You are on page 1of 20

1

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สาหรับครูประถมศึกษา

ดร.จิตตมาส สุขแสวง
กลุ่มวิชาหลักสูตรและการสอน
คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

นิยามของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็ นทักษะที่สาคัญประการหนึ่งในการพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความรู ้


ความเข้าใจ และมีความชานาญ เพื่ อให้ส ามารถแสวงหาความรู ้ หรื อความเข้าใจปรากฏการณ์ ต่างๆ ด้วย
ตนเอง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นอกจากจะเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญในการศึกษาค้นคว้าทาง
วิท ยาศาสตร์ แ ล้ว ผูเ้ รี ย นยัง สามารถน าทัก ษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตร์ ไ ปใช้ใ นการแก้ปั ญ หาใน
ชีวิตประจาวันได้ ทั้งนี้ มีนกั การศึกษาได้ให้นิยามของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อย่างหลากหลาย
(ภพ เลาหไพบูลย์, 2540; วรรณทิพา รอดแรงค้า และ จิต นวนแก้ว, 2542; พิมพันธ์ เดชะคุปต์, 2545; สถาบัน
ส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2545; Enger and Yager, 2001) ซึ่งสามารถสรุ ปได้ว่า ทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์คือ ทักษะที่แสดงออกถึงความชานาญ และความคล่องแคล่วในการคิดและการ
ปฏิบตั ิทางวิทยาศาสตร์ เพื่อใช้ในการศึกษาค้นคว้า สื บเสาะหาความรู ้ หรื อแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น

ความสาคัญของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีความสาคัญต่อการจัดการเรี ยนการสอนวิทยาศาสตร์ เพราะ


เป็ นกระบวนการที่สามารถนาไปใช้ในการค้นหาความรู ้ หรื แก้ปัญหาต่างๆ ได้ ในการจัดการเรี ยนการสอน
วิทยาศาสตร์ ครู ผสู ้ อนจึงควรเน้นให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ให้เป็ น และมีทกั ษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความรู ้ดว้ ยตนเอง (วรรณทิพา รอดแรงค้า, 2540; สถาบันส่ งเสริ มการสอน
วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี, 2545) ดัง ที่ ห ลัก สู ต รที่ ชื่ อ ว่ า Science – A Process Approach: SAPA (The
American Association for The Advancement of Science, 1971 อ้างใน จิตตมาส สุ ขแสวง, 2555) ได้มุ่งเน้น
ทัก ษะกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ ที่ นัก วิท ยาศาสตร์ ใ ช้ ใ นการแก้ปั ญ หา โดยมี เป้ าหมายเพื่ อ พัฒ นา
ความสามารถของผูเ้ รี ยนในการใช้ความรู ้ทางวิทยาศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาต่างๆ ตามวิธีการที่นกั วิทยาศาสตร์
ได้ปฏิบตั ิ เช่น การสังเกต การจาแนก การตั้งสมมติฐาน การทดลอง เป็ นต้น และเพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นา
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทกั ษะต่างๆ ตลอดจนสามารถใช้ทกั ษะเหล่านั้นในการกาหนดปั ญหา
และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นดังนั้น เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้รับการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ครู ผสู ้ อน
2

ควรจัดการเรี ยนรู ้โดยการตั้งคาถามหรื อปั ญหาทางวิทยาศาสตร์ กบั ผูเ้ รี ยนเพื่อกระตุน้ ให้ผูเ้ รี ยนเกิดคาถาม
และความสงสั ย จากนั้น ครู อ าจจัด ประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู ้ ที่ เกี่ ย วข้อ งกับ การทดลอง หรื อ การส ารวจ
ตรวจสอบให้กับผูเ้ รี ยน เพื่อให้ผูเ้ รี ยนได้มีส่วนร่ วมในลงมือปฏิ บตั ิ โดยใช้สื่อการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ รวมทั้งใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการแสวงหาความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ และให้ผูเ้ รี ยนทางานเป็ นกลุ่มเพื่ อ
วางแผนและสารวจตรวจสอบเกี่ยวกับปั ญหาทางวิทยาศาสตร์ สาหรับการปฏิบตั ิการทดลองนั้น ครู อาจ
สาธิ ตการทดลอง ตั้งคาถาม ตลอดจนให้คาแนะนากับผูเ้ รี ยนในการใช้สื่อการเรี ยนรู ้ การปฏิบตั ิการทดลอง
การบันทึกข้อมูล และการตีความหมายข้อมูล เป็ นต้น

ประเภทของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 13 ทักษะ ซึ่งแบ่งเป็ น 2 กระบวนการ (American


Association for the Advancement of Science, 1974) ดังนี้

1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้นั พื้นฐาน ประกอบด้วย 8 ทักษะ ได้แก่


1) ทักษะการสังเกต (Observing)
2) ทักษะการวัด (Measuring)
3) ทักษะการจาแนก (Classifying)
4) ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา
(Using Space/Relationship)
5) ทักษะการใช้ตวั เลข (Using Number)
6) ทักษะการจัดกระทาและสื่ อความหมายข้อมูล (Communication)
7) ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring)
8) ทักษะการพยากรณ์ (Predicting)

2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้นั ผสม ประกอบด้วย 5 ทักษะ ได้แก่


1) ทักษะการตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypothesis)
2) ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร (Identifying and Controlling Variables)
3) ทักษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบตั ิการ (Defining Operationally)
4) ทักษะการทดลอง (Experimenting)
5) ทักษะการตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุ ป (Interpreting data and make
conclusion)
3

สาหรับนิ ยามของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แต่ละทักษะ และพฤติกรรมของผูเ้ รี ยนที่บ่งชี้


การเกิดทักษะต่างๆ แสดงดังตารางที่ 2.3
4

ตารางที่ 2.3 นิยามของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และพฤติกรรมของผูเ้ รี ยนที่บ่งชี้การเกิดทักษะแต่ละทักษะ


ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นิยาม พฤติกรรมของผู้เรียนที่บ่งชี้การเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะขั้นพื้นฐาน การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรื อหลาย - บ่งชี้และบรรยายลักษณะของวัตถุดว้ ยประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรื อหลายอย่าง
1) ทักษะการสังเกต อย่างรวมกันได้แก่ตาหูจมูกลิ้นผิวกายเข้าไปสัมผัส - บรรยายสมบัติเชิงปริ มาณของวัตถุ โดยการกะประมาณพร้อมอ้างอิงหน่วยมาตรฐาน
โดยตรงกับวัตถุหรื อเหตุการณ์เพื่อค้นหาข้อมูลซึ่งเป็ น - บรรยายการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งที่สังเกตได้
รายละเอียดของสิ่ งนั้นโดยไม่ใส่ความเห็นของผูส้ ังเกต
2) ทักษะการวัด การเลือกและใช้เครื่ องมือเพื่อวัดหาปริ มาณของสิ่ ง - เลือกใช้เครื่ องมือได้อย่างเหมาะสมกับสิ่ งที่ตอ้ งการวัด
ต่างๆออกมาเป็ นตัวเลขที่แน่นอนได้อย่างเหมาะสมกับ - บอกเหตุผลในการเลือกใช้เครื่ องมือวัดได้
สิ่ งที่ตอ้ งการวัด - บอกวิธีการใช้เครื่ องมือ และใช้เครื่ องมือได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
- อ่านค่าที่ได้จากการวัดได้ถูกต้อง
- ระบุหน่วยของตัวเลขที่ได้จากการวัดได้
3) ทักษะการจาแนก การแบ่งพวกหรื อเรี ยงลาดับวัตถุหรื อสิ่ งที่มีอยูใ่ น - เรี ยงลาดับหรื อแบ่งพวกสิ่ งต่างๆ จากเกณฑ์ที่ผอู ้ ื่นกาหนดได้
ปรากฏการณ์โดยมีเกณฑ์ซ่ ึงอาจใช้ความเหมือนความ - เรี ยงลาดับหรื อแบ่งพวกสิ่ งต่างๆ โดยใช้เกณฑ์ที่ตนเองกาหนดได้
แตกต่างหรื อความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่งเป็ นเกณฑ์ - บอกเกณฑ์ที่ผอู ้ ื่นใช้จาแนกสิ่ งของที่ศึกษาได้
ก็ได้
4) ทั ก ษะการหาความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า ง - การหาความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งมิ ติ ข องวัต ถุ หรื อ - บ่งชี้รูป 2 มิติ และรู ปทรง 3 มิติ ที่กาหนดให้ได้
สเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา ความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่ งที่ อยู่ของวัตถุหนึ่ งกับ - วาดรู ป 2 มิติจากวัตถุ หรื อ 2 มิติที่กาหนดให้ได้
อีกวัตถุหนึ่ง - บอกชื่อรู ปทรงของวัตถุทางเรขาคณิ ตได้
- การหาความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนตาแหน่งหรื อ - บอกความสัมพันธ์ระหว่างรู ป 2 มิติ และ 3 มิติได้
มิติของวัตถุกบั เวลาที่เปลี่ยนไป - บอกตาแหน่งและทิศทางของวัตถุโดยใช้ตนเอง หรื อวัตถุอื่นเป็ นเกณฑ์
- บอกความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนตาแหน่ง ขนาด หรื อปริ มาณของวัตถุกบั เวลาได้
5

ตารางที่ 2.3 (ต่อ)

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นิยาม พฤติกรรมของผู้เรียนที่บ่งชี้การเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์


5) ทักษะการใช้ตวั เลข การนับ จ านวนของวัต ถุ และการน าตัวเลขที่ - นับและใช้ตวั เลขแสดงจานวนของสิ่ งที่นบั ได้ถูกต้อง
แสดงจานวนที่นบั ได้มาคิดคานวณโดยการบวก - บอกและแสดงวิธีคิดคานวณได้ถูกต้อง
ลบ คูณ หาร หรื อ หาค่าเฉลี่ย - บอกและแสดงวิธีการหาค่าเฉลี่ยได้ถูกต้อง
6) ทักษะการจัดกระทาและสื่ อความหมายข้อมูล การนาข้อมูลที่ได้จากการสังเกตการวัดการ - จัดกระทาข้อมูลและเลือกรู ปแบบของการนาเสนอเพื่อนาเสนอข้อมูลให้อยูใ่ นรู ปใหม่
ทดลองและจากแหล่งอื่นๆมาจัดกระทาเสี ย ที่ทาให้ผอู ้ ื่นเข้าใจได้ดีข้ นึ
ใหม่โดยการหาความถี่ เรี ยงลาดับ หรื อจัดแยก - บอกเหตุผลในการเลือกรู ปแบบของการนาเสนอได้
ประเภท และน าเสน อเพื่ อ ให้ ผู ้ อื่ น เข้ า ใจ
ความหมายได้ดีข้ นึ
7) ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล การเพิ่มความคิดเห็นให้กบั ข้อมูลที่ได้จากการ - อธิบายหรื อสรุ ป โดยเพิ่มความคิดเห็นกับข้อมูลที่ได้จากการสังเกต โดยใช้ความรู ้หรื อ
สังเกตอย่างมีเหตุผลโดยอาศัยความรู ้และ ประสบการณ์เดิม
ประสบการณ์เดิมมาช่วย - แยกแยะความแตกต่างระหว่างการลงความคิดเห็นจากข้อมูล และข้อมูลจากการสังเกต
ได้
- อธิ บายและแสดงให้เห็นวิธีการสังเกตเพิ่มเติม เพื่อทดสอบการลงความคิดเห็นจาก
ข้อมูลที่ได้กระทาไปแล้ว
8) ทักษะการพยากรณ์ การคาดคะเนคาตอบล่วงหน้าก่อนจะทดลอง - ทานายผลที่จะเกิดขึ้นจากข้อมูลที่เป็ นหลักการ กฎ หรื อทฤษฎีได้
โดยอาศัยปรากฏการณ์ที่เกิดซ้ าหลักการกฎหรื อ - ทานายผลที่เกิดขึ้นภายในขอบเขตของข้อมูลเชิงปริ มาณที่มีอยูไ่ ด้
ทฤษฎีที่มีอยูแ่ ล้วในเรื่ องนั้นมาช่วยสรุ ป - ทานายผลที่เกิดขึ้นภายหลังนอกขอบเขตของข้อมูลเชิงปริ มาณที่มีอยูไ่ ด้
6

ตารางที่ 2.3 (ต่อ)

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นิยาม พฤติกรรมของผู้เรียนที่บ่งชี้การเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์


ทักษะขั้นผสม
1) ทักษะการตั้งสมมติฐาน การคิดหาคาตอบล่วงหน้าก่ อนทาการทดลอง - หาคาตอบล่วงหน้าก่อนมีการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู ้ หรื อประสบการณ์เดิม
โดยอาศัยการสังเกต ความรู ้ หรื อประสบการณ์ ได้
เดิมเป็ นพื้นฐาน ซึ่งคาตอบที่คิดล่วงหน้านี้ยงั ไม่ - แสดงวิธีทดสอบสมมติฐานได้
ทราบ หรื อยังไม่เป็ นหลักการ กฎ หรื อทฤษฎี - แยกแยะข้อมูลการสังเกตที่สนับสนุนสมมติฐานและไม่สนับสนุนสมมติฐานได้
มาก่อน สมมติฐานเป็ นคาตอบที่คิดไว้ล่วงหน้า
ซึ่ งอาจเป็ นข้ อ ความที่ บ อกความสั ม พั น ธ์
ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตาม สมมติฐาน
ที่ ตั้ งขึ้ น อาจถู ก ห รื อผิ ด ก็ ไ ด้ ซึ่ งสาม ารถ
ตรวจสอบโดยการทดลองและแก้ ไ ขเมื่ อ มี
ความรู ้ใหม่
2) ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร การบ่งชี้ ตวั แปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ - บ่งชี้ตวั แปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ตอ้ งควบคุมให้คงที่ได้
ต้องควบคุมให้คงที่ในสมมติฐานหนึ่ง ๆ
3) ทักษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบตั ิการ การก าหนดความหมายและขอบเขตของค า - กาหนดความหมายและขอบเขตของคาและตัวแปรต่างๆ ให้สังเกตและวัดได้
ต่ างๆ ที่ อ ยู่ใ นสมมติ ฐ านจองการทดลองให้ - แยกแยะคานิยามเชิงปฏิบตั ิการกับคานิยามที่ไม่ใช่นิยามเชิงปฏิบตั ิการได้
เข้าใจตรงกัน และสามารถสั ง เกตหรื อ วัด ได้ - บ่งชี้ตวั แปรหรื อคาที่ตอ้ งใช้ในการให้คานิยามเชิงปฏิบตั ิการได้
โดยให้คาอธิ บายเกี่ยวกับการทดลองและบอก
วิธีวดั ตัวแปรที่เกี่ยวกับการทดลองนั้น
7

ตารางที่ 2.3 (ต่อ)

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นิยาม พฤติกรรมของผู้เรียนที่บ่งชี้การเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์


4) ทักษะการทดลอง กระบวนการปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ หาค าตอบจาก - กาหนดวิธีการทดลองได้ถูกต้องและเหมาะสม โดยคานึงถึงตัวแปร
สมมติ ฐ านที่ ต้ ัง ไว้ การทดลองประกอบด้ว ย - ระบุอุปกรณ์หรื อสารเคมีที่ตอ้ งใช้ในการทดลองได้
กิ จ กรรม 3 ขั้น คื อ การออกแบบการทดลอง - ปฏิบตั ิการทดลองและใช้อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
การปฏิ บัติ การทดลอง และการบัน ทึ กผลการ - บันทึกผลการทดลองได้คล่องแคล่วและถูกต้อง
ทดลอง
5)ทักษะการตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุ ป ก าร ตี ค ว าม ห ม าย ข้ อ มู ล เป็ น ก าร แ ป ล - แปลความหมายหรื อบรรยายลักษณะและสมบัติของข้อมูลได้
ความหมายหรื อบรรยายลักษณะข้อมูล ที่ มีอ ยู่ - บอกความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีอยูไ่ ด้
ส่ วนการลงข้อสรุ ป เป็ นการสรุ ปความสัมพันธ์
ของข้อมูลทั้งหมด
8

หลักวิธีการวัดและประเมินผลทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

เพื่อให้การวัดและประเมินผลทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีประสิ ทธิ ภาพ ครู ผูส้ อนควร


เข้าใจหลักการและวิธีวดั และประเมินผลทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ขั้นตอนในการสร้ างเครื่ องมือที่ใช้ ในการวัดและประเมินผลทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

การสร้างเครื่ องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของผูเ้ รี ยน มี
ขั้นตอนดังนี้

1) กาหนดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ตอ้ งการวัด เช่น ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด


ทักษะการจาแนก ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา ทักษะการใช้ตวั เลข
ทักษะการจัดกระทาและสื่ อความหมายข้อมูล ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล ทักษะการพยากรณ์ ทักษะ
การตั้งสมมติฐาน ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร ทักษะการกาหนดนิ ยามเชิ งปฏิบตั ิการ ทักษะการ
ทดลอง หรื อ ทักษะการตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุ ป
2) ให้นิยามทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ตอ้ งการวัด พร้อมทั้งระบุพฤติกรรมบ่งชี้การเกิด
ทักษะดังกล่าว
3) กาหนดรู ปแบบของเครื่ องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เช่น แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แบบที่มีตวั เลือก (ชนิ ดเลือกตอบ หรื อถูกผิด หรื อจับคู่)
หรื อแบบเขียนตอบ หรื อแบบทดสอบภาคปฏิบตั ิ พร้อมทั้งกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน
4) กาหนดตารางการสร้างเครื่ องมือในการวัดและประเมินผลทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
โดยระบุจุดมุ่งหมายและทักษะที่ตอ้ งการวัด รวมทั้งระบุจานวนข้อคาถามในแบบวัดทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
5) สร้างข้อคาถามในเครื่ องมือให้สอดคล้องกับนิยามและพฤติกรรมบ่งชี้ทกั ษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ที่ตอ้ งการวัด
6) นาเครื่ องมือที่สร้างขึ้นไปให้ผเู ้ ชี่ยวชาญ เช่น เพื่อนผูว้ ิพากษ์ นักวิทยาศาสตร์ศึกษา
ครู วิ ท ยาศาสตร์ หั ว หน้ า กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ วิ ท ยาศาสตร์ ตรวจสอบความตรงเชิ ง เนื้ อ หา ตลอดจน
ตรวจสอบภาษาที่ใช้และความเหมาะสมของคาถาม และพิจารณาว่าข้อคาถามแต่ละข้อนั้นมีความสอดคล้อง
กับทักษะที่ตอ้ งการวัดหรื อไม่
7) นาเครื่ องมือที่ใช้วดั และประเมินผลทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไปปรับปรุ งตาม
ข้อเสนอแนะของผูเ้ ชี่ยวชาญ
8) นาเครื่ องมือที่ได้ไปทดลองใช้ก่อนนาไปใช้จริ งกับนักเรี ยน
9

วิธีการวัดและประเมินผลทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของผู้เรียน

ในการวัดและประเมินผลทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของผูเ้ รี ยนที่นิยมใช้คือการวัดและ


ประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบ ซึ่งมีหลากหลายรู ปแบบ ได้แก่ แบบทดสอบแบบเลือกตอบ (ชนิดเลือกตอบ
จับ คู่ ถู ก หรื อ ผิ ด ) และแบบทดสอบแบบเขี ย นตอบซึ่ งแบบทดสอบแต่ ล ะชนิ ด มี ท้ ัง ข้อ ดี แ ละข้อ จ ากัด
ครู ผูส้ อนควรเลือกชนิ ดของแบบทดสอบที่เหมาะสมที่สุดกับจุดประสงค์ของการเรี ยนการสอนและเหมาะ
กับผูเ้ รี ยนที่จะได้รับการประเมิน (วรรณทิพา รอดแรงค้า, 2540; สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี, 2546, 2555; Germannet al., 1996) ส าหรั บเครื่ องมื อที่ ใช้ในการวัดและประเมิ นผลในแต่ล ะ
รู ปแบบมีลกั ษณะและแนวทางในการให้คะแนน ดังต่อไปนี้

1. การวัดและประเมินผลโดยใช้ แบบทดสอบ การประเมินชนิดนี้สามารถจาแนกได้เป็ น 3 ประเภท


คือ
1.1 การวัดและประเมินผลโดยใช้ แบบทดสอบแบบเลือกตอบ สามารถจาแนกได้เป็ น
แบบทดสอบชนิ ด เลื อ กตอบ แบบทดสอบชนิ ด จับ คู่ และแบบทดสอบชนิ ด ถู ก หรื อ ผิ ด แต่ ล ะชนิ ด มี
รายละเอียดดังนี้

1) แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ
แบบทดสอบชนิดเลือกตอบประกอบด้วยส่วนสาคัญ 2 ส่วนคือ ปัญหาหรื อคาถาม และ
คาตอบที่มีลกั ษณะเป็ นตัวเลือกทั้งที่เป็ นคาตอบที่ถูกต้องและคาตอบที่ไม่ถูกต้อง สาหรับการให้คะแนนถ้า
ผู ้เรี ยนเลื อ กค าตอบได้ ถู ก ต้ อ งให้ 1 คะแนน แต่ ห ากเลื อ กค าตอบที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ งให้ 0 คะแนน ทั้ งนี้
แบบทดสอบชนิดนี้สามารถจาแนกได้ดงั นี้

1.1) แบบทดสอบชนิดเลือกตอบแบบคาถามเดี่ยว แบบทดสอบชนิดนี้มี 2 ลักษณะคือ


1.1.1) ชนิดที่มีสถานการณ์ ซึ่งประกอบด้วย สถานการณ์ คาถาม และตัวเลือก
ดังตัวอย่างในภาพที่ 2.10
10

ดารงได้เขียนบันทึกผลการสารวจสัตว์เล็กๆ จากแหล่งต่างๆ ดังตารางต่อไปนี้

สถานที่สารวจ จานวนสัตว์ที่พบ
แมงมุม แมลงปี กแข็ง ตัวหนอน
1. บริ เวณใต้กอ้ นหิน 8 3 2
2. ใต้กองหญ้าแห้ง 4 6 3
3. ใต้ขอนไม้ผุ 2 3 7
4. บริ เวณพื้นหญ้า 7 9 5

ถ้าดารงต้องการจะหาตัวหนอนมาทาการทดลอง สถานที่สารวจแห่งใดเป็ นสถานที่


ที่เหมาะสมที่สุดในการหาตัวหนอน
ก. บริ เวณใต้กอ้ นหิน
ข. ใต้กองหญ้าแห้ง
ค. ใต้ขอนไม้ผุ
ง. บริ เวณพื้นหญ้า

ภาพที่ 2.10 แบบทดสอบชนิดเลือกตอบแบบคาถามเดี่ยวชนิดที่มีสถานการณ์ ที่ใช้วดั และประเมินผลทักษะ


การลงความเห็นจากข้อมูล
ที่มา: วรรณทิพา รอดแรงค้า (2540)

1.1.2) ชนิดที่ไม่มีสถานการณ์ ซึ่งประกอบด้วย คาถามและตัวเลือก ดังตัวอย่างใน


ภาพที่ 2.11

เด็กชายชาติเฝ้ามองกระรอกตัวหนึ่งบนต้นไม้ ผลการสังเกตกระรอกของ
เด็กชายชาติคือข้อใด
ก. กระรอกมีขนสี น้ าตาลและมีหางยาวเป็ นพุ่ม
ข. กระรอกมีอายุ 2 ปี
ค. กระรอกกาลังหาอาหารให้ลูกของมัน
ง. กระรอกอาศัยอยูใ่ นสวน

ภาพที่ 2.11 แบบทดสอบชนิดเลือกตอบแบบคาถามเดี่ยวชนิดไม่ที่มีสถานการณ์ ที่ใช้วดั และประเมินผล


ทักษะการสังเกต
ที่มา: วรรณทิพา รอดแรงค้า (2540)
11

1.2) แบบทดสอบชนิดเลือกตอบแบบสองชั้น เป็ นแบบทดสอบที่ใช้สถานการณ์ชุด


เดียวกันเพื่อเป็ นข้อมูลในการตอบคาถาม 2 คาถาม โดยคาถามที่ 2 มีความต่อเนื่องกับคาถามที่ 1 โดยให้บอก
เหตุผลของการตอบคาถามที่ 1 โดยมี 2 ลักษณะคือ

1.2.1) ชนิดเลือกตอบ ทั้งคาตอบและเหตุผล โดยให้ผเู ้ รี ยนบอกเหตุผลของการตอบ


คาถามที่ 1 โดยเลือกเหตุผลจากตัวเลือกที่กาหนดให้ดงั ตัวอย่างในภาพที่ 2.12

ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและปริ มาณของสาร A และ B ที่ละลายได้ในน้ า 100 cm3เป็ นดังกราฟต่อไปนี้

คาถามที่ 1 จากกราฟ อธิบายความสามารถในการละลายของสาร A และ B ได้อย่างไร


ตัวเลือก ก. ที่อุณหภูมิต่ากว่า 85 ๐C สาร A มีความสามารถในการละลายต่ากว่าสาร B
ข. ตั้งสมมติฐานการทดลองนี้ได้ว่า ถ้าอุณหภูมิสูงขึ้น ความสามารถในการ
ละลายของสาร A และ B จะสู งขึ้นด้วย
ค. ตั้งสมมติฐานการทดลองนี้ได้ว่า ถ้าอุณหภูมิสูงขึ้น ความสามารถในการ
ละลายของสาร B จะสู งกว่าสาร A

คาถามที่ 2 เพราะเหตุใดจึงตอบเช่นนั้น
ตัวเลือก ก. ความสามารถในการละลายของสาร A และ B มีความสัมพันธ์กบั อุณหภูมิ
ในลักษณะเดียวกัน
ข. ในช่วงอุณหภูมิ 80-100 C สาร A และ B มีความสามารถในการละลาย

เท่ากัน
ค. การทดลองที่อุณหภูมิใด ๆ วัดปริ มาณของสาร A และ B โดยใช้น้ า
100 cm3เท่ากัน
ภาพที่ 2.12 แบบทดสอบชนิดเลือกตอบแบบสองชั้นชนิดเลือกตอบ ทั้งคาตอบและเหตุผล
ที่ใช้วดั และประเมินผลทักษะการตีความหมายและการลงข้อสรุ ป
ที่มา: สถาบันส่งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2555)
12

สาหรับเกณฑ์การให้คะแนน เป็ นดังนี้

คาตอบที่ถูกต้ อง แนวคาตอบที่เป็ นไปได้มี 2 กรณี ดังนี้


กรณีที่ 1 กรณีที่ผเู ้ รี ยนพิจารณากราฟที่ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ 85 ๐C
กับความสามารถในการละลาย
คาถามที่ 1 ข้อ ก.
คาถามที่ 2 ข้อ ค.
กรณี ที่ 2 กรณี ที่ผเู ้ รี ยนพิจารณาเส้นกราฟทั้งสองว่ามีแนวโน้มไปในทิศทาง
เดียวกันแล้วนามาใช้กาหนดสมมติฐานการทดลอง
คาถามที่ 1 ข้อ ข.
คาถามที่ 2 ข้อ ก.
เกณฑ์การให้คะแนน คือ - ให้คะแนนคาถามที่ 1 เมื่อตอบได้ถูกต้อง
- ให้คะแนนคาถามที่ 2 เมื่อตอบคาถามที่ 1 ถูกต้องเท่านั้น

1.2.2) ชนิดเลือกตอบพร้อมอธิบายเหตุผลที่เลือก โดยให้ผเู ้ รี ยนบอกเหตุผลของการ


ตอบคาถามที่ 1 โดยการเขียนอธิบายเหตุผล ดังตัวอย่างในภาพที่ 2.13
13

จากภาพข้างต้นเป็ นดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์
จงใช้ขอ้ มูลจากตารางต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 1 และ 2
ดาว ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ เวลาในการโคจร
เคราะห์ (ล้านกิโลเมตร) รอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ
พุธ 68 88 วัน
ศุกร์ 108 225 วัน
โลก 150 1 ปี
พฤหัส 780 12 ปี
ยูเรนัส 2,870 84 ปี
เนปจูน 4,500 165 ปี

1. มีดาวเคราะห์ อีก ดวงหนึ่ งที่ ไ ม่อยู่ในตารางข้างต้น ดาวเคราะห์ ดวงนี้ อยู่ห่างจากดวงอาทิ ตย์


ประมาณ 1,430 ล้านกิโลเมตร นักเรี ยนคิดว่าดาวเคราะห์ดวงนี้จะใช้เวลานานเท่าใดในการโคจร
รอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ
ก. 10 ปี
ข. 100 ปี
ค. 100 วัน
ง. 30 ปี
จ. 30 วัน
2. เพราะเหตุใดนักเรี ยนจึงคิดว่าดาวเคราะห์ดวงนี้ใช้เวลาดังกล่าวในการโคจรรอบดวงอาทิตย์
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
......................................................................................................................................
ภาพที่ 2.13 แบบทดสอบชนิดเลือกตอบแบบสองชั้น ชนิดเลือกตอบพร้อมอธิบายเหตุผลที่เลือก
ที่ใช้วดั และประเมินผลทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา
ที่มา: วรรณทิพา รอดแรงค้า (2540)
14

สาหรับเกณฑ์การให้คะแนน เป็ นดังนี้

แบบทดสอบข้อนี้คะแนนเต็ม 3 คะแนน กล่าวคือ


หากผูเ้ รี ยนเลือกคาตอบในส่ วนที่ 1 ได้ถูกต้อง (30 ปี ) ให้ 1 คะแนน แต่หากเลือกคาตอบอื่นๆ ให้ 0
คะแนน
ในส่ วนที่ 2 หากผูเ้ รี ยนสามารถให้เหตุผลที่ถูกต้องโดยสามารถอธิ บายถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
ระยะทางกับเวลา เช่น เพราะมีความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางกับเวลา คือระยะทางของดาวเคราะห์ดวงนี้ อยู่
ระหว่างดาวพฤหัสกับดาวยูเรนัส ดังนั้นเวลาที่ดาวเคราะห์ดวงนี้ โคจรรอบดวงอาทิตย์จึงอยู่ระหว่างเวลาที่
ดาวพฤหัสกับดาวยูเรนัสโคจรรอบดวงอาทิตย์ ให้คะแนน 2 คะแนน แต่หากผูเ้ รี ยนให้เหตุผลไม่สมบูรณ์โดย
ไม่ได้กล่าวข้อความที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางกับเวลา ให้ 1 คะแนน และหากผูเ้ รี ยนให้เหตุผล
ไม่ถูกต้องเลย ให้ 0 คะแนน เป็ นต้น

2) แบบทดสอบชนิดถูกหรื อผิด
แบบทดสอบชนิ ดนี้ มีลกั ษณะเป็ นการนาเสนอข้อความที่เกี่ยวข้องกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
โดยให้ ผู ้เรี ย นพิ จ ารณาตัด สิ น เลื อ กตอบ โดยมี ตัว เลื อ กที่ ถู ก หรื อ ผิ ด โดยให้ ผู ้เรี ย นกาเครื่ อ งหมาย /
หน้าข้อความที่ถูก หรื อกาเครื่ องหมาย X หน้าข้อความที่ผิด สาหรับเกณฑ์การให้คะแนน เช่น หากผูเ้ รี ยนกา
เครื่ องหมาย/ หน้าข้อความที่สอดคล้องกับพฤติกรรมบ่งชี้ของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ตอ้ งการ
วัดได้อย่างถูกต้อง ให้ 1 คะแนน แต่หากผูเ้ รี ยนกาเครื่ องหมาย กาเครื่ องหมาย/ หน้าข้อความที่ไม่สอดคล้อง
กับพฤติ กรรมบ่ งชี้ ของทักษะกระบวนการทางวิท ยาศาสตร์ ที่ ตอ้ งการวัด ให้ 0 คะแนน เป็ นต้น ส าหรั บ
ตัวอย่างของแบบทดสอบชนิดถูกหรื อผิด แสดงดังภาพที่ 2.14
15

เด็กนักเรี ยนหญิงกลุ่มหนึ่งได้รวบรวมรถยนต์ของเล่นที่มีสีและขนาดแตกต่างกัน
มาทาการทดลอง ต่อไปนี้เป็ นการทดลองที่นกั เรี ยนกลุ่มนี้ได้ทา
1. มาลีกบั มะลิยนื อยูท่ างทิศเหนือของสนามเด็กเล่น ส่วนกุหลาบยืนอย่างทิศใต้ของสนาม
2. มาลีกบั มะลิวางรถยนต์คนั ใหญ่ที่มีสีต่างๆ กันบนสนามทีละคัน
3. กุหลาบจะต้องบอกชื่อสี รถยนต์แต่ละคันที่ถูกวางบนสนาม
4. มาลี มะลิ และกุหลาบทาเช่นเดียวกันนี้กบั รถยนต์คนั เล็กที่มีสีแตกต่างกัน

จากการทดลองดังกล่าว เด็กนักเรี ยนกลุ่มนี้จะศึกษาอะไรบ้าง


จงใส่ เครื่ องหมาย / ลงในกล่องสี่ เหลี่ ยมหน้าข้อความข้างล่าง ถ้ านักเรี ยนคิดว่าข้อความ
ดังกล่าวเป็ นสิ่ งที่นกั เรี ยนกลุ่มนี้จะศึกษา และใส่ เครื่ องหมาย X ลงในกล่องสี่ เหลี่ยมหน้าข้อความที่
นักเรี ยนคิดว่าข้อความดังกล่าวไม่ใช่สิ่งที่นกั เรี ยนกลุ่มนี้ศึกษา
สี รถยนต์ที่มองเห็นได้
ระยะทางที่สามารถมองเห็นสี รถยนต์ได้
กุหลาบมีความสามารถในการมองเห็นสี ของรถยนต์ได้ดีกว่ามะลิและมาลี
ขนาดของรถยนต์ที่ทาให้มองเห็นสี ของรถยนต์ได้

ภาพที่ 2.14 แบบทดสอบชนิดถูกหรื อผิด ที่ใช้วดั และประเมินผลทักษะการกาหนดและการควบคุมตัวแปร


ที่มา: วรรณทิพา รอดแรงค้า (2540)

1.2 การวัดและประเมินผลโดยใช้ แบบทดสอบชนิดเขียนตอบ

การวัดและประเมินผลด้วยแบบทดสอบชนิดนี้ ผูเ้ รี ยนจะคิดคาตอบเอง โดยมีอิสระในการ


แสดงความคิดเห็น แบบทดสอบชนิ ดนี้ สามารถจาแนกได้เป็ นแบบทดสอบชนิ ดเติมคาหรื อเขียนตอบอย่าง
สั้น และแบบทดสอบชนิดอธิบาย ตัวอย่างของแบบทดสอบชนิดเขียนตอบ แสดงดังภาพที่ 2.15
16

ชาลีใส่ ดิน ทรายและขี้เลื่อย และเกลืออย่างละเท่าๆ กัน ลงในกรวยพลาสติกที่มีขาดเท่าๆ


กัน เพื่อต้องการหาว่าวัสดุต่างๆ ดังกล่าวดูดซึ มน้ าได้เท่าใด เขาจึงริ นน้ าอย่างละ 100 มิลลิลิตรลงใน
กรวยแต่ละกรวยดังภาพ การทดลองเป็ นไปอย่างราบรื่ นเมื่อเขาริ นน้ าลงในกรวยที่มีดิน ทราย และ
ขี้เลื่อย แต่พอมาถึงกรวยที่ใส่ เกลือ ปรากฏว่าเกลือหายไปเกือบหมด

นักเรี ยนคิดว่าเพราะเหตุใดเกลือจึงหายไปเกือบหมด แต่วสั ดุอื่นๆ ยังคงอยู่


.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................

ภาพที่ 2.15 แบบทดสอบชนิดเขียนตอบ ที่ใช้วดั และประเมินผลทักษะการตีความหมายข้อมูล


ที่มา: วรรณทิพา รอดแรงค้า (2540)

สาหรับเกณฑ์การให้คะแนนของแบบทดสอบชนิ ดนี้ มีคะแนนเต็ม 3 คะแนน หากผูเ้ รี ยนสามารถ


อธิบายได้วา่
- เพราะเกลือละลายน้ า ให้ 1 คะแนน
- เพราะน้ าพัดพาเหลือไป ให้ 1 คะแนน
- เพราะดิน ทราย และขี้เลื่อยไม่ละลายน้ า ให้ 1 คะแนน

1.3 การวัดและประเมินผลโดยใช้ แบบทดสอบภาคปฏิบัติ


โดยทัว่ ไปแบบทดสอบภาคปฏิบตั ิจาแนกได้เป็ น 2 ส่วน คือ1) กิจกรรมการทดลอง และ 2) การ
เขียนรายงานการทดลอง แบบทดสอบภาคปฏิบตั ิจะมีลกั ษณะเช่นเดียวกับข้อสอบทัว่ ๆไปที่มีสถานการณ์
และคาถาม โดยสถานการณ์มกั กาหนดเงื่อนไขให้สามารถปฏิบตั ิการทดลองได้อย่างปลอดภัย คาถามและ
สถานการณ์ ที่ ก าหนดให้เน้นให้ผู ้เรี ยนแสดงออกถึ งสมรรถภาพในด้านทัก ษะเชาวน์ปั ญญา และทัก ษะ
ปฏิบตั ิ (สถาบันส่งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2555) ดังรายละเอียดต่อไปนี้
17

1) สถานการณ์ สถานการณ์ ใ นแบบทดสอบภาคปฏิ บัติ มี ล ัก ษณะเป็ นข้อ มู ล หรื อ


ข้อความที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่กระทา หรื อสถานการณ์จาลองที่สามารถปฏิบตั ิได้จริ ง ทั้งนี้ ตอ้ งคานึ งถึง
ความเหมาะสมกับระดับของผูเ้ รี ยนด้วย
2) คาถาม คาถามในแบบทดสอบภาคปฏิบตั ิประกอบด้วยคาสั่ง คาชี้แจง หรื อเงื่อนไข
เพื่ อ ให้ผูเ้ รี ยนปฏิ บ ัติห รื อท าการทดลองโดยเน้น ที่ ก ารแสดงความสามารถและทัก ษะปฏิ บัติ ค าถามใน
แบบทดสอบภาคปฏิบตั ิมกั ให้ผเู ้ รี ยนได้แสดงออกในด้านต่างๆ ดังนี้
- ความสามารถและทักษะด้านการเลือกใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่สอดคล้องกับการ
ออกแบบการทดลอง
- การปฏิ บตั ิการทดลองที่ตอ้ งอาศัยทักษะด้านต่างๆ เช่น ทักษะการวัด ทักษะการ
สังเกต ทักษะการใช้เครื่ องมือ
- ความสามารถและทักษะด้านการบันทึกผลการทดลอง การบันทึกข้อมูลที่ได้จาก
การทดลองซึ่งอาจบันทึกลงในตารางข้อมูล

นอกจากนี้ แบบทดสอบภาคปฏิ บัติ ที่ มี กิ จ กรรมให้ เขี ย นรายงานผลการทดลองควรให้


ครอบคลุมในด้านต่อไปนี้
- การวางแผน เป็ นการแสดงออกในด้านการกาหนดปั ญหาการทดลองการกาหนด
จุดประสงค์การทดลอง การออกแบบวิธีการและขั้นตอนการทดลองการตั้งสมมติฐาน การกาหนดตัวแปรใน
การทดลอง
- การวิเคราะห์และแปลผล เป็ นการแสดงออกในด้านการวิเคราะห์ขอ้ มูลและผลการ
ทดลอง การจัดกระทาข้อมูล การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลการคานวณ การหาความสัมพันธ์ของ
ข้อมูล และการแปลความหมายข้อมูล
- การนาความรู ้ไปใช้ เป็ นการแสดงออกในด้านการลงข้อสรุ ปอย่างมี เหตุผลการ
สร้า งแบบจาลอง การถ่ ายโอนความรู ้ การแสดงความคิด เห็ น และข้อเสนอแนะ การน าเสนอแนวคิ ด ที่
แตกต่างจากเดิมหรื อการคิดสร้างสรรค์

สาหรับตัวอย่างแบบทดสอบภาคปฏิบตั ิ แสดงดังภาพที่ 2.16


18

ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลทั่วไป
1. ระดับชั้น ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
2. สาระการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร
3. ตัวชี้วัด ว 3.1 ป.6/4 สารวจและจาแนกประเภทของสารต่างๆ ที่ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน โดยใช้สมบัติ และการใช้ประโยชน์ของสาร
เป็ นเกณฑ์
4. พฤติกรรมที่ประเมิน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
5. เนื้อหาสาระ
สารปรุ งรสอาหาร เป็ นสารที่ใส่ ลงในอาหารเพื่อเพิ่มรสชาติอาหารให้มีรสเค็ม เปรี้ ยว
หวาน สารปรุ งรสอาหารที่ไม่ได้ม าจากธรรมชาติตอ้ งได้รับการรับรองคุณภาพจากสานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
ความเป็ นกรด-เบส เป็ นสมบัติประการหนึ่งของสาร ผลการทดสอบความเป็ นกรดเบส
ด้วยกระดาษลิตมัส เป็ นดังนี้
1) สารที่มีสมบัติเป็ นเบสจะเปลี่ยนกระดาษลิตมัสสี แดงเป็ นสี น้ าเงิน
2) สารที่มีสมบัติเป็ นกรดจะเลี่ยนกระดาษลิตมัสสี น้ าเงินเป็ นสี แดง
3) สารที่มีสมบัติเป็ นกลางจะไม่เปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสทั้งสี แดงและสี น้ าเงิน

ส่ วนที่ 2 สถานการณ์ และคาสั่ง


สถานการณ์ ข้อความที่กล่าวว่า “สารปรุ งรสอาหารที่ใช้ในชีวิตประจาวันมีความเป็ นกรดเบส”
จะทดสอบความถูกต้องของข้อความนี้ อย่างไร เมื่อกาหนดอุปการณ์ที่ใช้ในการทดสอบมาให้
ซึ่ งประกอบด้วย การะดาษลิ ตมัส ไม้พ นั ส าลี จานหลุมพลาสติ กและภาชนะใส่ ส ารปรุ งรส
อาหาร
คาสั่ง (1) ให้ทาการทดสอบความเป็ นกรดเบสของสารปรุ งรสอาหาร โดยเลือกใช้สาร
ปรุ งรสอาหารเพื่อการทดสอบจานวน 5 ชนิด
(2) เขียนรายงานการทดลองซึ่งประกอบด้วยหัวข้อดังนี้
1) จุดประสงค์การทดลอง 2) สารเคมี วัสดุและอุปกรณ์การทดลอง
3) วิธีทดลอง 4) การบันทึกผลการทดลอง
5) การสรุ ปและอภิปรายผลการทดลอง
19

ส่ วนที่ 3 แนวทางการให้ คะแนนการทดลองและการเขียนรายงานการทดลอง


การทดลอง
ให้สังเกตพฤติ กรรมของผูเ้ รี ยนขณะทาการปฏิ บัติการทดลองและประเมิ นโดยใช้แบบประเมิ น
ทักษะปฏิบตั ิการทดลอง
การเขียนรายงานการทดลอง มีแนวการเขียนดังนี้
1. จุดประสงค์ การทดลอง เพื่อทาการทดลองสมบัติกรดเบสของสารปรุ งรสอาหาร 5 ชนิ ด ได้แก่
น้ าปลา น้ ามะนาว น้ าส้มสายชู ซอสมะเขือเทศ และสารละลายน้ าตาล
2. สารเคมี วัสดุและอุปกรณ์ การทดลอง
1) สารปรุ ง รสอาหารที่ เลื อ กน ามาใช้ ท ดลองจานวน 5 ชนิ ด ได้แก่ น้ า ปลา น้ ามะนาว
น้ าส้มสายชู ซอสมะเขือเทศ และสารละลายน้ าตาล
2) กระดาษลิตมัส ไม้พนั สาลี จานหลุมพลาสติก และภาชนะใส่สารปรุ งอาหาร
3. วิธีทดลอง
1) ตัดกระดาษลิ ตมัส สี แดงและสี น้ าเงิ นเป็ นชิ้ นเล็ก ๆ ขนาดพอดี กับ หลุม ของจานหลุ ม
พลาสติก และวางลงในจานหลุมพลาสติก หลุมละ 1 ชิ้น

2) ใช้ไม้พนั สาลีแตะสารปรุ งอาหารแต่ละชนิ ด โดยเริ่ มจากน้ าปลา แล้วนาน้ าปลาที่ติดอยู่


บนสาลีแตะบนกระดาษลิตมัสสี แดงและสี น้ าเงิน สังเกตการเปลี่ยนแปลง และบันทึกผล
20

3) ทาการทดลองซ้ าข้อ 2) แต่เปลี่ยนจากน้ าปลาเป็ นน้ ามะนาว น้ าส้มสายชู ซอสมะเขือเทศ


และสารละลายน้ าตาล ตามลาดับ สังเกตการเปลี่ยนแปลง และบันทึกผล โดยทุกครั้งที่ทาการทดลองสารปรุ ง
รสอาหารต่างชนิดกัน จะต้องเปลี่ยนไม้พนั สาลี เพื่อไม่ให้มีการปนเปื้ อนของสารที่ไม่ตอ้ งการ
4. บันทึกผลการทดลอง

สารปรุงรสอาหาร การเปลีย่ นแปลงที่สังเกตได้

น้ าปลา กระดาษลิตมัสสี แดงและสี น้ าเงินไม่เปลี่ยนสี

น้ ามะนาว กระดาษลิตมัสสี น้ าเงินเปลี่ยนเป็ นสี แดง

น้ าส้มสายชู กระดาษลิตมัสสี น้ าเงินเปลี่ยนเป็ นสี แดง

ซอสมะเขือเทศ กระดาษลิตมัสสี น้ าเงินเปลี่ยนเป็ นสี แดง

สารละลายน้ าตาล กระดาษลิตมัสสี แดงและสี น้ าเงินไม่เปลี่ยนสี

5. สรุปและอภิปรายผลการทดลอง
สารปรุ งรสอาหารมีสมบัติความเป็ นกรดเบส หรื อมี สมบัติเปลี่ยนสี กระดาษลิตมัสได้แตกต่าง
กัน การทดลองต้องระมัดระวังไม่ให้ผลการทดสอบคลาดเคลื่อน โดยทุกครั้งที่ ทดสอบสารปรุ งรสอาหาร
ต่างชนิ ดกัน จะต้องเปลี่ ยนไม้พ นั ส าลี ใหม่ ก่ อนน าไปแตะสารนั้น เพื่ อป้ องกันการปนเปื้ อนสารอื่ นที่ ไ ม่
ต้องการทดสอบ
แนวทางการให้ คะแนนการเขียนรายงานการทดลอง
คะแนน

3 2 1

เขียนรายงานตามลาดับขั้นตอน เขี ย น ร าย งาน ก าร ท ด ล อ ง เขียนรายงานโดยลาดับขั้นตอน


ผลการทดลองตรงตามสภาพ ตามลาดับ แต่ไม่สื่อความหมาย ไม่ ส อดคล้อ งกัน และไม่ สื่ อ
จริ ง และสื่ อความหมาย ความหมาย

ภาพที่ 2.16 แบบทดสอบภาคปฏิบตั ิ


สถาบันส่งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2555)

You might also like