You are on page 1of 6

ติดสติกเกอร์รหัส

ข้อสอบภาคปฏิบัติการ
การแข่งขันชีววิทยาโอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 13
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร
วันพุธที่ 6 เมษายน 2559

ปฏิบัติการเรื่อง Biosystematics and Ecology


25 คะแนน เวลา 45 นาที

คาชี้แจง
1. ข้อสอบมี 2 ตอน จานวนทั้งหมด 6 หน้า
ตอนที่ 1 เรื่อง Biosystematics ใช้เวลา 25 นาที (14 คะแนน)
ตอนที่ 2 เรื่อง Ecology ใช้เวลา 20 นาที (11 คะแนน)
2. ติดเฉพาะสติกเกอร์รหัสประจาตัวสอบลงในช่อง ติดสติกเกอร์รหัส ให้ครบทุกหน้า
3. เขียนคาตอบลงในข้อสอบด้วยปากกาสีน้าเงินเท่านั้น
4. ในช่องว่างที่มีสัญลักษณ์ TT ให้ตอบเป็นคาศัพท์เทคนิคภาษาอังกฤษ (Technical Term)
5. เมื่อต้องการแก้ไขข้อความ ให้ใช้ปากกาขีดทับข้อความเดิม แล้วจึงเขียนข้อความใหม่เท่านั้น
6. ห้ามแยกข้อสอบออกจากกัน
7. ห้ามใช้เครื่องคิดเลขในการคานวณ

ห้ามคัดลอกหรือนาข้อสอบออกนอกห้องสอบโดยเด็ดขาด
1
ติดสติกเกอร์รหัส

ตอนที่ 1 เรื่อง Biosystematics


ใช้เวลา 25 นาที (14 คะแนน)
คาสั่ง: ให้นักเรียนทาการตรวจสอบและระบุชื่อวิทยาศาสตร์ของพืชตัวอย่างทั้ง 2 ชนิด โดยใช้รูปวิธาน
(Identification Key) และวัสดุอุปกรณ์ที่กาหนดให้ ด้วยวิธีการศึกษาแบบใดก็ได้เพื่อให้ได้คาตอบที่ถูกต้อง และ
ต้องเขียนทุกลาดับขั้นตอนตามรูปวิธานจนได้ชื่อวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องของพืชทั้ง 2 ชนิด
*หมายเหตุ ชื่อวิทยาศาสตร์ที่กาหนดให้เป็นเพียงชื่อสมมุติเท่านั้น
ตัวอย่างวิธีการตอบ
ลาดับของการตรวจหาชื่อวิทยาศาสตร์โดยใช้รูปวิธานสาหรับพืชตัวอย่าง C คือ
1B  2B  3A 6B  10A 14A
ชื่อวิทยาศาสตร์ของพืชตัวอย่าง A คือ Oryza sativa .

กระดาษคาตอบ
1.1 ลาดับของการตรวจหาชื่อวิทยาศาสตร์โดยใช้รูปวิธานสาหรับพืช Unknown A คือ
(5 คะแนน)
ชื่อวิทยาศาสตร์ของพืช Unknown A คือ................................................................................................(2 คะแนน)
(คาตอบลาดับและชื่อวิทยาศาสตร์ต้องสัมพันธ์กันจึงจะได้คะแนน)
1.2 ลาดับของการตรวจหาชื่อวิทยาศาสตร์โดยใช้รูปวิธานสาหรับพืช Unknown B คือ
. (5 คะแนน)
ชื่อวิทยาศาสตร์ของพืช Unknown B คือ............................................................................. ..................(2 คะแนน)
(คาตอบลาดับและชื่อวิทยาศาสตร์ต้องสัมพันธ์กันจึงจะได้คะแนน)

2
ติดสติกเกอร์รหัส

รูปวิธาน (Identification Key)


1A. เนื้อใบ (Mesophyll) ไม่แบ่งเป็น palisade หรือ spongy อย่างชัดเจน มีลักษณะเป็นเพียงเนื้อเยื่อ
chlorenchyma ที่มีขนาดและรูปร่างเหมือนๆ กันหมด.......................................................Silpakornia alba
1B. เนื้อใบ (Mesophyll) แยกออกเป็น palisade และ spongy อย่างชัดเจน.......................................................2
2A. ใบมี palisade parenchyma ทั้งสองด้าน.....................................................Eucalyptra sanamchanensis
2B. ใบมี palisade parenchyma เฉพาะด้านบน (upper surface) ของแผ่นใบ..................................................3
3A. มีเนื้อเยื่อผิว (Epidermis) เพียงชั้นเดียว...........................................................................................................4
3B. มีเนื้อเยื่อผิว (Epidermis) 1 ชั้นเซลล์ และเนื้อเยื่อใต้ชั้นผิว (Hypodermis) 1-2 ชั้นเซลล์..............................9
4A. พบ trichomes กระจายทั่วไปที่ด้านบนของแผ่นใบ (upper surface)............................................................5
4B. ไม่พบ trichomes ที่ด้านบนของแผ่นใบ (upper surface)..............................................................................6
5A. trichome ที่พบ ประกอบด้วยเซลล์เพียงเซลล์เดียว.............................................................Anymus arumilii
5B. trichome ที่พบ ประกอบด้วยหลายเซลล์และที่ปลายมีลักษณะเป็นต่อม..................Araiwanea tammaidii
6A. เนื้อใบ (Mesophyll) มีความหนาของชั้น spongy มากกว่า palisade............................................................7
6B. เนื้อใบ (Mesophyll) มีความหนาของชั้น palisade มากกว่า spongy............................................................8
7A. เซลล์ผวิ ใบด้านบนมีรูปร่างคล้ายสี่เหลี่ยมจัตุรัสเมื่อมองจากภาพตัดขวาง (cross section) และเป็นรูปหลาย
เหลี่ยมหรือค่อนข้างกลมเมื่อมองจากมุมบน (top view)................................................... Aglaoma thailandica
7B. เซลล์ผวิ ใบด้านบนมีรูปร่างคล้ายสี่เหลี่ยมผืนผ้าเมื่อมองจากภาพตัดขวาง (cross section) โดยมีความยาวของ
ผนังเซลล์ด้านขนานกับผิว มากกว่า ด้านที่ตั้งฉากกับผิวอย่างเห็นได้ชัด (2-3 เท่า) และเป็นรูปหยักเว้าคล้ายจิ๊กซอว์
เมื่อมองจากมุมบน................................................................................................................. Aglaoma siamensis
8A. มีปากใบเฉพาะผิวใบด้านล่างด้านเดียว และไม่พบ subsidiary cells............................Sirichea chlorantha
8B. มีปากใบทั้งผิวด้านบนและด้านล่างของใบ ปากใบมี subsidiary cells จานวน 2-4 เซลล์ เรียงตัวอยู่โดยรอบ
เซลล์คุม................................................................................................................... ............Sirichea macrophylla
9A. มีปากใบเฉพาะผิวใบด้านล่างด้านเดียว และไม่พบต่อมน้าหวาน (nectary gland) บริเวณโคนก้านใบ..........10
9B. มีปากใบทั้งผิวด้านบนและด้านล่างของใบ บริเวณโคนก้านใบพบต่อมน้าหวาน (nectary gland) ................11

3
ติดสติกเกอร์รหัส

10A. ชั้นเนื้อเยื่อใต้ชั้นผิว (Hypodermis) มีความหนา 2 ชั้นเซลล์ ปากใบมี subsidiary cells…………………………..


...............................................................................................................Nakhonpathomia sanamchanensis
10B. ชั้นเนื้อเยื่อใต้ชั้นผิว (Hypodermis) มีความหนา 1 ชั้นเซลล์ ปากใบไม่มี subsidiary cells……………………….
................................................................................................................................ Nakhonpathomia longata
11A. เส้นใบแบบร่างแห (reticulate venation) ก้านใบพบเนื้อเยื่อ parenchyma ที่เรียงตัวกันหลวมๆ จนมีช่อง
อากาศเห็นได้ชัดเจน ปากใบมี subsidiary cells จานวน 2 เซลล์ขนาบข้างเซลล์คุม.....................Piper aquatica
11B. เส้นใบแบบขนาน (parallel venation) เนื้อเยื่อ parenchyma ในก้านใบเรียงตัวกันแน่นไม่มีลักษณะเป็น
ช่องอากาศ ปากใบมี subsidiary cells จานวน 8 เซลล์เรียงเป็นวงในแนวรัศมีรอบเซลล์คุม.................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………Epinepreus aureus

4
ติดสติกเกอร์รหัส

ตอนที่ 2 เรื่อง Ecology (1 ข้อ 11 คะแนน)


ให้นักเรียนศึกษาความหนาแน่น จานวนประชากร และรูปแบบการกระจายของประชากรของตัวกะปิซึ่งอยู่ใต้ดิน
(ทราย) ในพื้นที่ศึกษาที่จาลองด้วยกล่องพลาสติกขนาดกว้าง X ยาว เท่ากับ 8 X 8 ตารางนิ้ว ซึ่งแบ่งเป็นแปลง
ย่อยขนาด 2 X 2 ตารางนิ้ว ดังภาพ ภายในแต่ละแปลงย่อยมีประชากรของตัวกะปิทั้งเพศผู้และเพศเมียซึ่งจาลอง
ด้วยลูกปัดสีดาและสีขาว ตามลาดับ
1 2 3 4
A

การศึกษาประชากรครั้งนี้ กาหนดให้ใช้วิธีการสุ่ม จานวน 5 แปลง ได้แก่ แปลง A1 , A4 , B2 , C3 และ D4 โดย


มีข้อมูลประกอบในการคานวณดังนี้
รูปแบบการกระจายของประชากร ประเมินได้จากค่าของ


โดย Variance =

หมายเหตุ x = จานวนประชากรที่สุ่มได้ในแต่ละแปลง
N = จานวนแปลงที่สุ่ม
Variance = ค่าความแปรปรวน
Mean = ค่าเฉลี่ยจานวนประชากร

การใช้ค่า ประเมินรูปแบบการกระจายของประชากร

ค่า มีค่าเข้าใกล้ 0 แสดงว่าประชากรมีการกระจายแบบสม่าเสมอ

ค่า มีค่าประมาณ 1 แสดงว่าประชากรมีการกระจายแบบสุ่ม

ค่า มีค่ามากกว่า 1 แสดงว่าประชากรมีการกระจายแบบกลุ่ม

5
ติดสติกเกอร์รหัส

ให้นักเรียนบันทึกผลหรือตอบคาถามต่อไปนี้
2.1 ให้บันทึกผลการสุ่มลงในตารางต่อไปนี้ (2 คะแนน ช่องละ 0.2 คะแนน)
จานวนตัวกะปิในแปลง (ตัว)
แปลงที่ เพศผู้ เพศเมีย
A1
A4
B2
C3
D4

2.2 หาความหนาแน่นของตัวกะปิเพศผู้............................................................................ ตัว/ตารางนิ้ว (1 คะแนน)


2.3 หาจานวนประชากรตัวกะปิทั้งหมดในพื้นที่ศึกษานี้.....................................................................ตัว (2 คะแนน)
2.4 จานวนเพศผู้ทั้งหมดคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของประชากรทั้งหมด (ตอบทศนิยม 2 ตาแหน่ง).............. (1 คะแนน)
2.5 ประเมินรูปแบบการกระจายของประชากรตัวกะปิทั้งหมด
2.5.1 Variance =…………………………………………………………………….……..………………………............ (1 คะแนน)
2.5.2 Mean = ……………………………………………………………………….............................................. (1 คะแนน)

2.5.3 ค่า =........................................................................(ตอบทศนิยม 2 ตาแหน่ง) (1 คะแนน)

2.5.4 รูปแบบการกระจายของประชากรตัวกะปิเป็นแบบใด ...................................................... (TT, 1 คะแนน)

2.6 จากข้อมูลที่ศึกษา ตัวกะปิเพศเมียมีรูปแบบการกระจายของประชากรเป็นแบบใด


…..................................................................................................................................................... (TT, 1 คะแนน)
.

You might also like