(ม.ม.)
วิธี ก.
ความหนาT. (ม.ม.)

2. ปริมาตร V (ม.ม3.)

3.น.น.ของไม้ ตัวอย่ างก่ อนอบแห้ งW กรัม


(ORIGINAL WEIGHT)
4.น.น.ของไม้ ตัวอย่ างหลังอบแห้ งWD กรัม
(OVEN DRY WEIGHT)
5. ปริมาณความชืน้ เป็ นร้ อยละ M
= (W-WD) / WD x100

6. ความถ่ วงจาเพาะ = (1000W) / V

7. ความถ่ วงจาเพาะแห้ ง
= (1000W) / {1+(M /100)} V

8. ค่ าเฉลี่ยความถ่ วงจาเพาะ

(1) วิธี ก. ปริมาตร V = L x B x T


(2) วิธี ข. และ วิธี ค. ปริมาตร V ได้ จากการทดลองโดยตรง

You might also like