You are on page 1of 10

เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์

1. ชื่อโครงงาน
กระเป๋ ากระจูดแบบสะพายข้าง

2. ผู้จัดทำโครงงาน
นางสาวณัฐวดี แซ่เหย่า
นางสาวสุ กญั ญา ทองทวี
นางสาวสุ ณิสา จันทรสวัสดิ์
นางสาวอภิญญา บุญสง

3. ชื่ออาจารย์ ที่ปรึกษาโครงงาน
นายเอกศาสน์ รอดเนียม

4. ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
“ กระจูด ”  เป็ นพืชพวกเดียวกับ  “ กก ” มีเหง้าอยูใ่ ต้ดิน มักจะขึ้นเป็ นกอใหญ่ในพื้นที่ป่าพรุ  พื้นที่จงั หวัด
สุ ราษฎร์ธานี มีตน้ กระจูด หรื อจูด ขึ้นตามธรรมชาติในทุ่งกระจูดกว่า 600 ไร่ ชาวบ้านห้วยลึกเริ่ มรวมกลุ่ม
กันสานกระจูด โดยได้รับการสนับสนุนจากหลายหน่วยงาน รวมทั้งสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอพุนพิน ได้
ส่ งเสริ มให้ต้ งั กลุ่ม นำงานตัดเย็บเข้ามาผสมผสานกับงานจักสาน จนมีผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ที่ตรงกับความ
ต้องการของตลาด ไม่วา่ จะเป็ นเสื่ อหรื อเครื่ องใช้ต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ซึ่ งถือเป็ นการนำภูมิปัญญา
ท้องถิ่นที่มีมาตั้งแต่บรรพบุรุษ มาต่อยอดในการสร้างรายได้ ในขณะเดียวกันกลับเป็ นการช่วยสื บสาน
ภูมิปัญญาดั้งเดิมไม่ให้สูญหายไป ภายใต้ “ วิสาหกิจชุมชนจักสานกระจูด บ้านห้วยลึก ”
                         ข้าพเจ้าจึงมีแนวคิดที่จะสื บสานภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ ในการศึกษาค้นคว้าหาความรู ้เกี่ยว
กับความเป็ นมา การปลูกพืชกระจูด และวิธีการสาน “ สาดจูด ” ในหัวข้อโครงงานที่ได้เลือกค้นคว้าหาความ
รู ้และปฏิบตั ิ  ทั้งยังได้ทราบว่าผลิตภัณฑ์กระจูด เป็ นผลิตภัณฑ์หตั ถกรรมพื้นบ้านประเภทหนึ่งของภาคใต้
รู ปแบบผลิตภัณฑ์ที่รู้จกั ทัว่ ไปคือ “ เสื่ อกระจูด ” หรื อ  “ เสื่ อจูด ” ภาษาพื้นเมืองภาคใต้เรี ยก “ สาดจูด ”  การ
สานเสื่ อจูดถือว่าเป็ นหน้าที่ของผูห้ ญิงสื บทอดจากบรรพบุรุษมาแต่ครั้งอดีตเพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน  นอกจา
กนั้นยังสานเป็ นผลิตภัณฑ์กระสอบสำหรับบรรจุสิ่งของ เช่น ข้าวสาร ข้าวเปลือก น้ำตาล เกลือ  ฯลฯ  เสื่ อ
จูดที่มีความสวยงาม คือ เสื่ อจูดประเภทลวดลายสี สนั ต่าง ๆ อันเป็ นเอกลักษณ์ของเสื่ อภาคใต้ซ่ ึ งได้มีการนุ
รักษ์และส่ งเสริ มให้มีการผลิตมากขึ้น เพื่อสื บทอดงานศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านและเป็ นอาชีพเสริ ม ทำราย
ได้แก่ครอบครัวราษฎรในชนบทอีกด้วย

วัตถุประสงค์ ของการทำโครงงาน
1.  เพื่อเป็ นการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ให้คงอยู่
2. เพื่อให้ทราบถึงวิธีการปลูกพืชกระจูดให้ได้ผลผลิตที่ดี
3. เพื่อให้ได้ทราบถึงประโยชน์ในการใช้สอยของพืชกระจูด
4. เพื่อให้ได้ทราบถึงวิธีการสานกระเป๋ ากระจูดได้อย่างถูกต้อง
5. เพื่อหาคุณภาพของกระเป๋ ากระจูดสะพายข้าง

สมมติฐานของการศึกษา
คุณภาพของกระเป๋ ากระจูดสะพายข้างอยูใ่ นระดับมาก

ขอบเขตของการทำโครงงาน
กระเป๋ ากระจูดสะพายข้างทำจาก กระจูด รู ปแบบ จัดสานให้สวยงาม ใช้สำหรับ สะพายใส่ ของไปเที่ยว
ประชากร และกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา ไดแก่ นักเรี ยน รวม 30 คน

ตัวแปรที่ศึกษา
คุณภาพของกระเป๋ ากระจูดสะพายข้าง

วิธีการดำเนิน
ประชากร กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา
ศึกษาคุณภาพของกระเป๋ ากระจูดสะพายข้างโดยแบบประเมินคุณภาพของกระเป๋ ากระจูดสะพายข้างจาก
กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนักเรี ยน 30 คน

การสร้ างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้ อมูล


แบบกระเป๋ ากระจูดสะพายข้างและแบบประเมินคุณภาพของกระเป๋ ากระจูดแบบสะพายข้าง โดยประเด็น
เกี่ยวกับคุณภาพของกระเป๋ ากระจูดสะพายข้าง เป็ นมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating scale) แบ่งเป็ น 5 ระดับ
ในแต่ละระดับมีความหมายและมีการกำหนดเกณฑ์ให้คะแนนดังนี้
มีคุณภาพน้อยที่สุด 1 คะแนน
มีคุณภาพน้อย 2 คะแนน
มีคุณภาพปานกลาง 3 คะแนน
มีคุณภาพมาก 4 คะแนน
มีคุณภาพมากสุ ด 5 คะแนน
การรวบรวมข้ อมูล
1. ออกแบบกระเป๋ ากระจูดแบบสะพายข้าง วันที่ 29 มิถุนายน 2564
2. จัดสานกระเป๋ ากระจูดแบบสะพายข้าง วันที่ 13 กรกฎาคม 2564
วิธีทำ
1.  เป็ นขั้นตอนการเตรี ยมวัตถุดิบ คือ ต้นกระจูดขนาดต่าง ๆ ซึ่ งชาวบ้านจะเตรี ยมที่ทุ่งกระจูด การก
อบนิย มกอบที่ล ะ 2.3 ต้น รับ หนึ่ง จะกอบประมาณ 10-15 กำฝ่ า มัด กระจูด ที่ม ดั มาจากแหล่ง กระจูด
เรี ยก 1 กำฝ่ า ใหญ่ขนาดเท่าต้นตาลโตนด 1 กำฝ่ า นำมาแยกเป็ น กำฝื นได้ประมาณ 4-5 กำฝื น   ( 1 กำฝื น
สานเพื่อผูน้ งั่ ใส่  1 ผืน)
2.  การคลุกโคนต้นกระจูด เพื่อเมความเหนียวให้ทบั เส้นใย ชาวบ้านจะใช้น ้ำโคลนขาว คลุกกระจูด
ให้เปี ยกทัว่ ก่อนนำไปตากแดด ช่วยให้กระจูดเข็งตัว ไม่แห้งกรอบ เพียงปิ ดจบใช้งานไม่ได้
     - นำน้ำมาผสมกับดินเหนียวขาวจะได้นำโคลนสี ขาว
     - การผสมน้ำกับโคลน ต้องไม่เหลวหรื อข้นจนเกินไป ทดสอบโดยจุ่มมือลงไปให้น ้ำโคลนเกาะนิ้วมือ
3. การนำไปผึ่งแดด
     - นำไปตากแดด แบบกระจายเรี ยงเส้น เพื่อกระจุดจะได้แห้งเร็ วและทัว่ ลำต้น
     - ถ้าแดดจัดตากประมาณ 2-3 วัน ให้สงั เกตที่ทบั กระจูดตรงโคนต้น ถ้าทับแยกออกแสดงว่าต้นกระจูดนั้น
แห่งแล้วให้ทำการถอดทับกระจูดออก
4. คัดเลือกต้นกระจูด แยกขนาดเล็กใหญ่มดั ไว้เป็ นกำ
5. นำกระจูดไปรี ดให้แบบ ซึ่ งการรี ดมี 2 วิธี
     - ใช้เครื่ องจักรรี ด
     - ใช้ลูกกลิ้งรี ด ลูกกลิ้งทำจากวัสดุทรงกลม ที่มีน ้ำหนักพอเหมาะ เช่น ท่อซิ เมนต์ ท่อเหล็กกลม
   วิธีการรี ด นำกระจูดมัดเป็ นกำพอประมาณ วางบนพื้นราบใช้ลูกกลิ้งทับไปทับมาจนแบบเรี ยบตามต้องการ
        ข้อแตกต่างระหว่างเครื่ องรัดกับลูกกลิ้ง
การใช้ลูกกลิ้งรี ดต้นกระจูดจะนิ่มเหมือนตำด้วยสาก จักสานง่าย ส่ วนการใช้เครื่ องรี ด ต้นจะแบบเรี ย บ
เหมือนกันแต่ไม่นิ่ม ทำให้จกั สานยาก
6. การย่อมสี (สี เคมี)
      - แบ่งกระจูดออกเป็ นมัด มัดละ 20-25 เส้น แล้วนำสายยางมัดที่ปลายกระจูดเพื่อไม่ให้เส้นกระจายออก
เวลานำไปย้อมสี
      - นำกระจูดไปจุ่มน้ำให้ชุ่ม
      - นำไปย้อมสี ตามที่ตอ้ งการ ในถังต้มสี ซึ่ งนี้ เดือดได้ที่แล้วประมาณ 15-20 นาที
      - นำกระจูดขึ้นจากถังสี แล้วนำไปล้างน้ำสะอาด เพื่อล้างสี ส่วนเกินออก
      - นำกระจูดไปตากที่ราว ผึ่งลมให้แห้ง
      - นำเส้นกระจูดที่แห้งแล้วมัดรวมกันเพื่อนำไปรี ดใหม่อีกครั้งให้เส้นใยนิ่มและเรี ยบ      
       7. การจัดสาน
ใช้สถานที่ภายในบ้าน ชานบ้านหรื อลานบ้านที่มีพื้นที่เรี ยบ การสานนำต้นกระจูดที่เตรี ยมไว้มาจักสานเป็ น
ลวดลายต่าง ๆ ตามความต้องการของผูส้ าน และตามความต้องการของลูกค้า โดยปกติสายพื ้นฐาน คือ สาย
สอง ถ้าสานเสื่ อจะเริ่ มต้นจากริ ม คือ ตั้งต้นสายจากปลายด้านใดด้านหนึ่งไปจนสุ ดปลายอีก า้ นหนึ่ง เช่น ถ้า
เป็ นภาชนะ เช่น กระบุง จะเริ่ มต้นจากกึ่งกลางงาน มิฉะนั้นจะทำให้เสี ยรู ปได้ เพราะขนาดต้นกระจูด   ส่ วน
โคนจะใหญ่กว่าส่ วนปลาย การสานเสื่ อจะมีลายต่าง ๆ เช่น ลายสาม ลายสี่ ลายดอกจันทร์ ลายดอกพิกลุ ลาย
ลูกแก้ว ลายดอกไม้ ลายที่นิยมมากที่สุดคือ ลายสอง ผลิตภัณฑ์ที่สามารถจักสานได้หลากหลาย เช่น เสื่ อ
หมอน กระเป๋ า กระบุง ที่ร องแก้ว ที่ร องจาน ผูท้ ี่จ กั สานในกลุ่ม ส่ ว นใหญ่ม ีอ ายุร ะหว่า ง 35 ปี ขึ้น ไป
hgg8. การตกแต่งส่ วนประกอบอื่น ๆ
 งานสานเสื่ อกระจูดเป็ นงานเกือบจะพูดได้วา่ ทำเสร็ จเรี ยบร้อยในคราวเดียว มีการตกแต่งต่อเติมเพียงเล็ก
น้อย คือ การเก็บริ มหรื อพับริ ม และการ ซึ่ งเหมาะสำหรับใช้เป็ นเสื่ อผูน้ งั่ แต่หากต้องการนำเสื่ อที่สานเสร็ จ
แล้ว(แต่ไม่ตอ้ งเก็บริ ม ) ไปตัดเย็บเป็ นผลิตภัณฑ์ใหม่ ,หรื อกระเป๋ าที่สานเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว (แต่ยงั ไม่สามารถ
ใช้งานได้ เรี ยกว่า กระเป๋ าตัวดิบ) ซึ่ งต้องมีอุปกรณ์ประกอบเพิ่มเติม เพื่อให้สามารถใช้งานได้ คงทน และ
เพื่อความสวยงามให้กบั ผลิตภัณฑ์
3. หาคุณภาพกระเป๋ ากระจูด วันที่ 17 กรกฎาคม 2564
4. วิเคราะห์ขอ้ มูลวันที่ 21 กรกฎาคม 2564
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
สถิติใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลค่าเฉลีย่ และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทำการวิเคราะห์คุณภาพของกระเป๋ า
กระจูดสะพายข้าง โดยหาค่าเฉลี่ย (X) และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง (..DS) แล้วนำค่าฉลี่ยไป
แปลความหมายดังนี้
ค่ าเฉลีย่ ระดับคุณภาพ
4.51 - 5.00 มากที่สุด
3.51 – 4.50 มาก
2.51 – 3.50 ปานกลาง
1.51 – 2.50 น้อย
1.00 – 1.50 น้อยที่สุด

ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ


1.  เพื่อเป็ นการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ให้คงอยู่
2. เพื่อให้ทราบถึงวิธีการปลูกพืชกระจูดให้ได้ผลผลิตที่ดี
3. เพื่อให้ได้ทราบถึงประโยชน์ในการใช้สอยของพืชกระจูด
4. เพื่อให้ได้ทราบถึงวิธีการสานกระเป๋ ากระจูดได้อย่างถูกต้อง
5. เพื่อหาคุณภาพของกระเป๋ ากระจูดสะพายข้าง

แผนการกำหนดเวลาปฏิบัติงาน
1. คิดเลือกหัวข้อ วันที่ 29 มิถุนายน 2564
2. เรี ยบเรี ยงเอกสารที่เกี่ยวข้องกับกระเป๋ ากระจูดสะพายข้าง วันที่ 6-23 กรกฎาคม 2564
3. จัดทำเค้าโครงพร้อมแบบกระเป๋ ากระจูดสะพายข้างและแบบประเมินคุณภาพของกระเป๋ ากระจูดสะพาย
ข้าง/นำเสนอ
4. ลงมือปฏิบตั ิงาน วันที่ 13 กรกฎาคม 2564
5. เขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ วันที่ 21-24 กรกฎาคม 2564
6. นำเสนอผลงาน วันที่
เอกสารที่เกีย่ วของ
1. ความหมายของกระเป๋ ากระจูด
กระจูด หรื อ จูด เป็ นพืชที่มีคุณสมบัติที่มีความเหนียว ยืดหยุน่ ตัวสู ง มีความมันวาว ทนทาน ไม่ขาดง่ายแตก
ต่างจาก วัสดุอื่น เมื่อนำมาสานเป็ นสิ่ งของเครื่ องใช้ จึงทำให้ผลิตภัณฑ์ มีคุณสมบัติที่โดดเด่น มีอายุการใช้
งานที่ยาวนาน พร้อมด้วย มีรูปลักษณ์ที่สวยสะดุดตา ยิง่ หากนำมาย้อมสี เส้นกระจูดก็ยงิ่ เพิ่มมิติให้ภาพ
ลักษณ์ของงานสานกระจูดมีความทันสมัยมาก ยิง่ ขึ้น
กระจูด หรื อ จูด (ชื่อวิทยาศาสตร์ : Lepironia articalata) เป็ นพันธุ์ไม้จำพวก "กก" (Sedge) ลักษณะ
ลำต้นกลมสี เขียวอ่อน ดินสอดำ สูงประมาณ 1 - 2 เมตร ออกดอกเป็ นกระจุกแน่นคล้ายดอกกระเทียมที่ขา้ ง
ลำต้นใกล้ยอดกระจุกหนึ่ง แต่มีช่อดอกปลายลำต้นอีกหนึ่งช่อซึ่ งมีใบเล็กประกอบช่อด้วย กระจูดชอบขึ้นใน
พื้นที่น ้ำขังซึ่ งเรี ยกว่าโพระหรื อพรุ มีถิ่นกำเนิดจากทางเกาะมาดากัสการ์ มอริ เซี ยส ลังกา สุ มาตรา แหลม
มาลายู และหมู่เกาะต่าง ๆ ในแหลมมาลายู อินโดจีนตอนริ มฝั่งทะเล ฮ่องกง บอร์เนียว ตลอดถึงออสเตรเลีย
ริ มฝั่งตะวันออก
สรุ ปได้วา่ กระเป๋ ากระจูดสะพายข้าง
คือ กระจูด เป็ นพืชกึ่งบก กึ่งน้ำ ขึ้นอยูต่ ามท้องนา มีลำต้นเล็ก กลม สี เขียวและมีความแข็งทนทาน ซึ่ ง
จังหวัดพัทลุงเป็ นจังหวัดที่มีตน้ กระจูดเป็ นจำนวนมาก และชาวบ้านได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ ว่าสามารถนำ
มาแปรรู ปสร้างรายได้แก่ชุมชนได้ จึงได้เกิดการคิดค้นการทำกระเป๋ าจากกระจูดสะพายข้าง เพื่อเป็ นสิ นค้า
OTOP ขึ้นมา

2. ประวัติของกระเป๋ ากระจูด
กระจูดพืชพื้นถิ่นของชุมชน ในอดีตชาวบ้านนิยมนำมาสานเป็ นของใช้ต่างๆ เช่น เสื่ อ ที่ใส่ ขา้ วสาร
หมวก ต่อมาได้เพิ่มมูลค่าของกระจูดโดยการพัฒนาเป็ นผลิตภัณฑ์ในรู ปแบบต่างๆ เป็ นกระเป๋ ากระจูด เพื่อ
ให้เข้ากับยุคสมัยในปัจจุบนั   ส่ วนใหญ่จะเน้นไปที่กระเป๋ า ในรู ปแบบต่างๆ ตามสมัยนิยม ซึ่ งได้รับความ
นิยม และการตอบรับจากผูซ้ ้ื อ สร้างรายได้ให้กบั กลุ่มผูผ้ ลิตในชุมชน

3. ชนิด/ประเภทของกระเป๋ ากระจูด
1. ประเภทกระเป๋ ากระจูดสะพายข้างตกแต่งดอกไม้
2. ประเภทกระเป๋ ากระจูดสะพายข้างธรรมดา

4. ข้ อดี/ประโยชน์ ของกระเป๋ ากระจูด


1. ช่วยลดภาวะโลกร้อน
2. ช่วยนำของพื้นเมืองมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
3. ใช้วตั ถุดิบจากธรรมชาติให้เป็ นประโยชน์
4. นำของพื้นเมืองมาประยุกต์ให้ทนั สมัย
5. กระเป๋ าขูดมีความแข็งแรงทนทาน
-ทำความสะอาดง่าย
-มีดีซายหรากหลาบ
-มีสีสนั เป็ นเอกลักษณ์

5. ลาย/รู ปแบบของกระเป๋ ากระจูด


ลวดลายการสานกระจูด แบ่งเป็ นลายดั้งเดิมและ ลายประยุกต์ ลายดั้งเดิม ได้แก่ ลายขัดหนึ่ง ลายขัดสอง และ
ลายขัดสาม โดยถือเป็ นลายแม่บทซึ่ งหากเพิ่งหัดทำ จะต้องหัดจากลายพื้นฐานนี้ก่อนเพื่อเพิ่มทักษะ และ
ความ ชำนาญ และสามารถปรับประยุกต์ ไปเป็ นลายในขั้นที่สูง ขึ้นอีก เช่น ลายตอกคู่ ลายขัดตาหมากรุ ก
ลายดอกพิกลุ เป็ นต้น ลายขัดสอง หรื อลายสอง เป็ นลายที่นิยมนำมาทอ เป็ นลายเสื่ อมากที่สุด เพราะได้ความ
แข็งแรงทนทานของผืน เสื่ อ และสวยงามกว่า สานได้ง่าย สามารถดัดแปลงเป็ นลายอื่นๆ ได้อีกหลายๆ ลาย
เช่น ลายลูกแก้ว ลายดาวล้อม เดือน ลายดาวกระจาย เป็ นต้น ซึ่ งลวดลายทั้งสามนี้ถือเป็ น ลายโบราณที่ชุมชน
ทางภาคใต้ร่วมกันอนุรักษ์ลวดลายของ บรรพบุรุษนี้ ให้คงอยู่ ส่ วนลายที่มีการพัฒนา หรื อลายประยุกต์ เพื่อ
ปรับ เปลี่ยนไปตามความนิยมหรื อเป็ นไปตามที่มีผใู ้ ห้ความนิยม เพื่อขยายตลาด เช่น ลายตัวแอล ลายสก๊อต
ลายลูกศรเล็ก ลายลูกศรใหญ่ ลายฟันปลา ลายจานรอง เป็ นต้น

บรรณานุกรม
สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพัทลุง.2564.องค์ ความรู้ ทางวัฒนธรรม.(ออนไลน์วนั ที่ 13 กรกฎาคม 2564) เข้า
ถึงได้
จาก https://www.mculture.go.th/phatthalung/ewt_news.php?nid
=2134&filename=King
ศูนย์ส่งเสริ มศิลปาชีพระหว่างประเทศ.2564.ประวัติการทำกระเป๋ ากระจูดสะพายข้ าง.(ออนไลน์วนั ที่ 13
กรกฎาคม 2564) เข้าถึงได้
จาก https://www.sacict.or.th/uploads/items/attachments/b555da9b21
a5a45577bb2bfb58bcfea0/_783b24b5d043b02fe6bb8dd757088238.pdf

แบบกระเป๋ ากระจูด
แบบประเมินคุณภาพกระเป๋ ากระจูดแบบสะพายข้ าง

1.สถานภาพผู้ประกอบ

ครู นักเรี ยน ผูป้ กครอง

ระดับคุณภาพ
น้ อย

มาก
น้ อยที่สุด

ปานกลาง

มากที่สุด

รายการประเมินคุณภาพ

1.มีรูปทรงสวยงาม

2.มีความแข็งแรง/ทนทาน

3.สามารถสะพายได้จริ ง
4.รู ปทรงของกระเป๋ ามีความทันสมัย

5.สามมารถตกแต่งดอกไม้ที่กระเป๋ าได้

ข้อเสนอแนะ
................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

You might also like