You are on page 1of 43

ใหนักเรียนใสเครื่องหมายถูก (√) หรือผิด (×) หนาขอความตามความเขาใจของนักเรียน

/
_________1. เซลลพืชทุกชนิดมีผนังเซลลหุมอยูดานนอกของเยื่อหุมเซลล
___________________________________________________________
-
/
*
_________2. เซลลทุกชนิดของพืชมีคลอโรพลาสต
___________________________________________________________
/ เซลลูโลสเปนโครงสรางหลักของผนังเซลลพืช
_________3. /
___________________________________________________________
/ พืชดูดน้ำและธาตุอาหารผานทางเซลลขนราก
_________4.
/
___________________________________________________________
/x
_________5. ราก ลำตน และใบ เปนอวัยวะที่ไมเกี่ยวของโดยตรงกับการสืบพันธุแบบอาศัยเพศ

%
=>

ของพืชดอก
___________________________________________________________
_________6. พืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่เจริญเติบโตเต็มที่มีรากแกว

%
___________________________________________________________
ใบเ ยง ไ
เ ยว รากแ ว

/ รากทำหนาที่ชวยยึดโครงสรางของลำตนพืชใหติดอยูกับดินหรือวัสดุปลูก
-
_________7.
___________________________________________________________
/ ลำตนทำหนาที่ลำเลียงน้ำ ธาตุอาหาร และอาหาร ไปยังสวนตาง ๆ ของพืช
_________8.
___________________________________________________________
-
ดี่
ม่
มี
ลี้
ก้
· 1··· เนื้อเยื่อพืช
/

เซลลพชื
เปนหนวยโครงสรางพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต ประกอบดวย
โพรโทพลาสซึม (Protoplasm) ที่มีเยื่อหุมเซลล (Cell membrane) /
ผนังเซลล (Cell wall) หอหุมไว เซลลแตละชนิด มีองคประกอบที่
แตกตางกันทำใหมีลักษณะโครงสรางและหนาที่การทำงานของเซลลที่
แตกตางกันไปดวย มีลักษณะรวมคือการมีผนังเซลลลอมรอบอยูรอบนอก
ใหความแข็งแรงและคงรูปแกโครงสรางเซลลพืช ทำหนาที่ ค้ำจุนและ
ปกปองสวนตาง ๆ ของเซลล ประกอบดวย cellulose, hemicellulose,
pectin และ lignin ซึ่งมีสัดสวนแตกตางกันออกไปตามชนิดของเซลล
ผนังเซลลประกอบดวยชั้นดังนี้

• มิดเดิลลาเมลลา (middle lamella) เปนชั้นที่อยูระหวางผนังเซลลปฐมภูมิของเซลลที่อยูติดกัน เปนผนังเซลลที่


สรางเปนลำดับแรกหลังจากการเกิดแผนกั้นเซลล (cell plate) มิดเดิลลาเมลลาประกอบดวยเพกทินเปนหลัก
• ผนังเซลลปฐมภูมิ (Primary cell wall) เปนชั้นของผนังเซลลที่สรางขึ้นมาในระยะที่เซลลกำลังเจริญเติบโต มี
cellulose เปนองคประกอบหลัก
• ผนังเซลลทุติยภูมิ (Secondary cell wall) พบในเซลลบางชนิด ไดแก vessel, tracheid, fiber และ sclereid
เกิดจากการสะสมลิกนิน (lignin) เปนองคประกอบหลักที่ชวยเพิ่มความแข็งแรง เกิดเปนผนังเซลลที่ติดอยูกับเยื่อหุม
เซลล ภายหลังจากเซลลเติบโตขยายเต็มที่ เซลลบางชนิดอาจพบซูเบอริน (suberin) ชวยปองกันการระเหยของน้ำ
เพิ่มเติม
ผนังเซลลมีการสะสมสารไมสม่ำเสมอทำใหมีความหนา
ไมเทากันบริเวณที่มีผนังบางเปนชอง ใหไซโตพลาสซึมของเซลลที่
ติดกันมาเชื่อมกันไดเรียกวา
พลาสโมเดสมาตา (plasmodesmata)
กลองจุลทรรศนแบบใชแสง (Compound light
microscope) ไมสามารถแยกชั้นปฐมภูมิและทุติยภูมิ ออกจาก
กันได จึงตองใชสียอมผนังเซลลมาชวยแยก ซึ่งสีดังกลาว ไดแก
1) สียอม Fast green (สีฟา/เขียว) 2) สียอม Safranin (สีแดง)
: ติดบริเวณผนังเซลลทุติยภูมิ

พลาสติด (plastid)
เปนออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 2 ชั้น หนาที่คือ ชวยเก็บเอนไซม สารตาง ๆ เชน ลิพิด
โปรตีน แปง หรือสารสี (Pigment) ชนิดตาง ๆ สามารถจำแนกพลาสติดได 2 ประเภท
ดังนี้
1. พลาสติดที่มีสารสี
1.1 คลอโรพลาสติด (chloroplastid) มีสารสี
ประเภทคลอโรฟลล (chlorophyll) มากกวาสารสี
ชนิดอื่น แสดงสีเขียว
1.2 โครโมพลาสติด (chromoplastid) มีสารสีประเภท แคโรทีนอยด (carotenoid)
มากกวาสารสีชนิดอื่น แสดงสีสม เหลือง แสด แดง
2. พลาสทิดที่ไมมีสารสี (leucoplastid)
-> > ขาว

มีสารประเภทแปง ไขมัน น้ำมัน มักพบในเซลลของใบเลี้ยงหรือ เอนโดสเปรม หรือสาร


ประเภทโปรตีน พบใน เซลลสะสมอาหาร จะมีชื่อเรียกแตกตางกันออกไปตามชนิดของสารที่
อยูภายในพลาสทิด
แวคิวโอ (vacuole)
เปนออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม 1 ชั้น เรียกชั้นเยื่อหุมนี้วาโทโนพลาสต
(Tonoplast) แวคิวโอลของเซลลที่มีอายุนอยจะมีขนาดเล็ก และขยายใหญขึ้น
เมื่อมีอายุมากขึ้น เรียก central vacuole ภายในแวคิวโอลมีสารหลายชนิด
เชน สารสี ไดแก flavonoid หรือ anthocyanin เปนตน
สี
เนื้อเยื่อพืช เปนกลุมของเซลลพืชที่อยูรวมกันแลวเกิด
การเจริญและเปลี่ยนแปลงเพื่อทำหนาที่เฉพาะ โดยเซลลพืชแต
ละชนิดมีลักษณะที่แตกตางกัน

เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissue)


ประกอบดวยเซลลเจริญ (meristematic cell)
กลุมเซลลที่มีผนังเซลลปฐมภูมิบาง และมีความหนาสม่ำเสมอกัน
ทั่วตัวเซลล สวนใหญมีนิวเคลียสขนาดใหญ เมื่อเทียบกับขนาด
ของเซลล มีการแบงเซลลแบบไมโทซิส (mitosis) เพื่อเพิ่ม
จำนวนไดตลอดชีวิตของเซลล เซลลที่ไดจากการแบงเซลลสวน
หนึ่งจะเปลี่ยนแปลงเปนเนื้อเยื่อถาวรเพื่อทำหนาที่เฉพาะตอไป
และอีกสวนหนึ่งยังคงเปนเนื้อเยื่อเจริญ
จำแนกตามตำแหนงที่พบ
1. เนื้อเยื่อเจริญสวนปลาย (Apical meristem) พบได 2 บริเวณ
• ถาพบที่บริเวณปลายยอด เรียกวา เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด (shoot apical meristem) มีหนาที่แบงเซลลทำให
ลำตนและกิ่งยาวขึ้น รวมทั้งสรางลำตน กิ่ง และใบ
• ถาพบที่บริเวณปลายรากเรียกวา เนื้อเยื่อเจริญปลายราก (root apical meristem) มีหนาที่แบงเซลลทำให
รากยาวขึ้น การเจริญเติบโตที่เกิดจากการแบงเซลลของเนื้อเยื่อเจริญสวนปลายจัดเปนการเติบโตปฐมภูมิ
(primary growth)

2. เนื้อเยื่อเจริญเหนือขอ (Intercalary meristem)


มีหนาที่แบงเซลลเพิ่มจำนวน ทำใหปลองของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวยืดยาว เปนเนื้อเยื่อสวนที่อยูโคนปลองหรือเหนือขอ
แบงเซลลไดยาวนานกวาเนื้อเยื่อสวนอื่นของปลองที่หยุดเจริญไปแลว พบในลำตนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวทั่วไป เชน หญา ขาว
ขาวโพด ออย ไผ #ไ เจอ ใน
ใบเ ยง

*** -
8 1*****
ลี้
ม่
คู่
าน าง
3. เนื้อเยื่อเจริญดานขาง (Lateral meristem)
อยูในแนวขนานกับเสนรอบวง มีการแบงเซลลเพิ่มจำนวนออกทางดานขาง ทำใหรากและลำตนขยายขนาดใหญขึ้น
การเจริญเติบโตที่เกิดจากการแบงเซลลที่ไดจากเนื้อเยื่อเจริญดานขางจัดเปน การเติบโตทุติยภูมิ (secondary growth) พบได
ในรากและลำตนของพืชใบเลี้ยงคูทั่วไป เนื้อเยื่อเจริญดานขางเรียกอีกอยางวา แคมเบียม (cambium)
ล เ ยง
3.1. วาสคิวลารแคมเบียม (Vascular cambium) ~เ อเ อ เจ ญ าน าม
-

มีหนาที่แบงเซลล เกิดเนื้อเยื่อทอลำเลียง (vascular tissue) เพิ่มขึ้นในการเติบโต


ทุติยภูมิ (secondary growth) พบอยูระหวางเนื้อเยื่อทอลำเลียงน้ำ (xylem)
และทอลำเลียงอาหาร (phloem)

3.2. คอรกแคมเบียม (Cork cambium)


มีหนาที่แบงเซลลใหคอรก (cork) และเนื้อเยื่ออื่น ๆ ทำหนาที่แทนเนื้อเยื่อผิวเดิมในการเติบโตทุติยภูมิ
(secondary growth) พืชบางชนิด cork cambium พบอยูถัดจาก cork เขาไปดานใน

<Cor K

<- Cork cambium

จำแนกตามระยะการเจริญ
1. โพรเมอริสเทม (promeristem)
เกิดขึ้นตั้งแตระยะเอ็มบริโอ เปนเซลลตนกำเนิดของเนื้อเยื่ออื่น ๆ ทั้งหมด
เซลลมีรูปรางและขนาดใกลเคียงกัน เรียงตัวอยูที่บริเวณปลายยอดและปลายราก
2. เนื้อเยื่อเจริญปฐมภูมิ (primary meristem)
เปนเนื้อเยื่อที่เปลี่ยนแปลงมาจาก protoderm ทำหนาที่สรางเนื้อเยื่อ
ถาวรปฐมภูมิ (primary permanent tissue)
2.1 เนื้อเยื่อเจริญกำเนิดผิว (protoderm) สรางเนื้อเยื่อชั้นผิว (epidermis)
2.2 เนื้อเยื่อเจริญพื้น (ground meristem) สรางเนื้อเยื่อพื้น ไดแก พาเรงคิมา (parenchyma)
คอลเลงคิมา (collenchyma) และ สเกลอเรงคิมา (sclerenchyma)
2.3 โพรแคมเบียม (procambium) สรางเนื้อเยื่อลำเลียงปฐมภูมิ (primary vascular tissue) ไดแก
โฟลเอ็มปฐมภูมิ (primary phloem) และไซเล็มปฐมภูมิ (primary xylem)
3. เนื้อเยื่อเจริญทุติยภูมิ (secondary meristem
เปนเนื้อเยื่อที่เปลี่ยนแปลงมาจาก primary meristem หรือ primary permanent tissue บางชนิดทำหนาที่สราง
เนื้อเยื่อถาวรทุติยภูมิ (secondary permanent tissue) ไดแก
3.1 วาสคิวลารแคมเบียม (vascular cambium)
3.2 คอรกแคมเบียม (cork cambium)
ข้
ด้
ข้
ด้

ริ
ลี
นื้
ยื่
จำแนกตามชนิดของกลุมเซลล
1. เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (simple permanent tissue)
ประกอบดวยกลุมเซลลชนิดเดียว ทำหนาที่เดียวกัน ไดแก parenchyma, collenchyma, sclerenchyma, cork
และ epidermis*
2. เนื้อเยื่อถาวรเชิงซอน (compound permanent tissue)
ประกอบดวยกลุมเซลลหลายชนิดมาอยูดวยกันและทำงานรวมกัน ไดแก xylem และ phloem
จำแนกเปนระบบ
เนื้อเยื่อพืชแบงออกเปน 3 ระบบ ตามการจำแนกของ Sach
1. ระบบเนื้อเยื่อผิว (Dermal system) เปนระบบเนื้อเยื่อที่อยูนอกสุด ทำหนาที่ปกคลุมสวนตาง ๆ
2. ระบบเนื้อเยื่อพื้น (Ground system) เปนระบบเนื้อเยื่อสวนใหญของพืช ทำหนาที่เปนโครงสรางพื้นฐาน
3. ระบบเนื้อเยื่อลำเลียง (Vascular system) เปนระบบเนื้อเยื่อที่ใชลำเลียงน้ำ แรธาตุและอาหาร

ที่มา: Campbell Biology 10th


Meow
1. เนื้อเยื่อผิว (dermal tissue) : เปนเนื้อเยื่อชั้นนอกสุด ทำหนาที่ปองกันอันตราย ใหกับเนื้อเยื่อที่อยูภายใน ไดแก
ปฏม ย
epidermis และ periderm
1.1. เนื้อเยื่อผิว (epidermis) เปนเนื้อเยื่อชั้นนอกสุด อยูดานนอกสุดของโครงสรางในการเติบโตปฐมภูมิ ประกอบดวย
เซลลที่มีชีวิต มีชั้น cuticle อยูบนผนังเซลลดานนอกโครงสราง ประกอบดวย epidermal cell, guard cell,
trichome stomat a


* รอกตโ porc

4 ->/guard call

1 -
#
call
is a subsidiary
2

1.2. เพริเดิรม (periderm)


ทำหนาที่ปองกันเนื้อเยื่อตาง ๆ อยูภายใน ปองกันการสูญเสียน้ำ ประกอบดวยเนื้อเยื่อ 3 ชนิด คือ
1. คอรก (cork) หรือเฟลเลม (phellem)
2. คอรกแคมเบียม (cork cambium) หรือเฟลโลเจน (phellogen)
3. เฟลโลเดิม (phelloderm)
พบที่..................................................................................................................................................
เ นเ อเ อ นนอก ในระยะ

การ เ ย นโต ,
ใน และ
พน ราก ของ
ลน
ยกเ
ชดอก ( นใน ใน
ช เ ยง เ ยว)

เจริญมาจาก.......................................................................................................................................
Cork cambian เ ด จาก
parenchy
ใน cortexเป ยน
ra สภาพ ก บมา

2. เนื้อเยื่อพื้น (ground tissue)


ทำหนาที่หลายอยาง เชน ใหความแข็งแรงและสะสมอาหาร ไดแก parenchyma, collenchyma, sclerenchyma
2.1. พาเรงคิมา (parenchyma)
ประกอบดวยเซลลเพียงชนิดเดียว คือ เซลลพาเรงคิมา (parenchyma cell) เซลลมีผนังเซลลบาง
มี cellulose เปนองคประกอบหลัก เปนเซลลที่มี protoplasm สมบูรณ และเปนเซลลที่มีชีวิต*
เซลลเรียงตัวไมแนน มีชองวางระหวางเซลลมาก สามารถเปลี่ยนแปลงกลับมาเปนเนื้อเยื่อเจริญใหม เรียกวา
dedifferentiation*** มีรูปรางและหนาที่หลากหลาย เชน
Chlorenchyma …………………………………………Aerenchyma …………………………………
านในเ นกลาง
พบที่..................................................................................................................................................
ใน

เจริญมาจาก.......................................................................................................................................
Ground meristant


A B C D

Leucoplast ที่ยอมดวย Iodine จากตนสาวนอยปะแปง (A) Chlorenchyma จากตนกระสัง (B) Aerenchyma จากตนกกรม (C) Stellate parenchyma จากมะละกอ
ที่มา: นายสิรวิชญ สินประเสริฐรัตน
ทุ
ภู
ทุ
สุ
พื
พื
ด้

ต้
ติ
นื้
ดี่
ป็
ชั้
ลี้
ห่
มิ
ลั
ติ
ส้
ติ
ยื่
ลี่
ว้
ภู
ภู
มิ
มิ
กิ
2.2. คอลเลงคิมา (collenchyma)
เปนเนื้อเยื่อที่พบบริเวณถัดจาก epidermis เขามา สวนมากพบในลำตนสวนที่ยังออนของพืชลมลุกหรือไมเลื้อย
บางชนิด กานใบและเสนกลางใบ ประกอบดวยเซลลที่มีชีวิต เรียกวา เซลลคอลเลงคิมา (collenchyma cell) มี
ลักษณะคลาย parenchyma cell มีเพียง primary cell wallแตพอกหนาไมสม่ำเสมอกัน*** ประกอบดวย
เซลลูโลสและสารประกอบเพกติน (pectin) ทำหนาที่พยุงและทำใหเกิดความแข็งแรงแกโครงสรางพืช

2.3. สเกลอเรงคิมา (sclerenchyma)


เปนเนื้อเยื่อที่พบในเนื้อเยื่อพื้นของลำตน แผนใบ กานใบ เนื้อผล เปลือกไม เปลือกผล เปลือกเมล็ด เชน
กะลามะพราว สาลี่ หรือผลไมที่มีเสนใย ประกอบดวยเซลลสเกลอเรงคิมา (sclerenchyma cell) เปนเซลลไมมี
ชีวิต*** มีทั้ง primary และ secondary cell wall* ที่คอ นขางหน ผนังเซลลประกอบดวยเซลลูโลส และลิกนิน
(lignin)*** ใหความแข็งแรงกับโครงสรางของพืช สเกลอเรงคิมาสามารถแยกออกไดเปน 2 ชนิด คือ

A B C D
Sclereid จากผลสาลี่ (A) Fiber จากกะลามะพราว (B) Fiber จากเฟรน (C) Astrosclereid จากมะละกอ (D) ที่มา: นายสิรวิชญ สินประเสริฐรัตน

2.3.1. สเกลอรีด (sclereid)


เปนเนื้อเยื่อ sclerenchyma ที่มีรูปรางสั้นกวา fiber และมีรูปรางไดหลายแบบ มีชองวางตรงกลางซึ่งเปนโป
รโตพลาสที่สลายไปแลว เรียกวา ลูเมน (lumen) มีหลุมผนังเซลลแบบแตกสาขา (ramiform pit) มีผนังที่
หนากวามากไฟเบอร โดยมีลิกนินเปนองคประกอบที่สำคัญของผนังเซลลมักพบในสวนของพืชที่มีลักษณะแข็ง
เชน เปลือกของเมล็ด และผลไมเนื้อแข็ง เปนตน
2.3.2. ไฟเบอร (fiber)
รูปรางยาวเรียว ปลายทั้งสองขางเรียวแหลม มีชองวางขนาดเล็กตรงกลางซึ่ง
เปนโปรโตพลาสที่สลายไปแลว เรียกวา ลูเมน (lumen) เชนกัน มีหลุมผนัง
เซลลแบบไมแตกสาขา เซลลมีคณ ุ สมบัติเหนียวและยืดหยุนได (elasticity)
พบในสวนตาง ๆ ของพืช เชน คอรเทค (cortex), กลุมทอลำเลียงน้ำ
(xylem) และกลุมทอลำเลียงอาหาร (phloem)

Tissue Alive Cell wall Substance Chloroplast Location Function


Parenchyma / 1’ cell wall Cellulose / or - Every organ Support
Transport
Photosynthesis
Collenchyma / 1’ cell wall Pectin / or - Petiole Support
Mid vein
Sclerenchyma - 2’ cell wall Lignin - Seed coat Support
Some fruit protection

3. เนื้อเยื่อลำเลียง (vascular tissue)


เปนเนื้อเยื่อที่ทำหนาที่ลำเลียงน้ำ แรธาตุ และอาหาร ไดแก xylem และ phloem
3.1. โฟลเอ็ม (phloem)
เปนเนื้อเยื่อที่ทำหนาที่ลำเลียงอาหารที่สังเคราะหจากใบไปสูสวนตาง ๆ ของพืช ประกอบดวยเซลล 4 ชนิด ไดแก
3.1.1. Sieve tube member
เปนเซลลที่มีชีวิต เมื่อเจริญเต็มที่จะไมมีนิวเคลียส มี vacuole ขนาดใหญ ที่มีอาหารอยู มี primary cell
wall บางและมีรูเล็ก ๆ อยูเปนกลุมที่ผนังดานขางและดานหัวทายของเซลล ผนังดานหัวทายมีลักษณะเปน
แผนตะแกรงหรือซีฟเพลต (sieve plate) โดย sieve tube member หลาย ๆ เซลลเรียงตอกันเปนทอ
เรียกวา ซิฟทิวบ (sieve tube)
3.1.2. Companion cell
เปนเซลลที่มีชีวิตที่มีกำเนิดรวมกับ sieve tube member ที่อยูติดกัน มี plasmodesmata จำนวนมาก
เชื่อมถึงกัน ทำหนาที่ชวยสงเสริมการทำหนาที่ของ sieve tube member มีรูปรางผอมยาว เปนเหลี่ยม
และมีขนาดเล็ก
3.1.3. Phloem parenchyma
เปนเซลลที่มีชีวิต พืชใบเลี้ยงเดี่ยวสวนใหญมักไมมี phloem parenchyma ทำหนาที่สะสมอาหาร
3.1.4. Phloem fiber
มีลักษณะทั่ว ๆ ไปคลายกับ fiberชวยเพิ่มความแข็งแรงใหกับทอลำเลียงอาหาร

เนื้อเยือ่ ลำเลียงของตนหมอนอย (A) เนื้อเยือ่ ลำเลียงของตนหญา (B)


B ที่มา: นายสิรวิชญ สินประเสริฐรัตน และ Campbell 10th

Phloem cell Function Angiosperm Gymnosperm


Sieve tube member Translocation of sugar / /
Companion cell Support phloem / - (Albuminous cell)
Fiber Support/ Protective / -
Parenchyma Support/ Synthesis / /
3.2. ไซเล็ม (xylem)
เปนกลุมเซลลหลายชนิดที่เปลี่ยนแปลงไปทำหนาที่ลำเลียงน้ำและธาตุอาหารจากรากไปสูใบและสวนตางๆ ของพืช
ประกอบดวยเซลล 4 ชนิด คือ tracheid cells, vessel member /vessel cells, xylem parenchyma cells,
xylem fiber cells โดยเซลลที่ทำหนาที่ในการลำเลียงน้ำและธาตุอาหาร คือ เทรคีด (tracheid) และเวสเซลเมม
เบอร (vessel member) ซึ่งเปนเซลลที่ไมมีชีวิต* มีการสราง primary cell wall และ secondary cell wall***
โดยในการสรางผนังทุติยภูมิมีการสะสมสารไมสม่ำเสมอเห็นเปนลวดลายบนผนังเซลล
3.2.1. เทรคีด (tracheid)
เซลลรูปรางยาวหรือหลายเหลี่ยมยาว ปลายมนคอนขางแหลม พบในพืชเมล็ดเปลือยหรือพืชที่มีทอลำเลียงแต
ไมมีเมล็ด
3.2.2. เวสเซลเมมเบอร (vessel member)
เปนเซลลที่มีรูปรางยาว มักมีขนาดใหญกวา
tracheid ที่ดานหัวและดานทายของเซลลมีชอง
ทะลุทำใหมองเห็นผนังหัวทายมีลักษณะเปน
แผนมีรู เรียกวา เพอรฟอเรชันเพลต
(perforation plate) เมื่อ vessel member
หลาย ๆ เซลลเรียงตอกันจะมีลักษณะคลายทอ
น้ำเรียก เวสเซล (vessel)
3.2.3. เซลลพาเรงคิมาในไซเล็ม (xylem
parenchyma)
เปนเซลลที่มีชีวิต มีรูปรางคลาย parenchyma ทั่วไป อยูในมัดทอลำเลียงมัดทอลำเลียงน้ำ
3.2.4. เสนใยในไซเล็ม (xylem fiber)
เปน fiber ที่เปลี่ยนแปลงมาจาก tracheid เพื่อเพิ่มความแข็งแรงใหแกมัดทอลำเลียงน้ำ
สรุปการเจริญเติบโตของเนือ้ เยื่อเจริญและเนื้อเยื่อถาวร
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง เซลลและเนื้อเยื่อของพืช
คําชี้แจง : จงเติมคําตอบลงในชองวางใหสมบูรณ

1. จงอธิบายองคประกอบของเซลลพืช

middle samea

well
primary wall

cail membrand

well walk
Secondary

2. จงเติมคําเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของพืชใหสมบูรณ

appical resistan

ground Mersistem
Brutoderm epidermis
Primaryvascular fissue

vascular cambiam
Secondary vascular Tissue

Cork cambium
3. จงเติมเนื้อเยื่อถาวรที่พบในระบบเนื้อเยื่อพืชทั้งสามประเภทจากคำที่กำหนด พรอมอธิบายหนาที่
-กา
(phloem, parenchyma, ร periderm, xylem, sclerenchyma)
รบ
epidermis, collenchyma, -
ระบบเนื้อเยื่อผิว ระบบเนื้อเยื่อพื้น ระบบเนื้อเยื่อทอลําเลียง
Dermal tissue system Ground tissue system Vascular tissue system
epidermis, Periderma Parsuchyna, zofenchyma, sclerenchyma tylem, thloem

หนาที่ หนาที่ หนาที่


วน างๆ เ น โครงส าง นฐาน ใ
ปกค ม แ ธา
ล เ ยง และ
อาหาร

4. จงเติมขอมูลการเปรียบเทียบเนื้อเยื่อถาวรแตละชนิดลงในตารางใหถูกตองและครบถวน

ลักษณะ Epidermis Parenchyma Collenchyma Sclerenchyma


พัฒนามาจาก
Germal fissue
……………………………. tissue
……………………………. ground
…………………………….
tissue
ground tissue
…………………………….
เนื้อเยื่อเจริญ ground
เ อ ล น ,แ น
ของ

ตำแหนงที่พบ ……………………………. ……………………………. ใน

2offex cortex าน ใน, เ พล,


อ เป อกผล
(บริเวณ/ชั้น epidermis
……………………………. ……………………………. ……………………………. …………………………….
ของอวัยวะ) เ อเ อ นฐานของ น
…………………………….
และ
…………………………….
…………………………….
mal will
ชนิดเซลลที่พบ epider
……………………………. beterei d
…………………………….
Coffene
…………………………….
guard call

pai…………………………….
renchy
man call
hyma cell
……………………………. F : bes
…………………………….
…………………………….
trichom (

I tail wai
10 will wall I call wall
ชนิดผนังเซลล
นsuficie Cellulose
และความหนา ……………………………. …………………………….
ผ ง นาง
…………………………….
เ ยง
primarycall
10
…………………………….
wall แ Left Wall และ

ผ งเซล บาง น ง ประกอบ ห ก


เ อ
…………………………….การ
เพราะเ น

โต
…………………………….
เจ ญ
…………………………….
ไ ส เสมอ
พอกห า
pactin
น พก.
…………………………….
ห าปก. (
บCellulose อน าง allulose น fignin
เ ม
ปฐม
แบบ

ความมีชีวิต ต ตา ต ไ ต
……………………………. ……………………………. ……………………………. …………………………….
ก -ท ห า พ แ
ง ละ
โครงส างภายใน
……………………………. ……………………………. ……………………………. …………………………….
าง แ งแรง
ม สะสม สารอาหาร
ท ใ เ ด ใ- ความ นโครงส างของ น

……………………………. และ ป าง , หลากหลาย


……………………………. หา
ความ แ
…………………………….
โครงส าง
งแรงแ …………………………….
หนาที่
……………………………. chorenchy ภา
……………………………. และ ษ งเคราะ
……………………………. …………………………….
……………………………. …………………………….
Acrenchy Ma เ บ อากาศ ……………………………. …………………………….
ต่
ส่
พื้
ก้
มี
พื้
พื้
มี
มี
ที่
วี
มี
ค่
กั
กั
รั
มี
มี
มีมีวิ
ชี
คุ
นั
ต่
กั
มีรู
พื้
ที่
สั
พื้
น้
ติ
ม่
ป็
นื้
นื้
นื้
ป็
ป็
น้
นี
ห้
ข็
ก่

ยุ
ต่
ชี
ม่
ชั้
ข็
ร่
ผ่
ลั
นั
ช้
ริ
น้

นั

ข้
ม่
ชี

วิ
วิ
ลื

ลี
มี
ยื่
ร่
ต้
วิ
ภู
น้
ห้
ลุ
ค์
ร้
ห์
ตุ
มิ
ร้
ร้
ที่
ร้
กิ
ล์
พื้
ก็
5. จงระบุเซลลเนื้อเยื่อไซเล็มและโฟลเอ็ม รวมถึงเซลลที่เห็นและตอบคำถามใหถูกตอง
5.1. จงระบุเซลลที่พบในเนื้อเยื่อไซเล็ม (label)

=: 621

Vessel

Pareuchyma

tracheit

5.2. จากภาพใหระบุชนิดของเซลลเวสเซลเมมเบอร (vessel member) และเทรคีด (tracheid) แลวตอบคำถาม

Vessel
…………………………………………………………………………… Prachatte
……………………………………………………………………………

จงเปรียบเทียบความแตกตางของเซลลทั้ง 2 ชนิด
vessel อกลวง ให เ นทรงกระบอก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
tracheit อเ ก เ ยว ฟลาย งสอง าน แหลม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ด้
ป็
รี
ล็
ทั้
ญ่
ท่
ท่
6. จงระบุเซลลที่พบในเนื้อเยื่อโฟลเอ็ม (label)

Sieve tube member & Companion cell


X-section L-section

Companion all

Companion well steve fate member


sieve tube member

6.1. จงระบุวิธีการสังเกตลักษณะของเซลลแตละชนิดในโฟลเอ็มวาสามารถสังเกตไดจากลักษณะใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
·Sieve tube Member เ น ต
เซล เ อ เจ เญ ม จะ

ห อ
วเค ย Vacuoleขนาดให ผ ง าน ว าย กษณะ
เ ตะแกรง
นแ น เพล

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
Sieve tube Member หลาย

เ ยง
เซล อ นเ น อ เ ยก าsieve tube

·…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
companion cell - เ น
เซล ต วม บ
ก เ ด อ กา desmufa จ นวน
Steve tube ป าง ยาวเ น
member และ ขนาดเ ก
ด น pโหง จ มาก เ อม ง น ผอม เห ยม

Phloem parenchy ภาค - เ น


· …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ต เซล สะสม อาหาร

· ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
phoem fiber - เ น ความ แ งแรง
ต วยเ
8

เซล ใ บ อ ล เ ยงอาหาร
มี
นิ
มี
มีลั
ท้
หั
ด้
ต่
ส์
ซีพี
ว่
ท่
มี
ที่มี
ร่
ที่
ติ
มีรู
กั
ถึ
มี
มี
มี
ม่มี
ช่
ท่
กั
ชื่
ป็
ป็
ล็
ต็
ห้
ป็
รี

รี
ริ
ชี
มื่
นั
ป็

ม่
ชี
ข็

ผ่
ชี
วิ
ชี
พิ่
รื
ลี่
วิ
ลี
กั
มี
ที่
วิ
ล์
กั
กั
ล์
ล์
นิ
วิ
ยู่
ลี
ร่
ล์
ร์
ญ่
ป็
ป็
ป็
โครงสรางและการเจริญเติบโตของราก
ราก (root) คืออวัยวะของพืชทเี่จริญมาจากรากแรกเกิด (radicle) ซึ่งรากแรกเกิดเปนกลุม เซลลของเอ็มบริโอที่อยู
ดานลางของสวนใตใบเลี้ยง (hypocotyl) เปนสวนแรกสุดที่จะงอกออกจากเมล็ด โดยจะงอกออกมาผานรูไมโครไพล
(micropyle)

หนาที่ของราก
1. พยุงและยึดลำตนติดกับพื้นดินหรือวัสดุปลูก
2. ดูดซึมน้ำและธาตุอาหารที่อยูใ นดินเขาไปยังสวนตาง ๆ ของลำตนและใบ
3. ทำหนาที่พิเศษเฉพาะในพืชบางชนิด เชน สะสมอาหาร หายใจ หรือการสังเคราะหดวยแสง

1. รากปฐมภูมิ (primary root)


เปนรากขั้นแรกสุดของพืชมาจากเอ็มบริโอทีอ่ ยูภ ายในเมล็ด จากนั้นจะเจริญเปน รากแกว (taproot) ตอมาความ
ยาวของรากจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และสามารถสังเกตเห็นขนราก (root hair) เกิดขึ้นที่บริเวณถัดจากปลายรากขึ้นมาได
2. รากทุติยภูมิหรือรากแขนง (secondary root หรือ lateral root)
เปนรากที่เจริญออกมาจากรากขั้นแรกสุดของพืช เพื่อยึดเกาะ ดูดซึม และ ลําเลียงน้ำและแรธาตุตา งๆ จากดินเขาสู
ตนพืช สำหรับพืชบางชนิด เชน ขาวโพดสามารถพบรากแขนงไดเชนกัน และยังพบรากที่เพิ่มขึ้นโดยไมไดเจริญออกมาจากราก
ปฐมภูมิแตเจริญมาจากบริเวณทีอ่ ยูเหนือรากขึ้นไป เรียกวา รากพิเศษ (adventitious root)
ระบบราก (Root system)
เมื่อจําแนกระบบรากโดยอาศัยจุดกำเนิดของรากเปนเกณฑจะแบงได 2 ระบบ คือ
1. ระบบรากแกว (tap root system)
• รากปฐมภูมิ (primary root) มีขนาดใหญ เจริญมาจากรากแรก
เกิดโดยตรง
• รากทุติยภูมิ (secondary root) มีขนาดเล็ก เจริญมาจาก
ชั้นเพริไซเคิล (pericycle)
• พบในพืชใบเลี้ยงคูและพืชเมล็ดเปลือยบางชนิด
2. ระบบรากฝอย (fibrous root system)
• รากแกวของระบบรากฝอยอาจจะหยดุการเจริญไปตั้งแต
ระยะแรก หลังจากงอกออกมาจากเมล็ด หรืออาจเจริญอยู
แตรากแขนงอื่น ๆ จะเจริญไดดีจนมีขนาดเทากัน
• รากทุกรากมีขนาดใกลเคียงกัน
• พบในกลุมพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และเฟน

โครงสรางภายในของปลายราก
เมื่อตัดปลายรากตามแนวยาวและศึกษาลักษณะของโครงสรางภายใน
สามารถแบงปลายรากตามลักษณะของเนื้อเยื่อพืชที่ปรากฏไดเปน 4 บริเวณ
ไดแก
1. หมวกราก (Root cap)
เปนสวนที่อยูปลายสุดของราก ทำหนาที่ปกคลุมปลายรากและปองกัน

-
อันตรายใหกับเนื้อเยื่อสวนปลายสุดของรากที่กำลังแบงตัว ขณะเดียวกันก็ชวยในการ
ชอนไชของรากลงไปในดิน ประกอบดวยเซลลพาเรงคิมาเรียงตัวเปนเปลือกหุม
เนื้อเยื่อเจริญที่ปลายราก เซลลหมวกรากมีการสะสมเม็ดแปงอยูทางปลายเซลล
ดานลาง ทำหนาที่เกี่ยวกับการรับรูทิศทางของแรงโนมถวง มีการสรางเมือกออกมา
ที่มา: นายสิรวิชญ สินประเสริฐรัตน
รอบ ๆ ทำใหปลายรากชุมชื้นและลดเสียดทานกับเม็ดดิน
2. บริเวณการแบงเซลล (zone of cell division)
เปนบริเวณที่ขึ้นไปจากหมวกราก ประกอบดวยเนื้อเยื่อเจริญปลายราก (Root apical meristem) ที่มีการแบงเซลล
แบบไมโทซิสตลอดเวลา โดยแบงเซลลลงดานลางไปเปนหมวกรากและแบงเซลลขึ้นดานบนเพื่อเจริญเติบโตเปน
เนื้อเยื่อชนิดตาง ๆ
ลักษณะของเซลลในบริเวณนี้ ที่โดดเดน
การ เซล แนนไม โท สตลอดเวลาผ งเซล บางแว ลโอ
คือ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แ ง ขนาด เ ก
และ วเค ยส ขนาดให

…………………………………………………………………………………………………………………………
3. บริเวณการยืดตัวของเซลล (zone of cell elongation)
เปนบริเวณที่เซลลเกิดการยืดออก และเริ่มจะเปลี่ยนรูปรางและขนาด เซลลในบริเวณนี้มีการเจริญโดยการขยายตัว
ทางดานยาวมากกวาทางดานกวาง จึงทำใหเซลลมีความยาวเพิ่มขึ้น แวคิวโอลมีขนาดใหญขึ้น มีการสะสมสารตาง ๆ
ทำใหเซลลมีขนาดใหญขึ้น และบางบริเวณสามารถแบงเซลลได
ลักษณะของเซลลในบริเวณนี้ ที่โดดเดน
เซล บ เวณ การเจ ญเ บโต โดยการ ขยาย วทาง เฉยาวมากก า านก าง
คือ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
4. บริเวณเซลลโตเติมวัย (zone of cell maturation)
เปนบริเวณที่เซลลเจริญเต็มที่ มีการเปลี่ยนแปลงรูปรางและเจริญเต็มที่ไปเปนเซลลชนิดตาง ๆ มีการพัฒนาทอ
ลำเลียงอาหารที่ชัดเจน สามารถพบขนราก (Root hair) ที่มีการยืดดานขางเพื่อดูดซึมน้ำและแรธาตุเขาสูรากพืช
ลักษณะของเซลลในบริเวณนี้ ที่โดดเดน
เจ ญเ ม เซล หลายช ดเ นเซล วเซล นราก เซล ไซ เซล โฟลเ ม
คือ…………………………………………………………………………………………………………………………………………
เซล ผม น เ มและ

โครงสรางและการเจริญของลำตน
โครงสรางและการเจริญของใบ

ที่มา: Stern’s introductory plant biology 12th


มี
ซิ
มีนิ
มี
นี้มี
ตี
ต้
ส์
ผิ
ส์
ล็
ล็
ล็
บ่
ต็
ริ
ว้
นั
คิ
ปิ่
ริ
ล์
ล์
ญ่
ล์
ลี
ล์
ที่
ล์
ริ
ล์
ว่
ล์
ตั
นิ
ติ
โครงสรางของรากพืชตัดตามขวาง (Root cross section)
เมื่อนำรากพืชที่มีการเติบโตปฐมภูมิ (Primary growth) จาก Zone of maturation มาตัดตามขวาง (Cross
section) พบวาแบงออกเปน 3 ชั้น เรียงจากดานนอกเขาสูดานใน ไดแก ชั้นเนื้อเยื่อผิว (Epidermis) ชั้นเนื้อเยื่อพื้น (Dermal
tissue) หรือบริเวณคอรเทก (Cortex) และชั้นเนื้อเยื่อลำเลียง (Vascular tissue) หรือสตีล (Stele)
1. ชั้นเนื้อเยื่อผิว (Epidermis) เปนชั้นนอกสุดของราก ประกอบดวยเซลลเรียงตัวชั้นเดียว ผนังเซลลบาง
ไมมีคลอโรพลาสต บางเซลลพัฒนาเปนเซลลขนราก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดซึมน้ำและแรธาตุ
แตมีบางพืชที่มีหลายชั้นเปน multiple epidermis เชน พืชที่มีรากอากาศในวงศ Orchidaceae

2. บริเวณคอรเทก (Cortex) เปนบริเวณระหวาง Epidermis และ Stele ประกอบดวยเซลลพาเรงคิมา


ซึ่งอาจทำหนาที่สะสมสาร (Storage parenchymal cell) เปนบริเวณที่กวางที่สุดในราก ดานในสุดมีเนื้อเยือ่
Endodermis ประกอบดวยเซลลที่มีการพอกของซูเบอริน (Suberin) เปนแถบตามผนังเซลล เรียกแถบนี้วา
แถบแคสพาเรียน (Casparian strip) ซึ่งน้ำจะไมสามารถผานได
3. ชั้นสตีล (Stele) เปนชั้นในสุดของพืช ถัดจากชั้นเอนโดเดอรมิส มีเนื้อเยื่อไซเลม (Xylem) และโฟลเอม (Phloem)
เรียกวา Vascular cylinder แบงออกเปน 3 สวนยอย
3.1 เพอริไซเคิล (Pericycle) เปนชั้นนอกสุดของสตีล เรียงเปนวงชั้นเดียว เจริญมาจาก Procambium ทำหนาที่ใน
การสรางรากแขนงและการเจริญในขั้นทุติยภูมิ

ที่มา: Campbell Biology 10th


3.2 ทอลำเลียงน้ำและอาหาร (Vascular cylinder) เปนกลุมทอลำเลียงที่มีไซเลม (Xylem) อยูตรงกลางวางเปนแฉก
และมีโฟลเอม (Phloem) เรียงอยูระหวางแฉก โดยในพืชในเลี้ยงคูจะมีไซเลม 4 – 5 แฉก แตใบเลี้ยงเดี่ยวมีไซเลมห
ลายแฉก

3.3 บริเวณพิธ (Pith) เปนบริเวณที่อยูกลางราก ประกอบดวยเนื้อเยื่อพาเรงคิมา พบในใบเลี้ยงเดี่ยว ไมคอยพบในราก


ของใบเลี้ยงคู

ที่มา: Stern’s introductory


epidermis

cortex

572 / C

entodermis

pericy ( 12

phloem

eylem

pith

การเจริญแบบทุติยภูมิของราก (Secondary growth of root)


รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มักไมมีเนื้อเยื่อแคมเบียม การขยายขนาดของรากเกิดจากการขยายตัวของเนื้อเยื่อขั้นแรก
ยกเวนพืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิดที่ขนาดของรากขยายใหญขึ้น เนื่องจากมีเนื้อเยื่อพวก cambium-like ซึ่งอยูในชั้นของ cortex
หรือ ground meristem เกิดการแบงตัวเปนเซลลกลุมใหม และเจริญเปลี่ยนรูปไปเปนเซลลตางๆ ทำใหรากมีขนาดใหญขึ้น
พบในรากของมะพราว และปาลม
พืชใบเลี้ยงคูสวนใหญจะมีการเจริญแบบทุติยภูมิ ทำใหรากขยายขนาดใหญขึ้นและมีชีวิตอยูไดเปนเวลานาน การ
เติบโตทุติยภูมิเกิดขึ้นโดยเนื้อเยื่อ vascular cambium และ cork cambium มีการแบงเซลลเพื่อเพิ่มจำนวนเชลลและ
เปลีย่ นแปลงสภาพเปนเนื้อเยื่อถาวร
โดยเนื้อเยื่อที่อยูระหวางไซเลมและโฟลเอมรวมกับเซลลในชั้นเพอริไซเคิล (Pericycle) จะเกิดการเปลี่ยนกลับ
(Redifferentiation) ไปเปนเนื้อเยื่อเจริญ
เนื้อเยื่อเจริญ Vascular cambium จะสรางไซเลมทุติยภูมิ (Secondary xylem) เขาดานใน และโฟลเอมทุติยภูมิ
(Secondary phloem) ออกดานนอก ลักษณะที่เปนแฉกจะหายไปกลายเปนวง

เนื้อเยื่อเจริญคอรกแคมเบียม (cork cambium) สวนใหญเกิดจากเซลลบริเวณเพริไซเคิล มีการแบงเซลล เรียกวา


cork cambium (phellogen) โดยจะแบงใหใหเนื้อเยื่อ cork (phellem) อยูดานนอกและเซลลพาเรงคิมาอยูดานใน พาเรงคิ
มารวมเรียกวา phelloderm
ราก ฟอย แ
ราย ว

ไ แฉก 4 - 6 แจก


เพิ่มเติม
รากพิเศษ (adventitious root)
รากที่ไมไดกำเนิดมาจากรากแรกเกิดโดยตรง แตเกิดมาจากสวนอื่น ๆ ของพืช เชน ลำตน กิ่ง ใบ ขอ เชน ขาวโพดมี
รากพิเศษที่เกิดจากขอของลำตนอยูใกลพื้นดิน, สตรอเบอรรีมีรากพิเศษที่เกิดจากขอของลำตน, โกงกางมีรากพิเศษที่เกิดจาก
ลำตน
ชนิดของรากที่มีการ
หนาที่ ตัวอยางพืชที่พบ
เปลี่ยนแปลงไป
รากสะสมอาหาร
(storage root)
รากค้ำยัน (prop root)

รากเกาะ (climbing root)

หา เอา
รากสังเคราะหดวยแสง
(photosynthetic root)
รากหายใจ (respiratory root
หรือ pueumatophore)
รากกาฝาก (parasitic root)

รากพูพอน (buttress root)


มี
มี
มี
ม่
ม่
ม่
ม่
ก้
มี
มี
มี
มี
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง โครงสรางและการเจริญเติบโตของราก
คำชี้แจง : จงเติมคำตอบลงในชองวางใหสมบูรณ
1. ระบุสวนตาง ๆ ของรากและตอบคำถามใหถูกตอง
หมายเลข 1.1 พัฒนามาจากอะไร

……………………………………………………
pericycle
1.1

secondary "ออ

หมายเลข 1.2 พัฒนามาจากอะไร


1.2 primary root

……………………………………………………..
raticle

1.3 Foot hairs

หมายเลข 1.3 พัฒนามาจากอะไร

……………………………………………………..
epidermis

2. ในระบบรากฝอย รากแกวที่เจริญมาจากรากแรกเกิดจะมีการพัฒนาเปนอยางไร และสงผลใหรากในระบบ


รากฝอยมีลักษณะเปนอยางไร
วใน ระบบราก อ ย อาจจะ ห ด
การ เจ ญ งแ
· รากแ ระยะแรกห งจาก เอกออกมา จากเม ดห อ อาจจะ เจ ญอ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ไป

แ ราก อาจ
แขนง น จน ขนาดเ า น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
จะเจ ญ ไ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
· ราก ขนาดใก เ ยง
ราก

3. จากรูป จงตอบคำถามใหถกู ตอง


หมายเลข 1 คือบริเวณใด สังเกตไดจากอะไร
1 Zone of Maturation เซล
…………………………………………………………………………………………
ยาว ผม เบล หลายช ดเจอเซล ราก
บน

หมายเลข 2 คือบริเวณใด สังเกตไดจากอะไร


of elongation เซล ยาว
…………………………………………………………………………………………
zone การขยาย ว านยาว มากก า าน าง

2 หมายเลข 3 คือบริเวณใด สังเกตจไดจากอะไร


Zone of cell division เซล กผ งเซล าน
………………………………………………………………………………………… ตลอดเวลา เพราะ แ งเซล

3 หมายเลข 4 คือบริเวณใด สังเกตไดจากอะไร


Root cap อ ปลาย
…………………………………………………………………………………………
ราก

4
ฝ่
อื่
มี
มี
ทุ
กั
ส์
ด้
ส์ลี
ข้
ด้
บ้
ด้
บ่
ท่
ต่
ยุ
ริ
ดี
ลั
ริ
รื
ริ
นั
ยู่
ล์
ล์
ล็
ล์
ตั้
ล้
ว่
ตั
กั
นิ
คี
ต่
ก้
ล์
ยู่
ล์
โครงสรางและการเจริญของลำตน
ลำตน (stem) หมายถึง อวัยวะของพืชที่เจริญมาจากเอ็มบริโอสวนเหนือรากแรกเกิด เปนโครงสรางที่อยูเหนือดิน
ของพืช มีลักษณะเปนขอปลองซึ่งเห็นไดชัดในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ขณะที่พืชใบเลี้ยงคูอาจเห็นไดไมชัดเจน
หนาที่ของลำตน
1. ตนของพืชมีหนาที่สรางใบ ค้ำกิ่งกานสาขาใหใบไดรับแสง
2. มีโครงสรางลำเลียงเพื่อนำน้ำ ธาตุอาหาร และผลิตภัณฑจากกระบวนการสังเคราะหดวยแสงไปยังสวนตาง ๆ
3. สรางอวัยวะสืบพันธุ (ดอก)
4. สามารถทำหนาที่พิเศษอื่น ๆ เชน สะสมอาหาร สังเคราะหดวยแสง

โครงสรางภายนอกของลำตน
โครงสรางภายนอกของลำตน แบงออกเปน 2 สวน คือ
1. ขอ (node)
• เปนสวนลำตนที่มีตา ใบ กิ่ง หรือดอก งอกออกมา
• มักจะพองใหญกวาสวนอื่นของลำตน
• เปนที่ที่มีใบติดอยู
2. ปลอง (internode)
• เปนสวนลำตนที่อยูระหวางขอ
• การปรากฏของขอและปลองอาจไมชัดเจนในพืชบางกลุม
เนื่องจากการปกคลุมของไทรโคม (trichome) หรือคอรก (cork)
โครงสรางปลายยอดตัดตามยาว (Shoot longitudinal section)
เมื่อนำปลายยอดตนออนตัดตามยาว (Longitudinal section) จะเห็น 4 โครงสราง
1. เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด (Shoot apical meristem) เปนบริเวณที่เแบงเซลลตลอดเวลา จะพัฒนาไปเปนลำตน กิ่ง ใบ
2. ใบแรกเกิด (Leaf primordium) ใบที่อยูดานขางเนื้อเยื่อเจริญ ทำหนาที่ปกคลุมและปองกันอันตรายเนื้อเยื่อเจริญ
3. ใบออน (Young leaf) ใบพืชที่ยังเจริญไมเต็มที่ ยังสามารถแบงเซลลและเปลี่ยนรูปรางได ในระยะนี้ใบออนจะยังแผกาง
ไมเต็มที่ โดยที่ซอกของใบออนจะมีเนื้อเยื่อตนกำเนิดกิ่ง เรียกวา ตาแรกเกิด (Axillary bud) ตาแรกที่เกิดบริเวณซอกกิ่ง ซึ่ง
จะเจริญไปเปนกิ่งหรือดอกใหมได
4. ลำตนออน (young stem) อยูถัดจากตำแหนงใบเริ่มเกิดลงมา เปนบริเวณที่พบเซลลที่มีแนวการแบงเซลลตั้งฉากกับแกน
ยาวของลำตน เซลลที่ไดจากการแบงจะมีการขยายขนาดทั้งดานความยาวและความกวาง ทำใหลำตนสูงขึ้นและมีขนาดใหญ
ขึ้น จาดนั้นเซลลจะเปลี่ยนสภาพและเจริญเต็มที่เพื่อเปนเซลลชนิดตาง ๆ ในเนื้อเยื่อถาวรเพื่อทำหนาที่เฉพาะตอไป
โครงสรางและการเจริญของใบ

ที่มา: Stern’s introductory plant biology 12th

โครงสรางภายในของลำตนระยะที่มีการเติบโตปฐมภูมิ
โครงสรางภายในของลำตนพืชตัดตามขวาง (Stem cross section)
เมื่อนำลำตนพืชที่มีการเติบโตปฐมภูมิ (Primary growth) มาตัดตามขวาง (Cross section) พบวาแบงออกเปน 3
ชั้น เรียงจากดานนอกเขาสูดานใน ไดแก ชั้นเนื้อเยื่อผิว (Epidermis) ชั้นเนื้อเยื่อพื้น (Dermal tissue) หรือบริเวณคอรเทก
(Cortex) และชั้นเนื้อเยื่อลำเลียง (Vascular tissue) หรือสตีล (Stele)
1. ชั้นเนื้อเยื่อผิว (Epidermis) เปนชั้นนอกสุดของลำตน ประกอบดวยเซลลเรียงตัวชั้นเดียว ผนังเซลลบางดานนอกโคงออก
ไมมีคลอโรพลาสต มีสารคิวตินเคลือบเพื่อปองกันการระเหยของน้ำ เรียกชั้นนี้วา Cuticle อาจพบเซลลคุมหรือตอมได
pro

s t o สด

ม่
2. บริเวณคอรเทก (Cortex) เปนบริเวณระหวาง Epidermis และ Stele ซึ่งจะแคบมาก ประกอบดวยเซลลพาเรงคิมา อาจ
พบเนื้อเยื่อคอลเลนคิมาตามมุมหรือขอบ ในพืชน้ำมีการจัดเรียงใหเกิดชองอากาศ (Air space) เพื่อชวยในการลอยตัว โดยจะมี
เซลลพาเรงคิมามาเรียงลอมรอบ เรียกวา Aerenchyma

3. ชั้นสตีล (Stele) เปนชั้นในสุดของพืช ซึ่งจะแยกจากชั้นคอรเทกไมชัดเจน โดยจะมีบริเวณกวางมากที่สุด ซึ่งสามารถแบง


ออกเปน
3.1 มัดทอลำเลียง (Vascular bundle) ประกอบดวยเนื้อเยื่อไซเลมและโฟลเอม โดยในพืชใบเลี้ยงคู มัดทอ
ลำเลียงจะเรียงเปนวงรอบลำตน โดยไซเลมอยูดานในและโฟลเอมอยูดานนอก แตพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มัดทอลำเลียงจะ
กระจายทั่วลำตน
3.2 บริเวณพิธ (Pith) เปนบริเวณที่อยูในสุดของพืช ประกอบดวยเนื้อเยื่อพาเรงคิมา พบไดทั้งใบเลี้ยงคูและใบ
เลี้ยงเดี่ยว ทำหนาที่ในการสะสมสาร ๆ ในพืชใบเลี้ยงคูสามารถเห็น pith ไดชัดเจน แตในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีมัดทอ
ลำเลียงแบบกระจายทำใหไมสามารถแยกบริเวณของ pith ไดชัดเจน เมื่อเกิดการเจริญแบบทุติยภูมิจะสลายไปเปน
ชองวาง เรียกวา Pith cavity

ที่มา: Campbell Biology 10th, Stern’s introductory


plant biology 12th
การเจริญแบบทุติยภูมิของลำตน (Secondary growth of stem)
พืชใบเลี้ยงคูที่เปนไมเนื้อแข็ง (Woody plant) มีการเจริญดานขางเนื่องจากการบางเซลลของ Lateral meristem
1. แคมเบียมทอลำเลียง (Vascular cambium) เนื้อเยื่อที่สรางเนื้อเยื่อทอลำเลียงทุติยภูมิ (Secondary vascular tissue)
ประกอบดวย ไซเลมทุติยภูมิ (Secondary xylem) ที่เจริญเขาดานในและโฟลเอมทุติยภูมิ (Secondary phloem) ที่เจริญ
ออกดานนอก โดยอัตราการแบงเซลลของไซเลมจะเร็วกวา ทำใหเกิดเปนวงป โดยในชวงปที่มีน้ำมากไซเลมจะมีขนาดใหญและ
มีสีจาง (Spring wood) แตในชวงที่มีน้ำนอยไซเลมจะมีขนาดเล็กและมีสีเขม (Summer wood)

เพิ่มเติม
** ในการเจริญแบบทุติยภูมิจะเกิดการเปลี่ยนแปลงของ Procambium กลายเปน Fascicular cambium ที่ทำหนาที่ในการ
สรางเนื้อเยื่อทอลำเลียงทุติยภูมิ และเนื้อเยื่อพาเรงคิมาระหวางทอลำเลียงจะเกิด Redifferentiation ไปเปนเนื้อเยื่อเจริญที่
เรียกวา Interfascicular cambium เพื่อสรางเนื้อเยื่อลำเลียงเชนเดียวกัน โดยจะเกิดการสรางในลักษณะวง โดยเรียกเนื้อเยื่อ
เจริญทั้งสองวา Vascular cambium

2. คอรกแคมเบียม (Cork cambium/ Phellogen) เนื้อเยื่อเจริญที่สรางสวนหนึ่งของเปลือกไม (Bark) โดยจะแบงเซลล


ออกดานนอก เรียกวา คอรกเซลล (Cork cell) หรือเฟลเลม (Phellem) ซึ่งมีสารซูเบอรินพอก ชวยลดการสูญเสียน้ำใหกับพืช
และมีการแบงเซลลเขาดานใน เรียกวา เฟลโลเดิรม (Phelloderm) ที่มีลักษณะคลายกับพาเรงคิมา โดยจะเรียกชั้น 3 ชั้น
(Phellem, Phellogen, Phelloderm) วา เพอริเดิรม (Periderm) ซึ่งอาจเกิดการแตกออกจากการแบงเซลล เรียกวา
เลนทิเซล (Lenticel) ซึ่งชวยในการแลกเปลี่ยนแกสในลำตนพืช

ที่มา: Stern’s introductory plant biology 12th


เปลือกไมและเนื้อไม (Bark and Wood)
- เปลือกไม (Bark) คือสวนที่ถัดออกมาจาก Vascular
cambium ซึ่งไดแก Secondary phloem, บริเวณ Cortex และ
Periderm ซึ่งจะมีความหนาแตกตางกันตามชนิดพืช
- เนื้อไม (Wood) คือสวนที่อยูดานในไซเลมทุติยภูมิ โดยไซเลมที่
มีอายุมากสุดจะอยูดานใน ซึ่งจะไมสามารถลำเลียงน้ำได มักมีการ
สะสมสารที่มีสีเขม เรียกวา แกนไม (Heart wood) สวนไซเลมที่
ยังสามารถลำเลียงได จะมีสีจางกวา เรียกวา กระพี้ (Sapwood)
ที่มา: Campbell Biology 10th
เพิ่มเติม
ประเภทของลำตน
ลำตนเหนือดิน (aerial stem)
1. ไมลมลุก (herb) หมายถึง พืชขนาดเล็ก ที่ไมมีเนื้อไมลำตนออน มีเนื้อเยื่อที่ใหความแข็งแรงแกลำตนที่
นอย อายุการเจริญเติบโตสั้น

2. พืชที่มีเนื้อไม (woody plant) หมายถึง พืชที่มีลำตนแข็งแรงมีกลุมเนือ้ เยื่อแข็งแรงมาก อายุการ


เจริญเติบโตยาวนานกวาไมลมลุก แบงออกเปน 2 ชนิด ไดแก
1. ไมพุม (shrub) : เปนพืชที่มี
การแตกกิ่งกานสาขาตั้งแตโคนตน
ทำใหเปนพุม มีขนาดเล็กหรือ
ขนาดกลาง เชน ชบา
2. ไมตน (tree) : เปนพืชที่มลี ำ
ตนเดี่ยว มีการแตกกิ่งที่ตอนบน
ของลำตน มีตั้งแตขนาดเล็กถึง
ขนาดใหญเชน หูกวาง มะมวง
ขนุน

3. ไมเลื้อยหรือไมเถา (climber) หมายถึง พืชที่มีอวัยวะ


สวนหนึ่งเปลี่ยนแปลงไป หรือใชสวนของลำตนพันกับหลัก
หรือตนไมตนอื่น
4. พืชอิงอาศัย (epiphyte) หมายถึง พืชที่เจริญ
อาศัยอยูบนตนไมอื่น และไมไดเบียดเบียนพืชให
อาศัย เชน เฟรนเขากวาง เฟรนชายผาสีดา เอื้อง
ผึ้ง เอื้องไข (กลวยไม)

5. พืชเบียน (parasitic plant) หมายถึง พืชที่เจริญอาศัยอยูบน


ตนไมอื่น และเบียดเบียนอาหารจากพืชใหอาศัย เชน กาฝาก
มะมวง

ลำตนใตดิน (underground stem)


1. เหงา (rhizome)
เปนลำตนนอนที่ทอดขนานไปกับผิวดิน มีขอและปลองชัดเจน
เหงาอาจมีลักษณะพิเศษเปนลำตนสะสมอาหารดวย เชน ขิง ขา
พุทธรักษา
2. หัวแบบมันฝรั่ง (tuber)
เปนลำตนใตดินที่เกิดจากสวนปลายของ
กิ่งที่พองอยูในดิน ลำตนสวนนี้จะพองออกทำ
หนาที่สะสมอาหาร มีขอและปลองไมชัดเจน
บริเวณขอไมมใี บเกล็ด (scale leaf) และราก
บริเวณตามีลักษณะบุมลงไป เชน มันฝรั่ง
3. หัวแบบหัวหอม (bulb)
เปนลำตนแนวตั้ง รูปรางสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ลำตนมีกานใบ
หุมไว มีใบสะสมอาหาร เชน หอม กระเทียม บัวจีน
4. หัวแบบเผือก (corm)
เปนลำตนแนวตั้ง มีขอ ปลอง และตาชัดเจน แต
ปลองสั้นมาก อาจมีใบเกล็ด หรือรอยของโคนใบติดอยู
เปนเกล็ดเล็ก ๆ เชน เผือก แหว บอน
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง โครงสรางและการเจริญเติบโตของลำตน
คำชี้แจง : จงเติมคำตอบลงในชองวางใหสมบูรณ
1. จงระบุโครงสรางภายนอกของลำตนและโครงสรางภายในปลายยอดใหถูกตอง
shoot metistem
apical
Old leaf primodium leaf
Primodium
c
young (

internote axintary buf

node

shoot metistem
apical

2. จงระบุบริเวณ/ชั้นเนื้อเยื่อ/เนื้อเยื่อที่พบในลำตนลงในชองวางใหถูกตอง

Ground fisSUR
epidermis

Cortex

↑: / h
vascular bundle

dicof epidermis Mono cof

(อะ fex

thloem

Vascular cambiam

Vessel
3. จงระบุบริเวณ/เนื้อเยื่อของลำตนลงในชองวางใหถูกตอง
phelloderm

Cork cambuim

CorK

phloem

Vasculars Cumbrin

dem
xy

Primary xylem

4. Bark ประกอบไปดวยเนื้อเยื่อใดของลำตนบาง
20
phloem, i phloem, phello term,
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
campain, Cork lork

5. วงปของตนไมเกิดจากสาเหตุใด
เยอะ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เพราะ า ล เ ยง
เลยสามารถแ ง เลย
เซล เจ ญ ไ พอ เยอะ อง เยอะ เวสเซล เยอะขนาดให เลย อน

6. จากภาพเปนชิ้นสวนที่มาจากตนไมที่มีอายุกี่ป

…………………………………………………………………………
วา

·.........
น้
น้
ต้
มี
ต์
น้
ปู
รีอ่


ด้
พ่


ริ
ดี
ลี
ล์
ว่
ญ่
โครงสรางและการเจริญของใบ
ใบเปนโครงสรางที่อยูเหนือดิน สวนใหญมักมีสีเขียว ทำหนาที่สังเคราะหดวยแสง แลกเปลี่ยนแกส
และคายน้ำ โดยโครงสรางใบจะแบงออกเปน 3 สวน คือ แผนใบ (Blade) กานใบ (Petiole) และหูใบ
(Stipule)
กเธอ คน 24 วโมง

1. แผนใบ (Blade/ Lamina) มีลักษณะเปนแผน แบน บริเวณตรงกลางมีเสนกลางใบ (Midrib) เสนใบ (Vein) ที่
ภายในมีเนื้อเยื่อลำเลียง และเสนใบยอย (Veinlet) ซึ่งในพืชใบเลี้ยงคูมีการจัดเสนใบแบบรางแห (Netted
venation/ Reticulate venation) สวนในใบเลี้ยงคูมีการจัดเสนใบแบบขนาน (Parallel venation) เปนพื้นที่สว น
ใหญของใบ มีลักษณะแผ แบนบริเวณตรงกลางประกอบไปดวยเสนกลางใบ (midrib) และเสนใบ (vein) ซึ่งมี
เนื้อเยื่อลำเลียงของพืชที่แยกมาจากลำตน การจัดเรียงเสนใบมักแตกตางกันในพืชใบเลี้ยงคูและพืชใบเลี้ยงเดี่ยว

2. กานใบ (Petiole) เปนสวนที่เชื่อมแผนใบกับลำตนหรือกิ่ง ทำใหใบเคลื่อนไหวตามลมได โดยในพืชในเลี้ยงเดี่ยวมัก


ไมพบกานใบ แตกานใบจะแผเปนแผนหอหุมลำตน เรียกวา กาบใบ (Leaf sheath) เชน กลวย ขาวโพด เปนตน
นี้
รั
ชั่
3. หูใบ (Stipule) เปนสวนที่อยูบริเวณโคนกานใบ คลายใบขนาดเล็ก ซึ่งพบไดในพืชบางชนิด เชน กุหลาบ ชบา เปนตน

ที่มา: Stern’s introductory plant biology 12th

ใบสามารถแบงออกเปน 2 ชนิด คือ


1. ใบเดี่ยว (Simple leaf) เปนใบที่มีแผนใบเดียวติดอยูบนกาน 1 กาน แผนใบอาจมีขอบเรียบหรือเวาเขามา แตไมถึงเสน
กลางใบ เชน มะละกอ พริก ชมพู ออย
2. ใบประกอบ (Compound leaf) เปนใบที่มีหลายแผนใบติดอยูบนกาน 1 กาน โดยใบยอยจะเรียกวา Leaflet เชน
มะพราว กระถิน กุหลาบ กามปู ชมพูพันธทิพย ซึ่งมีขอดีในการปองกันการฉีกขาดจากขนาดของแผนใบ
โครงสรางของใบตัดตามขวาง
เมื่อนำใบตัดตามขวาง (Cross section) พบวามีความหลากหลายดานโครงสรางสูงมาก สามารถปรับตามการ
ดำรงชีวิตของพืชชนิดนั้น ซึ่งแบงออกเปน 3 ชั้น คือ ชั้นเนื้อเยื่อผิว (Epidermis) ชั้นเนื้อเยื่อพื้น (Dermal tissue) หรือบริเวณ
มีโซฟลล (Mesophyll) และชั้นเนื้อเยื่อลำเลียง (Vascular tissue) หรือมัดทอลำเลียง (Vascular bundle)
1. ชั้นเนื้อเยื่อผิว (Epidermis) เปนชั้นที่อยูนอกสุด ประกอบดวยเซลลผิวที่มีลักษณะแบนบาง ไมมีคลอโรพลาสต อาจเรียง
ตัวชั้นเดียวหรือหลายชั้น มีชั้นสารคิวตินเคลือบ เรียกวา Cuticle เพื่อปองกันการคลายน้ำ แบงออกเปน 2 ชั้น
1.1 เนือ้ เยื่อผิวดานบน (Upper epidermis) ดานบนเปนดานที่เจอแสงโดยตรง จึงมีชั้น Cuticle ที่หนา เพื่อลดการระเหย
น้ำ มีจำนวนเซลลคุมนอยกวาดานลาง พืชบางชนิดมีเซลลพิเศษที่มีลักษณะบาง เรียกวา Bulliform cell ทำใหใบเกิดการงอ
1.2 เนื้อเยื่อผิวดานลาง (Lower epidermis) ดานลางเปนดานทีแ่ สงทะลุผา นชั้น Cuticle จึงบางกวาดานบน และมีเซลล
คุม มากกวาดานบน สงผลใหสามารถคายน้ำไดดีกวา
2. ชั้นมีโซฟลล (Mesophyll) เปนบริเวณตรงกลางใบ โดยในใบเลี้ยงคูจะแบงออกเปน 2 ชั้น
2.1 ชั้นพาลิเสด (Palisade mesophyll) ประกอบดวยเนื้อเยื่อคลอเรงคิมา
(Chlorenchyma) เรียงตัวเปนระเบียง 1 – 2 ชั้น เปนบริเวณที่เกิดการสังเคราะห
ดวยแสง ทำใหดานที่รับแสงมีสีเขียวเขมกวาดานที่ไมไดรับแสง
2.2 ชั้นสปองจี (Spongy mesophyll) ประกอบดวยเนื้อเยื่อพาเรงคิมาที่รูปรางไม
แนนอน ที่พบคลอโรพลาสจึงสามารถสังเคราะหดวยแสงได เซลลไมหนาแนนเหมือน
พาลิเสด ทำใหมีชองอากาศ (Air space) ทำใหสามารถแลกเปลี่ยนแกสได นอกจากนี้
ยังสามารถเก็บสารตาง ๆ จึงอาจจัดเปน Storage parenchyma ได

3. มัดทอลำเลียง (Vascular bundle) ประกอบดวยทอลำเลียงไซเลมและโฟลเอม


ที่มา: นายสิรวิชญ สินประเสริฐรัตน
โดยไซเลมมักจะวางตัวอยูดานบนและโฟลเอมวางตัวอยูดานลาง อาจมีเซลลลอมรอบทอ
ลำเลียง เรียกวา Bundle sheath cell โดยพืชบางชนิด เชน พืช C4 มี Bundle sheath cell ขนาดใหญและมีคลอโรพลาสต
จำนวนมาก เพราะเกิดการตรึงคารบอนไดออกไซดครั้งที่สอง นอกจากนี้พืชบางชนิดมีเซลลคอลเลนคิมาหรือสเกลอเรงคิมา
ลอมรอบ Bundle sheath เรียกวา Bundle sheath extension
ที่มา: Plant anatomy – a concept-based approach to the
structure of seed plants

upper epidermis xy
lem
%:: chome
Vascular bundle
↓ phloem

sto ma

รอพาะ epidermis bundle Sheath zell

upper epidermis xylem

palisade mesophyll upper epidermis

i
spongy mesophy
mesophyll xylem
phloem
/อ พาล epidermis
เอพาร epidermis

phloem
bundle Sheath cell
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง โครงสรางและการเจริญเติบโตของใบ
คำชี้แจง : จงเติมคำตอบลงในชองวางใหสมบูรณ
1. ระบุสวนประกอบของใบลงในชองวางใหถูกตอง

Milfib

ปรง:ท
set: 0 / e
&

3 Ma
Nette 2 vein

stipules

2. จงวงกลมลอมรอบชนิดของใบใหสอดคลองกับตัวอยางที่กำหนดให

ใบมะขาม เปน ใบเดี่ยว / ใบประกอบ ใบผักหวาน เปน ใบเดี่ยว / ใบประกอบ

ใบตำลึง เปน ใบเดี่ยว / ใบประกอบ ใบจั๋ง เปน ใบเดี่ยว / ใบประกอบ


3. จงระบุบริเวณ/เนื้อเยื่อ/เซลล ที่พบจากการศึกษาภาคตัดขวางและการลอกผิวใบของแผนใบใหถูกตอง

palisade mesophyll

bundle Sheath cell


spongy mesophy

ใจ พอะ epidermis

upper epidermis
bundle Sheath cell

stomat a
Vascular bundle

1/
Mesophy

cris
epidermal
stonatal
prote

guard cells

call
subsidiary

You might also like