You are on page 1of 23

โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทประดิษฐ์

เรื่อง เครื่องดักยุง
โดย
ด.ญ.คริ ษฐา เนตรวิจิตร์
ด.ญ.ณัฐฐิตา นาคอ่อน
ด.ญ.ภัทรวรรณ เล็กสุ ทธิ์
ด.ญ.ศศิร์ ิ กานต์ แก้วผ่องศรี
ด.ญ.อัยรดา ช่วยโสภา

ครู ที่ปรึกษา
นางอักษรศรี ระบอบ

โรงเรี ยนเทพศิรินทร์ นนทบุรี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3


รายงานฉบับนี้เป็ นส่ วนประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์
ประเภททดลอง ระดับชั้นม.1-ม.3
เรื่อง เครื่องดักยุง

โดย
ด.ญ.คริ ษฐา เนตรวิจิตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/2
ด.ญ.ณัฐฐิตา นาคอ่อน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/2
ด.ญ.ภัทรวรรณ เล็กสุ ทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/2
ด.ญ.ศศิร์ ิ กานต์ แก้วผ่องศรี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/2
ด.ญ.อัยรดา ช่วยโสภา ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/2

ครู ที่ปรึกษา
นางอักษรศรี ระบอบ

บทคัดย่ อ
ชื่อโครงงาน เครื่ องดักยุง
โดย ด.ญ.คริ ษฐา เนตรวิจิตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/2
ด.ญ.ณัฐฐิตา นาคอ่อน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/2
ด.ญ.ภัทรวรรณ เล็กสุ ทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/2
ด.ญ.ศศิร์ ิ กานต์ แก้วผ่องศรี ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/2
ด.ญ.อัยรดา ช่วยโสภา ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2/2

ครู ที่ปรึ กษา


1. นางอักษรศรี ระบอบ

โครงงานเรื่ องเครื่ องดักยุงนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อช่วย


1.อำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิต
2.เพื่อลดความเสี่ ยงของการเป็ นไข้เลือดออก
3.เพื่อช่วยเพิ่มความปลอดภัยโดยไม่ตอ้ งใช้สารเคมีในการดักยุง
โดยมีวิธีด ำเนินการดังนี้
3.1.ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
3.2.วางแผนจัดการขั้นตอนต่าง ๆ ของโครงงาน
3.3.ปรึ กษาครู ก
3.4.จัดซื้ ออุปกรณ์ในการทดลอง
3.5.เริ่ มทำการประดิษฐ์เครื่ องดักยุง
3.6.ติดตามผลการทดลอง
3.7.ตรวจสอบการทดลอง
3.8.สรุ ปผลการทดลองหากไม่มีความผิดพลาด

กิตติกรรมประกาศ
รายงานโครงงานเรื่ อง เครื่ องดักยุง ฉบับนี้ สำเร็ จลุล่วงได้ดว้ ยความช่วยเหลือสนับสนุนการทำงานอย่างดียงิ่ จาก
ครู อกั ษรศรี ระบอบ ที่ได้ให้ค ำปรึ กษาข้อเสนอแนะแนวคิดตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่ องต่าง ๆ มาโดยตลอด จนทำให้
โครงงานฉบับนี้ เสร็ จสมบูรณ์
ขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสูง และขอบคุณสมาชิกในกลุ่มทุกคน ที่ช่วยเหลือในการทดลองโครงงานครั้งนี้

คณะผูจ้ ดั ทำ
6 กุมภาพันธ์ 2565

สารบัญ
บทคัดย่อ……………………………………………………………………………………………………………..ก
กิตติกรรมประกาศ…………………………………………………………………………………………………...ข
สารบัญ.................................................................................................................................................……………….ค
สารบัญตาราง.......................................................................................................................................……………….ง
สารบัญรู ปภาพ.....................................................................................................................................……………….จ
บทที่ 1 บทนำ.......................................................................................................................................……………….1
ที่มาและความสำคัญ..................................................................................................................……………….1
วัตถุประสงค์ของโครงงาน........................................................................................................……………….1
สมมติฐานและตัวแปรในการศึกษา..........................................................................................………………1-2
นิยามเชิงปฏิบตั ิการ...................................................................................................................………………..2
ผลที่คาดว่าจะได้รับ...................................................................................................................………………..2

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง...................................................................................................................………………3-6

บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดำเนินการ.................................................................................................………………7-9

บทที่ 4 ผลการทดลอง..........................................................................................................................……………….10

บทที่ 5 สรุ ปและอภิปรายผล................................................................................................................……………….11


ข้อเสนอแนะ.............................................................................................................................……………….12
ประโยชน์ที่ได้จากโครงงาน.....................................................................................................……………….12
บรรณานุกรม........................................................................................................................................……………….13

ภาคผนวก.............................................................................................................................................……………14-16
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1 ตารางแสดงผลการทดลองเรื่ อง การเปรี ยบเทียบประสิ ทธิ ภาพของสารล่อยุง 10
2 ตารางแสดงผลการทดลองเรื่ อง การเปรี ยบเทียบความมืด ระหว่างกล่องกับผ้าสี ด ำ 10
3 ตารางแสดงผลการทดลองเรื่ อง ประสิ ทธิภาพของตัวเครื่ อง ระหว่าง เครื่ องดักยุงที่ท ำเองและเครื่ องดักยุง
แบบสำเร็ จรู ป 10

สารบัญรู ปภาพ
รู ปที่ หน้า
ภาพที่1 ยุง 3
ภาพที่2 น้ำขัง 4
ภาพที่3 เครื่ องดักยุง 5
1

บทที่1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญ
สุ ขภาพเป็ นสิ่ งสำคัญในการดำเนินชีวิตอย่างมาก และปั จจุบนั นี้ ยงุ เป็ นพาหะนำโรคที่สำคัญทำให้เกิดเป็ นโรค
ระบาดต่าง ๆ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออก
ยุงเป็ นสัตว์ที่สร้างความรำคาญ นอกจากไข้เลือดออกยังก่อให้เกิดโรค ไข้มาเลเรี ย ไข้ซิกา เป็ นต้น ด้วยสาเหตุ
เหล่านี้ยงุ จึงจัดว่าเป็ นสัตว์ที่ทุกคนไม่ตอ้ งการ ซึ่ งการจัดการกับยุงนั้นก็มีหลากหลายวิธี เช่น ใช้ยาฆ่าแมลง ใช้ยาจุดกัน
ยุง ใช้สมุนไพรต่าง ๆ และรวมไปถึงการใช้เครื่ องดักยุง
จากเหตุผลดังกล่าวเราจึงได้แนวคิดการประดิษฐ์โครงงานเรื่ องเครื่ องดักยุง เพื่อที่จะลดปั ญหาการระบาดโรค
ไข้เลือดออก จึงทำให้พวกเราเกิดความคิดในการประดิษฐ์เครื่ องดักยุงชิ้นนี้ข้ ึนมา
วัตถุประสงค์ ของโครงงาน
1.เพื่อเปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพของสารล่อยุง
2.เพื่อเปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพความมืดระหว่างกล่องกับผ้าสี ด ำ
3.เพื่อเปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพระหว่างเครื่ องดักยุงแบบทำเองกับแบบสำเร็ จรู ป
สมมติฐาน และตัวแปรที่ศึกษา
ตอนที่1 เปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพของสารล่อยุง
สมมติฐาน น้ำล้างหอยลายจะมีประสิ ทธิภาพในการล่อยุงมากที่สุด
ตัวแปรต้น ชนิดของสารล่อยุง (ยีสต์+น้ำตาล+น้ำเปล่า น้ำล้างหอยลาย น้ำแช่ถุงเท้า
ตัวแปรตาม จำนวนยุงที่ดกั ได้
ตัวแปรควบคุม ปริ มาณสารล่อยุง อุณหภูมิ สถานที่ ระยะเวลา ชนิดของวัสดุ ปริ มาณของวัสดุ
2
ตอนที่2 เปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพความมืดระหว่างกล่องกับผ้าสี ด ำ
สมมติฐาน เครื่ องดักยุงโดยใช้กล่องครอบจะดักยุงได้มากกว่า
ตัวแปรต้น เครื่ องดักยุงโดยใช้กล่องครอบและเครื่ องดักยุงโดยใช้เสื้ อคลุม
ตัวแปรตาม จำนวนยุงที่ดกั ได้
ตัวแปรควบคุม ชนิดของสารล่อยุง ปริ มาณของสารล่อยุง สถานที่ ระยะเวลา อุณหภูมิ ภาชนะใส่ สาร
ตอนที่3 เปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพระหว่างเครื่ องดักยุงแบบทำเองกับแบบสำเร็ จรู ป
สมมติฐาน เครื่ องดักยุงที่ท ำเอง
ตัวแปรต้น เครื่ องดักยุงที่ท ำเองกับเครื่ องดักยุงแบบสำเร็ จรู ป
ตัวแปรตาม จำนวนยุงที่ดกั ได้
ตัวแปรควบคุม ระยะเวลา ชนิดของสาร สถานที่ อุปกรณ์ใส่ สาร ขนาดของกล่อง อุณหภูมิ
นิยามเชิงปฏิบัติการ
1.น้ำล้างหอยลาย คือ น้ำแรกที่เอาหอยลายไปล้างและแช่ทิ้งไว้เพื่อทำความสะอาด ทำมาจากน้ำเปล่าและสิ่ งสกปรก
ในตัวหอยลาย
2.ยีสต์ผสมน้ำ คือ ยีสต์ที่เป็ นตัวช่วยสำคัญในการทำอาหารหรื อขนม ทำให้เกิดกลิ่นและรส นำไปผสมกับน้ำเปล่า
3.ถุงเท้าใช้แล้ว คือ ถุงเท้าที่ใช้มานานหมักหมมให้เกิดกลิ่น
ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ
1.ช่วยลดความเสี่ ยงต่อการเป็ นไข้เลือดออกที่มียงุ เป็ นพาหะ
2.ช่วยอำนวยความสะดวกสบาย
3.ช่วยประหยัดเวลา
4.ช่วยลดจำนวนยุงที่มีในบ้าน
3

บทที่2
เอกสารที่เกีย่ วข้ อง
ในการจัดทำโครงงานครั้งนี้ ผูจ้ ดั ทำได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องและได้น ำเสนอดังนี้
1. ยุง
1.1 ความหมาย
เป็ นแมลงที่พบได้ทวั่ โลกแต่พบมากในเขตร้อนและเขตุอบอุ่น โดยปกติลูกน้ำมักจะกินจำพวกแบคทีเรี ย โปรโต
ซัว ยีสต์ สาหร่ ายและพืชน้ำที่มีขนาดเล็ก ยุงตัวเมียกินน้ำหวานและเลือดเป็ นอาหาร ส่ วนตัวผูมกั จะกินน้ำหวานจาก
ดอกไม้ ยุงยังเป็ นแมลงที่เป็ นพาหะแพร่ เชื่อโรคอีกด้วย เช่น ไข้เลือดออก ยุงทัว่ โลกมีอยูป่ ระมาณ 3,450 ชนิด แต่พบ
ในประเทศไทย 412 ชนิด ที่คุน้ เคยกันดีคือ ยุงก้นปล่องและยุงลาย
1.2 โรคที่มียุงเป็ นพาหะ
1.โรคไข้เลือดออก
2.โรคชิกนุ กุนยา
3.ไข้มาลาเรี ย
4.โรคไข้ซิกา
5.โรคเท้าช้าง

4
ภาพที่1 ยุง
1.3 สถานทีท่ ี่ยุงชอบวางไข่
-บึงน้ำ น้ำเค็มน้ำจืดต่างก็เป็ นแหล่งเพาะพันธ์ของยุง ยิง่ ในฤดูร้อนจะมียงุ ชุกชุมมากเป็ นพิเศษ
-หนองน้ำ เป็ นแอ่งน้ำขังที่เกิดขึ้นเพียง ชัว่ คราวแค่เ ฉพาะฤดูฝ นแต่ม ีย งุ ที่
ชอบในการวางไช่บนหนองน้ำเช่นนี้
-คูน้ำริ มถนน เป็ นแหล่งเพาะพันธ์ยงุ ที่ อันตรายที่สุดเพราะนอกจากเป็ นน้ำ
นิ่งและสกปรกยังเป็ นแหล่งยอดนิยม
ของยุงอีกด้วย
-สระน้ำจืด เป็ นอีกแหล่งเพาะพันธ์ ของยุงเพราะในสระมีพืชน้ำอยูม่ าก
เช่น จอก แหน ซึ่ งพืชเหล่านี้สามารถคาย
ก๊าซออกซิ เจน จึงเอื้อต่อการเจริ ญเติมโตของตัวอ่อนได้ดี
- กระแสน้ำ ปกติยงุ จะวางไข่ในน้ำนิ่งแต่ไม่ใช่วา่ มันจะไม่สามารถต้านกระแสน้ำที่เคลื่อนไหวอยูต่ ลอดเวลา
เนื้อจากยังมีบางสายพันธ์ที่สามารถวางไข่ในกระแสน้ำได้
-แหล่งน้ำขัง เป็ นแหล่งที่ยงุ มาวางไข่มากที่สุด ไม่วา่ จะเป็ นยุงสายพันธ์ใดก็ชอบทั้งนั้น

ภาพที่2 น้ำขัง
1.4 ลักษณะคนที่ยุงชอบ
-ยุงชอบกัดคนที่มีเหงื่อออกมาก
-ยุงชอบกัดคนที่ตวั ร้อน
-ยุงชอบกัดคนที่หายใจ แรงเพราะลม หายใจที่
ปล่อยออกมาเป็ น คาร์บอนไดออกไซด์เป็ นตัว
ดึงดูดยุง 5
-ยุงชอบกัดเด็กมากกว่า ผูใ้ หญ่เพราะกลิ่นและ
ลักษณะผิวหนัง
-ยุงชอบกัดผูห้ ญิงมากกว่าผูช้ ายเพราะฮอร์โมนแตกต่างกัน
-ยุงชอบกัดคนใส่ เสื้ อผ้าสี เข้ม เช่น สี ด ำ กรมท่า แดง เขียว
2.เครื่องดักยุง
2.2 วิธีการทำงาน
หลักการทำงานของเครื่ องดักยุงไฟฟ้ าคือ การใช้หลอดไฟสี เป็ นตัวล่อและมีพดั ลมดูดให้ยงุ ตกลงไปในกล่องเก็บ
และจะขังยุงไว้ดา้ นล่างของเครื่ องและยุงจะตายไปเอง
ภาพที่3 เครื่องดักยุง
3.งานวิจัยที่เกีย่ วของ 6

ดร.อภิวฎั ธวัชสิ น หัวหน้าศูนย์พิษวิทยา สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์สาธารณสุ ข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เผย


ถึงที่มาการคิดประดิษฐ์เครื่ องดักทำลายลูกน้ำยุงลายโดยเริ่ มจากนำหินภูเขาไฟ ซี โอไลน์ ที่กลุ่มผูเ้ ลี้ยงปลาสวยงาม
นิยมใช้กนั เพราะมีคุณสมบัติช่วยย่อยตะกอนของเสี ยในตูป้ ลาได้เลยคิดจะนำหิ นภูเขามาใช้แทนทราย เพื่อจะแก้
ปัญหาน้ำขุ่น ฝ้ าขาวและกำจัดกลิ่นเน่าแต่หลังจากนำไปแจกจ่ายให้ชาวบ้านใช้ ชาวบ้านยังกลัวเหมือนเดิม เพราะยัง
ใช้สารทีมีฟอสเคลือบเหมือนเดิม ทีมงานวิจยั ต้องตั้งหลักคิดหาวิธีใหม่ในการกำจัดยุงลายเมื่อชาวบ้านกลัว ไม่กล้าใช้
หินภูเขาไฟเคลือบสารไปหย่อนในถังเก็บน้ำบ้าน ทีมวิจยั เลยคิดจะใช้วธิ ี เอาหินภูเขาไฟเคลือบสารไปใส่ ภาชนะอย่าง
อื่นแทนแต่มีปัญหาว่าจะใช้วธิ ีไหนถึงจะหลอกล่อให้ยงุ ลายมาวางไข่ในภาชนะนั้นได้อย่างไร บังเอิญระหว่างคิดหา
วิธีหลอกยุง หนึ่งในทีมงานวิจยั ได้ไปซื้ อหอยลายเพื่อมาทำกับข้าวกินในครอบครัว และได้แช่หอยลายวางทิ้งไว้ใน
ครัว เมื่อกลับเข้ามาทำกับข้าว สังเกตเห็นยุงลายบินมาตอมและเกาะหอยลายเป็ นจำนวนมาก เราจึงได้โจทย์ใหม่ คิดว่า
อาหารทะเลน่าจะเป็ นตัวล่อยุงลายได้ จึงทดลองนำกุง้ หอย ปู ปลา หลายๆชนิด นำมาแช่น ้ำและวางในถาดล่อ ปรากฏ
ว่ายุงสนใจหอยลายมากที่สุด รองลงมาคือกุง้ กุลาดำแต่เพื่อให้ชาวบ้านนำไปใช้ได้สะดวก จึงนำน้ำล้างหอยลายไป
สกัดแห้ง แล้วนำมาทาเคลือบภายในโถสี ด ำ ที่ออกแบบล่อให้ยงุ ลายมาวางไข่และใส่ น ้ำสะอาดลงไปในโถสี ด ำ ตาม
ด้วยใส่ หินภูเขาไฟเคลือบสารกำจัดลูกน้ำยุง
7

บทที่3
อุปกรณ์ และวิธีการดำเนินการ
การดำเนินการจัดทำโครงานในครั้งนี้ ผูจ้ ดั ทำได้ด ำเนินการ ดังนี้

วัสดุ-อุปกรณ์

1.พัดลม 1 ตัว

2.เครื่ องดักยุงแบบสำเร็ จรู ป 1 เครื่ อง

3.มุง้ ลวด 1 หลัง

4.กล่องลัง 1 ใบ

5.เสื้ อสี ด ำ 1 ตัว

6.ภาชนะในสารล่อยุง 3 ใบ

7.น้ำล้างหอยลาย 2 ถ้วยตวง

8.น้ำแช่ถุงเท้า 2 ถ้วยตวง

9.ยีสต์ 2 ช้อนชา

10.น้ำเปล่า 2 ถ้วยตวง

11.น้ำตาล 2 ช้อนชา

วิธีดำเนินการทดลอง
วิธีการทดลองแบ่งออกเป็ น 3 ตอนดันนี้

1.เปรี ยบเทียบสารล่อยุง 3 สาร ระหว่าง ยีสต์ น้ำล้างหอยลาย และน้ำแช่ถุงเท้า

2.เปรี ยบเทียบความมืด ระหว่างกล่องกับผ้าสี ด ำ

3.เปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพของตัวเครื่ อง ระหว่าง เครื่ องดักยุงที่ท ำเองและเครื่ องดักยุงแบบสำเร็ จรู ป

ตอนที่ 1 เปรียบทียบสารล่อยุง 3 สาร ระหว่าง ยีสต์ +น้ำตาล+น้ำเปล่ า น้ำล้ างหอยลาย และน้ำแช่ ถุงเท้ า

1. ผสมยีสต์กบั น้ำตาลและน้ำเปล่าเข้าด้วยกัน นำหอยลายมาล้าง และแช่ถุงเท้า


2. นำเครื่ องดักยุงแบบประดิษฐ์เองและเครื่ องดักยุงแบบสำเร็ จรู ปไปตั้งไว้ในที่ที่ตอ้ งการตั้ง
3. นำสารทั้ง 3 สาร มาวางไว้ดา้ นหลังของเครื่ องดักยุงทั้ง 2 แบบ (ตั้งไว้ทีละสาร)
4. เริ่ มจับเวลาตามเวลาที่ก ำหนดไว้
5. รอติดตามผลการทดลองและจดบันทึก

ตอนที่ 2 เปรียบเทียบความมืด ระหว่างกล่องกับผ้าสี ดำ

1. ประดิษฐ์กล่องมา 2 กล่อง
2. นำกล่อง 2 กล่องมาครอบเครื่ องดักยุงทั้งสองแบบ
3. นำน้ำล้างหอยลายมาวางไว้ดา้ นหลังเครื่ องดักยุงทั้งสองแบบ (สารที่ล่อยุงได้มากที่สุด)
4. เริ่ มจับเวลาตามที่ก ำหนดไว้
5. รอติดตามผลการทดลองและจดบันทึก
6. หลังจากจบการทดลองกล่อง เปลี่ยนจากกล่องเป็ นผ้าสี ด ำ
7. นำผ้าสี ด ำมาคลุมเครื่ องดักยุงทั้งสองแบบ
8. เริ่ มจับเวลาตามที่ก ำหนดไว้
9. รอติดตามผลการทดลองและจดบันทึก

9
ตอนที่ 3 เปรียบเทียบประสิทธิภาพของตัวเครื่อง ระหว่ าง เครื่องดักยุงที่ทำเองและเครื่องดักยุงแบบสำเร็จรู ป

1. เทน้ำล้างหอยลายลงในภาชนะที่เตรี ยมไว้
2. นำสารล่อยุง (น้ำล้างหอยลาย) มาตั้งไว้ดา้ นหลังเครื่ องดักยุงแบบประดิษฐ์เองกับเครื่ องดักยุงแบบสำเร็ จรู ป
3. เอากล่องมาครอบเครื่ องดักยุงทั้งสองแบบ
4. เริ่ มจับเวลาตามที่ก ำหนดไว้
5. รอติดตามผลการทดลองและจดบันทึก
10

บทที่4
ผลการทดลอง
จากการศึกษาและทดลองเรื่ องเครื่ องดักยุง ได้แบ่งการศึกษาออกเป็ น 3 ตอน ได้ผลการศึกษาดังนี้
ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลการทดลองเรื่อง การเปรียบเทียบประสิ ทธิภาพของสารล่ อยุง
ชนิดชองสารล่ อยุง จำนวนยุงที่ดกั ได้
(ตัว)
ยีสต์ 9
น้ำล้างหอยลาย 25
น้ำแช่ถุงเท้า 20
จากตารางพบว่า น้ำล้างหอยลายมีประสิ ทธิภาพในการดักยุงมากที่สุด
ตารางที่ 2 ตารางแสดงผลการทดลองเรื่อง การเปรียบเทียบความมืด ระหว่ างกล่ องกับผ้ าสี ดำ
วัสดุเพิม่ ความมืด จำนวนยุงที่ดกั ได้
(ตัว)
กล่องลัง 33
ผ้า 13
จากตารางพบว่า กล่องลังมีประสิ ทธิภาพในการดักยุงมากที่สุด
ตารางที่ 3 ตารางแสดงผลการทดลองเรื่อง ประสิทธิภาพของตัวเครื่อง ระหว่ าง เครื่องดักยุงที่ทำเองและเครื่องดักยุง
แบบสำเร็จรู ป
เครื่องดักยุง จำนวนยุงที่ดกั ได้
(ตัว)
ยีสต์ น้ำล้างหอยลาย น้ำแช่ถุงเท้า กล่องลัง ผ้า
เครื่ องดักยุงประดิษฐ์เอง 9 25 20 33 13
เครื่ องดักยุงสำเร็ จรู ป 8 17 16 24 6
จากตารางพบว่า เครื่ องดักยุงประดิษฐ์เองมีประสิ ทธิ ภาพมากกว่าเครื่ องดักยุงสำเร็ จรู ป
11

บทที่5
สรุปและอภิปรายผล
สรุ ปผลการทดลอง
จากการทดลองเรื่ อง เครื่ องดักยุง
มีวตั ถุประสงค์เพื่อเปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพของสารล่อยุง เพื่อเปรี ยบเทียบประสิ ทธิ ภาพความมืดระหว่างกล่องกับผ้า
สี ด ำ เพื่อเปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพระหว่างเครื่ องดักยุงแบบทำเองกับแบบสำเร็ จรู ปโดยพัฒนาเครื่ องดักยุงที่ท ำเอง
ก่อนนำไปทดสอบประสิ ทธิภาพกับเครื่ องดักยุงแบบสำเร็ จรู ป  พบว่า ในชนิดของสารล่อยุงทั้งหมด น้ำล้างหอยลายมี
ประสิ ทธิ ภาพในการล่อยุงมากที่สุดดักยุงได้25 ตัว ในการทดลองเรื่ องความมืด พบว่า กล่องลังมีประสิ ทธิ ภาพมากกว่า
ผ้าดักยุงได้33 ตัว ในการเปรี ยบเทียบเครื่ องดักยุงทั้งสองแบบโดยใช้สารล่อยุงที่มีประสิ ทธิ ภาพมากที่สุดและครอบ
ด้วยกล่องลังและผ้า พบว่า เครื่ องดักยุงที่ท ำเองมีประสิ ทธิ ภาพมากกว่าดักได้58 ตัว
อภิปรายผลการทดลอง
จากการทดลอง เรื่ อง เครื่ องดักยุง ได้แบ่งการทดลองออกเป็ น 3 ตอน ได้ผลการทดลอง ดังนี้

ตอนที่ 1 การเปรี ยบเทียบสารล่อยุงทั้ง 3 สาร ระหว่างยีสต์ น้ำล้างหอยลาย และน้ำแช่ถุงเท้า


พบว่า สารที่สามารถล่อยุงมาได้มากที่สุดคือ น้ำล้างหอยลาย โดยน้ำล้างหอยลายตั้งคู่กบั เครื่ องดักยุงแบบทำเองได้ 25
ตัว น้ำล้างหอยลายตั้งคู่กบั เครื่ องดักยุงแบบสำเร็ จรู ป ได้ 17 ตัว
ตอนที่ 2 การเปรี ยบเทียบความมืดระหว่างกล่องและผ้าสี ด ำ
พบว่า สิ่ งที่สามารถล่อยุงมาได้มากที่สุดคือ กล่อง โดยกล่องครอบเครื่ องดักยุงแบบทำเองได้ 33 ตัว กล่องครอบ
เครื่ องดักยุงแบบสำเร็ จรู ป ได้ 24 ตัว
ตอนที่ 3 การเปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพระหว่างเครื่ องดักยุงแบบทำเองและเครื่ องดักยุงแบบสำเร็ จรู ป
พบว่า เครื่ องดักยุงที่สามารถดักยุงมาได้มากที่สุดคือ เครื่ องดักยุงแบบทำเอง โดยเครื่ องดักยุงแบบทำเองได้ 58 ตัว
เครื่ องดักยุงแบบสำเร็ จรู ป ได้ 41 ตัว 12
ข้ อเสนอแนะ
1.ทำให้รูปร่ างเล็กกระทัดรัด พกพาได้สะดวก
2.สารล่อยุงไม่ควรมีกลิ่นแรงเกินไป
3.ทำให้เครื่ องดักยุงทนได้ทุกสภาพอากาศ

ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับจากโครงงาน


1.ช่วยอำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิต
2.ช่วยลดความเสี่ ยงของการเป็ นไข้เลือดออกหรื อโรคต่างๆที่มีพาหะเป็ นยุง
3.ช่วยเพิ่มความปลอดภัยโดยไม่ตอ้ งใช้สารเคมีในการดักยุง
4.ทำให้รู้วิธีป้องกันตัวจากยุงและลดการเพาะพันธ์ของยุง
13
บรรณานุกรม
1. ยุงชอบกัดคนประเภทไหน - :: ศูนย์ขอ้ มูลโรคติดเชื้อและพาหะนำโรค :: http://webdb.dmsc.moph.go.th
2.
6 แหล่งยอดนิยม ที่บรรดายุงติดใจ - M FACTORS https://www.mfactors.co.th
3.
น้ำล้างหอยลาย ล่อกำจัดยุงลาย – ไทยรัฐออนไลน์ https://www.thairath.co.th
4.
รู้จกั โรคร้ายที่มี “ยุง” เป็ นพาหะนำโรค - คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล ... https://www.rama.mahidol.ac.th
5. แค่เสี ยบปลัก๊ แล้วกดปุ่ มยุงตายสนิท https://www.lnwsunshiro.com
14
ภาคผนวก
15
16

You might also like