You are on page 1of 72

โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 1

โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
1. บทนำ 6. กำรคำยน้ำของพืช
2. เซลล์และเนือ้ เยื่อพืช 7. กำรดูดน้ำของพืช
3. โครงสร้ำงและหน้ำที่ของรำก 8. กำรลำเลียงน้ำของพืช
4. โครงสร้ำงและหน้ำที่ของลำต้น 9. กำรดูดซึมและลำเลียงธำตุอำหำรของพืช
5. โครงสร้ำงและหน้ำที่ของใบ 10. กำรลำเลียงสำรอำหำรของพืช

1. บทนา
การจัดกลุ่มของสิ่งมีชีวิต

Kingdom
➢ Virus ไวรัสและไวรอยด์
➢ Monera Bacteria และ สำหร่ำยสีเขียวแกมน้ำเงิน (Cyanobacteria)
➢ Protista Protozoa, สำหร่ำยต่ำงๆ และรำเมือก
➢ Fungi เห็ด, รำ, yeast
➢ Plant พืชชนิดต่ำงๆ
➢ Animal สัตว์ชนิดต่ำงๆ
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 2
การจัดจาแนกหมวดหมู่ของ Kingdom plant
1. พืชไม่มีท่อลาเลียง (Non-vascular plants) : Gametophyte เด่น
− Phylum Hepatophyta ลิเวอร์เวิร์ต (liverwort)
− Phylum Anthocerophyta ฮอร์นเวิร์ต (hornwort)
− Phylum Bryophyta Moss, Sphagnum moss (ข้าวตอกฤๅษี)
2. พืชที่มีท่อลาเลียง (Vascular plant) : Sporophyte เด่น
2.1 พืชไม่มีเมล็ด (Seedless vascular plants)
− Phylum Lycophyta ตีนตุ๊กแก, สร้อยสุกรม, หางสิงห์
− Phylum Pterophyta หวายตะนอย, หญ้าถอดปล้อง, เฟิร์นต่างๆ
2.2 พืชมีเมล็ด (Seed vascular plants)
➢ พืชเมล็ดเปลือย (Gymnosperm) = ไม่มีผนังรังไข่ (ovary wall) หุ้มเมล็ด
− Phylum Coniferophyta สน 2 ใบ, สน 3 ใบ, สนฉัตร, สนหางสิงห์
− Phylum Cycadophyta ปรง, ปรงป่า, มะพร้าวเต่า, ปรงญี่ปุ่น
− Phylum Ginkophyta แป๊ะก๊วย (Ginkgo biloba)
− Phylum Gnetophyta มะเมื่อย
➢ พืชเมล็ดไม่เปลือย (Angiosperms) = มีผนังรังไข่ (ovary wall) หุ้มเมล็ด
− Phylum Anthophyta (พืชดอก) = จอก, แหน, แหนเป็ด, ไข่น้า (ผ้า), สนทะเล, สนปฎิพัทธ์,
สาหร่ายข้าวเหนียว, สาหร่ายหางกระรอก
o Class Dicotyledonae พืชใบเลียงคู่
o Class Monocotyledonae พืชใบเลียงเดี่ยว

เพิ่มเติม...ท่อลาเลียง (Vascular bundle) ประกอบด้วย


− ท่อลำเลียงน้ำ (Xylem)
− ท่อลำเลียงอำหำร (Phloem)
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 3
Kingdom plant
− เป็น Eukaryotic cell
− เป็น Multicellular organism, มีเนือเยื่อ และมีระยะ Embryo
− มีวงชีวิตแบบสลับ (Alternative of generation/Metagenesis) แบ่งเป็น 2 ระยะ
o Sporophyte ระยะที่ดำรงชีวิต จำนวนชุดโครโมโซม diploid (2n)
o Gametophyte ระยะที่ดำรงชีวิต จำนวนชุดโครโมโซม haploid (n)

วงจรชีวิตแบบสลับของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 4
ตารางแสดงลักษณะต่าง ๆ ในอาณาจักรพืช
Phylum วงจร ท่อ ราก เมล็ด รัง ตัวอย่าง
ชีวิตเด่น ลาเลียง ไข่
Hepatophyta ลิเวอร์เวิร์ต (liverwort)
Anthocerophyta ฮอร์นเวิร์ต (hornwort)
Bryophyta Moss, Sphagnum moss
(ข้าวตอกฤๅษี)
Lycophyta ตีนตุ๊กแก, สร้อยสุกรม, หางสิงห์
Pterophyta หวายตะนอย, หญ้าถอดปล้อง,
เฟิร์นต่างๆ
Coniferophyta สน 2 ใบ, สน 3 ใบ, สนฉัตร,
สนหางสิงห์
Cycadophyta ปรง, ปรงป่า, มะพร้าวเต่า, ปรงญี่ปุ่น
Ginkophyta แป๊ะก๊วย (Ginkgo biloba)
Gnetophyta มะเมื่อย
Anthophyta พืชดอกต่ำงๆ,จอก, แหน, แหนเป็ด,
ไข่น้า (ผ้า), สนทะเล, สนปฎิพัทธ์,
สาหร่ายข้าวเหนียว,
สาหร่ายหางกระรอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 5
2. เซลล์และเนื้อเยื่อพืช
Plant cell
− เป็น Eukaryotic cell
− Plant cell
o Membrane = ผนังเซลล์ (cell wall) + เยื่อหุม้ เซลล์ (cell membrane/plasma membrane)
o Cytoplasm
▪ พบ Organelle ทั่วไป เช่น Chloroplast
▪ ไม่พบ Organelle ………………………………………….....................……
o Nucleus = (Nucleus + Cytoplasm =……………...........…………………..)
− Cell wall
o เป็นส่วนนอกสุดของเซลล์ พบใน Plant, Fungi, Protista, Monera (ไม่พบในเซลล์สัตว์)
o ทำหน้ำที่เสริมสร้ำงควำมแข็งแรงให้แก่เซลล์
o Cell wall ประกอบด้วยสำรต่ำงๆ เป็นองค์ประกอบ
▪ Fungus cell wall เป็นพวก chitin
▪ Diatom cell wall เป็นพวก silica
▪ Algae cell wall เป็นพวก cellulose
▪ Bacteria cell wall เป็นพวก peptidoglycan (ยกเว้น mycoplasma ไม่มี cell wall)

Plant cell wall


− มีช่องเล็กๆ ที่ยอมให้สำรต่ำงๆ ผ่ำนเข้ำออกสะดวก คือ.......………………………..……………..………….…………….
− มีบริเวณที่เชื่อมกันระหว่ำงเซลล์พืช เรียกว่ำ……………………………………………………………...........………………….
− Cell wall ของพืช มี 2 ชั้น
o ผนังเซลล์ปฐมภูมิ/ขั้นแรก (Primary cell wall / Primary wall / 10 cell wall)
▪ พบในเซลล์ทุกชนิดของพืช
▪ ประกอบด้วย Cellulose, Hemicellulose, Pectin
o ผนังเซลล์ทุติยภูมิ/ขั้นที่สอง (Secondary cell wall / Secondary wall / 20 cell wall)
▪ พบในเซลล์บางชนิด ที่ต้องกำรเสริมสร้ำงควำมแข็งแรงเพิ่มเติม
▪ ประกอบด้วย Lignin, Suberin, Cutin/Cuticle ตำมลำดับ
▪ Lignin เป็นสำร carbohydrate ที่สำมำรถย้อมติดสี safranin (สีแดงชมพู) ได้ดี
− เซลล์พืชที่ไม่มีชวี ิต มีลักษณะ............................................................................................................
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 6
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 7
เนื้อเยื่อ (tissue)
เนือ้ เยื่อพืช แบ่งเป็น 2 ประเภท
❖ เนื้อเยื่อเจริญ (Meristematic tissue)
❖ เนื้อเยื่อถาวร (Permanent tissue)

เนื้อเยื่อเจริญ (Meristematic tissue)


− สำมำรถแบ่งเซลล์แบบ mitosis ได้ตลอดชีวิต และมีผนังเซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell wall)
− ลักษณะสำคัญ
o ผนังเซลล์บำง, นิวเคลียสขนำดใหญ่, vacuole ขนำดเล็ก, เซลล์อยู่ชิดติดกัน
o เป็นเนื้อเยือ่ ที่ยังไม่มีการเปลี่ยนรูปร่าง (Embryonic cell / Stem cell) เพื่อไปทำหน้ำที่เฉพำะ
อย่ำง
− รูปแบบกำรเจริญของพืช
o การเจริญขั้นแรก (Primary growth) เพิ่มควำมสูง แกน y
o การเจริญขั้นที่สอง (Secondary growth) เพิ่มขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำง แกน x, z
− แบ่งได้ 3 ชนิด
o เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย (Apical meristem)
o เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อปล้อง (Intercalary meristem)
o เนื้อเยือ่ เจริญด้านข้าง (Lateral meristem)
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 8
Apical meristem
− พบในพืชทุกชนิด ซึ่งช่วยเพิ่มควำมยำวและควำมสูง จัดเป็นการเจริญขั้นแรก (Primary growth)
− พบที่บริเวณ
o ปลายยอด (Apical shoot meristem) ทำให้ลำต้นยำว, สร้ำงใบ,กิ่ง และตำ
o ปลายราก (Apical root meristem) ทำให้รำกยำวขึน้

Intercalary meristem
− พบบริเวณเหนือข้อ (node) ของพืชใบเลี้ยงเดีย่ วเท่านั้น เช่น ไผ่, อ้อย, ข้ำว, ข้ำวโพด, และหญ้ำต่ำงๆ
− ช่วยให้ปล้อง (internode) ของพืชยืดยำวออก จัดเป็นการเจริญขั้นแรก (Primary growth)
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 9
Lateral meristem
− เป็นเนื้อเยื่อที่ที่แบ่งตัวทำให้พืชมีการเพิ่มความกว้าง หรือเส้นผ่านศูนย์กลาง
− จัดเป็นการเจริญขั้นที่สอง (Secondary growth)
− พบใน รำกและลำต้น ของ
o พืชใบเลี้ยงคู่ทุกชนิด (Dicotyledonae)
o พืชเมล็ดเปลือย (Gymnosperm)
o พืชใบเลี้ยงเดี่ยวบางชนิด เช่น หมากผูห้ มากเมีย, เข็มกุดั่น, ป่านศรนารายณ์ และจันทน์ผา
− ได้แก่ แคมเบียม (Cambium) แบ่งเป็น
o Vascular cambium หน้ำที่
1. แบ่งเซลล์เพื่อเจริญเป็น
▪ Secondary phloem (ด้ำนนอก) เป็นส่วนของเปลือกไม้ (bark)
▪ Secondary xylem (ด้ำนใน) เป็นส่วนของเนือ้ ไม้ (wood)
2. ใช้แบ่งเนือ้ ไม้ (wood) ออกจำกเปลือกไม้ (bark)
o Cork cambium / Phellogen (พบบริเวณเปลือกไม้ (Bark) ในชัน Periderm) หน้ำที่
1. แบ่งเซลล์เพื่อเจริญเป็น
▪ Cork/Phellem (ด้ำนนอก)
▪ Phelloderm (ด้ำนใน)

Cork cambium/Phellogen + Cork/Phellem + Phelloderm =…………………………………


โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 10

การเปรียบเทียบระหว่างเนื้อเยื่อเจริญและการเจริญในพืชต่างๆ
การเปรียบเทียบ Apical meristem Intercalary meristem Lateral meristem
รูปแบบกำรเจริญเติบโต
พืชใบเลีย้ งเดี่ยว
พืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลีย้ งเดี่ยว
(หมำกผู้หมำกเมีย
เข็มกุดั่น, ป่ำนศรนำรำยณ์,
และจันทน์ผำ)
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 11
เนื้อเยื่อถาวร (Permanent tissue)
− เป็นเนื้อเยื่อที่เจริญเต็มที่ และหยุดกำรแบ่งเซลล์แบบ mitosis
− เป็นเนื้อเยื่อที่เปลี่ยนแปลงรูปร่ำง และส่วนประกอบของเซลล์ มำจำก เนือ้ เยื่อเจริญ (meristem)
เพื่อทำหน้ำที่เฉพำะอย่ำง
− แบ่งเป็น 2 ประเภท
o เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (Simple permanent tissue) ประกอบด้วยเซลล์ชนิดเดียวกัน
o เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน (Compound permanent tissue) ประกอบด้วยเซลล์ > 1 ชนิด

เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (Simple permanent tissue)


➢ เนือเยื่อถาวรป้องกัน (Protective tissue)
➢ เนือเยื่อพืน (Ground tissue)

❖ เนื้อเยือ่ ถาวรป้องกัน (Protective tissue)


− เป็นเนื้อเยื่อที่มักอยู่ด้ำนนอกสุดของ รำก ลำต้น และใบ
− ทำหน้ำที่เสริมสร้ำงควำมแข็งแรง, ป้องกันอันตรำย และลดกำรสูญเสียน้ำ
− ประกอบด้วย = Epidermis และ Cork/phellem

Epidermis (เนื้อเยื่อผิว)
o เป็นเนื้อที่อยูด่ ำ้ นนอกสุดทัง้ ในรำก ลำต้น และใบ (รำกและลำต้นที่มีอำยุน้อยกว่ำ 1 ปี)
o ประกอบด้วยเซลล์ที่มีชวี ิตเรียงชิดติดกันและเรียงตัวกันเพียงชั้นเดียว
o ผนังเซลล์เป็น Primary cell wall
o ผนังเซลล์บำง อำจมีพวก cuticle เคลือบอยู่ปอ้ งกันกำรระเหยของน้ำ (ยกเว้นราก)
o ถ้ำเปรียบเทียบกับคน คือ…………………………………………………
o ไม่มี Chloroplast
o เปลี่ยนแปลงเป็น
▪ ขนราก (root hair cell) ช่วยเพิ่มพืน้ ที่ผิวในกำรดูดน้ำ
▪ เซลล์คุม (guard cell)
− มีรูปร่ำงคล้ำยเม็ดถั่วแดงมำประกบกัน แล้วมีรูตรงกลำง เรียกว่ำ ปำกใบ (stoma)
− ทำหน้ำที่ควบคุมกำรปิด-เปิดปำกใบ
− ภายในมี chloroplast ผนังด้านในหนากว่าด้านนอก (ผนังเซลล์หนาไม่สม่้าเสมอกัน)
▪ ขน (trichome) หรือ ต่อม (gland)
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 12
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 13
Cork/Phellem
o เป็นเนื้อเยื่อชั้นนอกสุดของรากและลาต้นในพืชใบเลี้ยงคู่ ที่มีอายุมากกว่า 1 ปี
o เป็นเซลล์ที่ตายแล้ว ซึ่งองค์ประกอบเซลล์เหลือเฉพำะ cell wall และเจริญถึง secondary cell
wall
o เกิดจำกกำรแบ่งเซลล์แบบ mitosis ของ cork cambium/phellogen
▪ ด้านนอกจะเปลี่ยนเป็น Cork/Phellem เมื่อเจริญเต็มที่ protoplasm และ cell membrane
จะสลำย เหลือเฉพำะผนังเซลล์จัดเป็นเนื้อเยื่อที่ตายแล้ว
▪ ด้านในเปลี่ยนเป็น Phelloderm เป็นเซลล์ที่มชี ีวิต ผนังเซลล์เป็น cellulose ไม่ซูเบอรินใน
พืชบำงชนิดจะมีกำรเก็บแป้งและสังเครำะห์แสงได้
o Cork, cork cambium และ phelloderm รวมกันเรียกว่ำ……………………………………….………………………..
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 14
❖เนื้อเยือ่ พื้น (Ground tissue)
ประกอบด้วย Parenchyma, Collenchyma, Sclerenchyma, Endodermis

Parenchyma
o เป็นเนือ้ เยื่อพืน้ ที่พบมากที่สดุ ในพืช และมีกระบวนกำร Metabolism เกิดขึ้นมากสุด
o เป็นเซลล์ที่มีชีวิต โดยมีรูปร่ำงเป็นทรงกระบอกกลม และมีหน้ำตัดหลำยเหลี่ยม
o มี vacuole ขนำดใหญ่ ผนังเซลล์บำง และมีช่องว่ำงระหว่ำงเซลล์ ซึ่งจัดเป็น Primary cell wall
o หน้ำที่
▪ สะสมน้ำและอำหำรจำพวกแป้ง โปรตีน และไขมัน เรียกว่ำ reserved parenchyma
▪ สะสม chloroplast เรียกว่ำ chlorenchyma ทำให้สำมำรถสังเคราะห์แสงได้ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลง
เป็นชั้น Mesophyll (เนื้อใบ) แบ่งเป็น 2 ชั้น
− Palisade mesophyll
− Spongy mesophyll
▪ ในพืชบำงชนิด จะเจริญรอบท่อมัดลำเลียง (vascular bundle) เรียกว่ำ Bundle sheath cell
▪ เปลี่ยนเป็นกลุ่มเซลล์กระเปำะ (pulvinus) ที่พบบริเวณโคนก้ำนใบ พบในพืชตระกูลถั่ว เช่น แค
กระถิน ไมยรำพ ทำหน้ำที่หุบ-กำงใบในรอบวัน
▪ เปลี่ยนเป็นชั้น pericycle ในรำก ซึ่งสามารถเปลี่ยนเป็นเนื้อเยื่อเจริญทาให้เกิดรากแขนง
▪ ในพืชบำงชนิด จะเปลี่ยนเป็นต่อมสร้างสารบางชนิด เช่น น้ำมันหอมระเหย น้ำยำง
▪ ในก้ำนใบและเส้นกลำงใบบำงชนิด เช่น พุทธรักษำ กล้วย จะเปลี่ยนเป็น Aerenchyma (ช่อง
อำกำศของพืชบำงชนิดซึ่งช่วยให้กำรแลกเปลี่ยนก๊ำซและช่วยในกำรลอยน้ำ)
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 15
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 16
Collenchyma
o คล้ำย Parenchyma แต่มีขนำดเล็กกว่ำ ซึ่ง ไม่พบในราก
o ผนังเซลล์หนำไม่สม่ำเสมอ ซึ่งบริเวณมุมของเซลล์จะมีผนังหนำกว่ำบริเวณอื่น และมันวำว
o เป็นเซลล์ที่มีชีวิต จัดเป็น Primary cell wall และมี vacuole ขนำดใหญ่
o มักอยู่ใต้ชั้น epidermis ช่วยเพิ่มควำมแข็งแรงให้กับลำต้น และเพิ่มควำมยืดหยุน่ พบได้ตำมส่วนที่
ต้องกำรควำมเหนียว เช่น ที่กำ้ นใบ และบริเวณส่วนมุม ขอบหรือเหลี่ยมในต้นพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 17
Sclerenchyma

o เป็น เนื้อเยื่อที่ตายแล้ว เมือ่ เจริญเติบโตเต็มที่ ซึ่งเซลล์สลำยตัวเหลือเฉพำะผนังเซลล์ ที่เจริญถึง


Secondary cell wall
o Secondary cell wall มีกำรสะสมสำรพวก lignin สำมำรถย้อมติดสี Safranin ได้ดี
o ผนังเซลล์มีความแข็งแรงและหนามาก
o ทำหน้ำที่ ช่วยเสริมสร้ำงควำมแข็งแรงและพยุงโครงสร้ำงของพืช เช่น ลำต้น, ใบ
o แบ่งเป็น 2 ประเภท
▪ Fiber (เส้นใย)
− มีลักษณะเรียวยำว หัวท้ำยแหลม ภำยในมีช่องน้อยมำก/ไม่มีเลย เหนียวและยืดหยุ่นได้ดี
− สำคัญทำงเศรษฐกิจ คือ ใช้ทาเส้นใยจากพืช เช่น ปอ (ทากระสอบ), ป่าน (ทาผ้า)
▪ Sclereid/Stone cell
− เซลล์มีลักษณะสัน้ ป้อม หนำ และแข็งแรงมำก ซึ่งมีหลำยรูปแบบ
− พบในบริเวณ เปลือกไม้, เปลือกหุ้มเมล็ด, กะลามะพร้าว, เมล็ดพุทรา, เนื้อผลไม้ที่
สาก ๆ เช่น น้อยหน่า, เนื้อฝรั่ง, สาลี่
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 18
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 19
Endodermis
o พบในรากเท่านั้น โดยเฉพำะพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะเห็นชัดกว่าพืชใบเลี้ยงคู่
o เป็นเซลล์เรียงตัวเป็นแถวเดียวอยู่ถัดจำก cortex เข้ำไปข้ำงใน
o เปลี่ยนแปลงมำจำก Parenchyma ประกอบด้วย Primary cell wall
o เป็นเซลล์พิเศษที่มีสำรพวก Suberin, Cutin และ Lignin มำสะสมเป็นแถบ/ปลอกรอบเซลล์ เพื่อป้องกัน
ไม่ให้น้ำผ่ำนได้สะดวก เรียกว่ำ Casparian strip
o เซลล์ที่ไม่มี casparian strip เรียกว่ำ Passage cell ซึ่งน้ำสำมำรถผ่ำนได้สะดวก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 20
เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน (Compound permanent tissue)
➢ เป็นเนื้อเยื่อที่ประกอบด้วยเซลล์มำกกว่ำ 1 ชนิด มำทำหน้ำที่ร่วมกัน
➢ ได้แก่ เนือ้ เยื่อลำเลียง (vascular tissue)
− Phloem ทำหน้ำที่ลำเลียงอำหำร (สำรอินทรีย์)
− Xylem ทำหน้ำที่ลำเลียงน้ำและแร่ธำตุ (สำรอนินทรีย์)
➢ Phloem + Xylem = vascular bundle (มัดท่อลำเลียง)
➢ พบเฉพำะในพืชที่มีท่อลำเลียงเท่ำนัน้

Phloem ทำหน้ำที่ลาเลียงอาหาร ในรูปซูโครส (Sucrose)


Cell สภาวะ หน้าที่
Sieve tube member มีชีวิต − เป็นเซลล์หลักในการล้าเลียงอาหาร
(sieve element) − เมื่อเจริญเต็มที่จะไม่มนี ิวเคลียส (คล้ายกับเม็ดเลือดแดง)
− เซลล์รูปร่ำงยำว เป็นทรงกระบอก และ vacuole ขนำดใหญ่
− ปลำยทั้ง 2 ข้ำงจะมีลักษณะคล้ำยตะแกรง เรียกว่ำ Sieve plate
− Sieve tube member หลำยๆ อันมำต่อกันเรียกว่ำ Sieve tube
− พบในพืชดอกเท่ำนั้น ส่วนพืชชั้นต่ำ และพืชพวก gymnosperm จะไม่มี
sieve tube member และ sieve plate แต่มี sieve cell ทำหน้ำที่แทน
Companion cell มีชีวิต − เป็นเซลล์ที่มีนวิ เคลียสตลอดเวลำ
− เป็นเซลล์พี่เลีย้ ง ทีค่ อยช่วยเหลือ ส่งเสริมและสั่งกำร sieve tube member
− เจริญอยู่ดำ้ นข้ำงของ sieve tube member เสมอ
− มีตน้ กำเนิดเดียวกับ sieve tube member
− ช่วยลำเลียงซูโครสร่วมกับ sieve tube member
Phloem parenchyma มีชีวิต − ช่วยลำเลียงอำหำรทำงด้ำนข้ำงหรือแนวรัศมี เรียกว่ำ phloem ray
Phloem fiber ไม่มชี ีวิต − เสริมควำมแข็งแรง
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 21
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 22
Xylem ทำหน้ำที่ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ
Cell สภาวะ หน้าที่
Vessel member ไม่มชี ีวิต − เซลล์เป็นทรงกระบอก ขนำดใหญ่ และปลำยมีรูพรุน (perforation plate)
(vessel element)
− ผนังเซลล์หนำ เมื่อต่อกันยำวมีลักษณะคล้ำยท่อ เรียกว่ำ Vessel
− ลำเลียงน้ำได้ดีกว่ำ tracheid
− ผนังเซลล์มีลวดลำยต่ำงๆ ตำมกำรสะสมของ secondary cell wall
− เป็นเซลล์หลักในกำรลำเลียงน้ำพบในพืชมีดอก (Angiosperm)
Tracheid ไม่มชี ีวิต − เซลล์มีลักษณะยำว ทรงกระบอก ปลำยแหลมคล้ำยกระสวย
− ด้ำนปลำยเซลล์จะเรียงซ้อนเหลื่อมกัน และมีรูพรุนด้ำนข้ำง (pit) ที่ตรงกัน
− เป็นเซลล์หลักในกำรลำเลียงของที่มีท่อลำเลียงต่ำง ๆ
Xylem parenchyma มีชีวิต − ช่วยลำเลียงน้ำและแร่ธำตุออกด้ำนข้ำงหรือแนวรัศมี เรียกว่ำ xylem ray
Xylem fiber ไม่มชี ีวิต − เสริมควำมแข็งแรง
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 23

การเปรียบเทียบระหว่าง Xylem และ Phloem


โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 24
สรุป องค์ประกอบของเนือ้ เยื่อ
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 25
3. โครงสร้างและหน้าที่ของราก (Root)
ท้าหน้าที่
− ช่วยในกำรลำเลียงสำรต่ำง ๆ เช่น น้ำและเกลือแร่ และยึดพยุงลำต้นให้มั่นคง
− เป็นแหล่งเก็บสะสมอำหำรและสังเครำะห์แสงในรำกพืชบำงชนิด
1. โครงสร้างของปลายราก (root tip structure) แบ่งเป็น 4 ส่วน
1. บริเวณหมวกราก (root cap)
o เป็นบริเวณปลำยสุดของรำก ประกอบด้วยเซลล์ parenchyma อยู่กันหลวม เซลล์รูปร่ำงกลมรี
o ผนังเซลล์บำงและเป็น Primary cell wall
o ขณะรำกเจริญสูใ่ ต้ดนิ หมวกรำกจะสำมำรถสร้ำงเมือกออกรอบๆ ได้ เพื่อง่ำยต่อกำรชอนไช
o ป้องกันไม่ให้เซลล์ถัดไปได้รับอันตรำย จึงถูกทำลำยได้งำ่ ย อำยุสนั้ และมีกำรสร้ำงทดแทน
ตลอดเวลำ
2. บริเวณเนื้อเยื่อเจริญแบ่งเซลล์ (zone of cell division/Apical meristem/stem cell)
o เป็นบริเวณถัดจำกหมวกรำกขึน้ มำ ซึ่งจะมีกำรแบ่งเซลล์แบบ mitosis อยู่ตลอดเวลำ
o เซลล์ที่แบ่งได้ จะเปลี่ยนเป็นหมวกรำก และเซลล์ใน zone of cell elongation
3. บริเวณเซลล์ยืดขยายตามความยาว (zone of cell elongation)
o เป็นบริเวณต่อจำก 2 บริเวณแรกขึน้ มำ
o ไม่ค่อยมีกำรแบ่งเซลล์ แต่จะเจริญเฉพำะกำรเพิ่มควำมยำว ทำให้รำกยำวขึน้
4. บริเวณทีเ่ ซลล์เจริญเต็มที่ และเปลี่ยนแปลงรูปร่าง เพื่อทาหน้าที่เฉพาะอย่าง
(Zone of cell maturation/zone of cell differentiation)
o เป็นบริเวณที่มกี ำรเปลี่ยนเป็น vascular bundle (primary phloem + primary xylem)
o Epidermis จะเปลี่ยนแปลงเป็น ขนราก (root hair) เพื่อเพิ่มพืน้ ที่ในกำรดูดน้ำและเกลือแร่
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 26
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 27
2. การจัดเรียงตัวของเนือ้ เยื่อบริเวณรากที่เจริญเต็มที่ (ตั้งแต่ Zone 4 ขึ้นไป)
เรียงเนือ้ เยื่อจำกด้ำนนอก-ไปด้ำนใน

Epidermis > Cortex > Endodermis > Pericycle > Vascular bundle > Pith

o Epidermis เกิดจำกเซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียว ไม่มีคลอโรพลำสต์ บำงเซลล์เปลี่ยนเป็น


ขนรำกได้ ทำหน้ำที่ป้องกัน
o Cortex ประกอบด้วยเนื้อเยื่อพืน้ หลำยๆ ชนิด ส่วนใหญ่เป็น parenchyma สะสมอำหำร
o Endodermis ประกอบด้วยเซลล์ที่มแี ละไม่มี casparian strip
o Pericycle กาเนิดรากแขนง (lateral root) ซึ่งเกิดจำก parenchyma ที่เปลี่ยนกลับมาเป็น
เนือเยื่อเจริญได้ (รากแขนงมีโครงสร้างทุกประการเหมือนกับรากทั่วไป)
o Vascular bundle เป็นชั้นของท่อลำเลียง คือ primary phloem และ primary xylem
▪ Xylem อยู่ตรงกลำงและแตกออกเป็นแฉกๆ
▪ Phloem อยู่ระหว่ำงแฉก
o Pith เป็นบริเวณที่อยูต่ รงกลำง เป็นเนื้อเยื่อ parenchyma

Stele =
………………………............................................…………………
…..
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 28
การจัดเรียงตัวของมัดท่อลาเลียง (vascular bundle) ในรากพืช
o Xylem จะมีลักษณะเป็นแฉกอยูต่ รงกลำง
▪ พืชใบเลีย้ งคู่ จะมีแฉก 2-5 แฉก (diarch, triarch, tetrarch, pentarch)
▪ พืชใบเลีย้ งเดี่ยว จะมีแฉกมำกกว่ำ 5 แฉก (polyarch) ตรงกลำงเป็น pith (เนือ้ เยื่อ parenchyma)
o Phloem จะอยู่ระหว่ำงแฉกของ xylem
o Stele ของพืชใบเลีย้ งคู่.............................................พืชใบเลีย้ งเดี่ยว................................................

เปรียบเทียบระหว่างรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเลี้ยงคู่
ลักษณะ รากใบเลี้ยงคู่ รากใบเลี้ยงเดี่ยว
จำนวนแฉกของ xylem
Vascular cambium
Endodermis
ตำแหน่งตรงกลำงรำก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 29
3. การเจริญเติบโตของราก
o กำรเจริญเติบโตขั้นแรก (Primary growth : แกน y ) ในบริเวณ apical meristem แบ่งเป็น 3 บริเวณ
▪ Protoderm (นอกสุด) เจริญเป็น…………………………………………………...................................………….
▪ Ground meristem (กลำง) เจริญเป็น…………………………………………………………….............................
▪ Procambium (ในสุด) เจริญเป็น……………………………………………………………....................................
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 30
o กำรเจริญเติบโตขั้นที่สอง (Secondary growth : แกน x, z) : พบในรากใบเลี้ยงคู่
▪ ทำให้เส้นผ่ำนศูนย์ของรำกขยำยให้ใหญ่ขนึ้
▪ แบ่งเป็น
− vascular cambium แบ่งเซลล์แบบ mitosis ทำให้เกิด....................................................
− Cork cambium แบ่งเซลล์แบบ mitosis ทำให้เกิด.........................................................

*****Cork cambium เปลี่ยนแปลงมาจาก Pericycle *****


โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 31
4. ชนิดของราก (type of root) แบ่งเป็น 3 ชนิด
o รากปฐมภูมิ (Primary root)
− เป็นรำกแรกสุดที่แทงออกจำกเมล็ด (รำกแรกเกิด)
o รากทุตยิ ภูมิ (Secondary root)/รากแขนง (lateral root/ branch root)
− เป็นรำกที่แตกแขนงออกจำก primary root เกิดจำก pericycle
o Adventitious root (รากพิเศษ)
− ไม่ได้เกิดมำจำกรำกแรกเกิด (radical) หรือรำกแขนง
− เป็นรำกที่เจริญมำจำกส่วนต่ำงๆ ของพืช เช่น โคนลำต้น ข้อ กิ่ง
ใบ ปักชำ ตอนกิ่ง เพำะเนือ้ เยื่อ
− เพื่อไปทำหน้ำที่บำงอย่ำง

Root modification
ชนิดราก หน้าที่ ตัวอย่าง
Parasitic root (haustoria) รำกชอนไช ทะลุเนื้อเยื่อพืชอื่น กำฝำก ฝอยทอง
เพื่อแย่งอำหำร
Photosynthetic รำกสังเครำะห์แสงได้ กล้วยไม้ ไทร โกงกำง
Pneumatophore/Aerating มีส่วนของรำกโผล่ขึ้นมำเหนือพืน้ น้ำ โกงกำง แสม ลำพู
root/Breathing root (รากหายใจ) เพื่อใช้ในกำรหำยใจ
Aerial root/Brace root/Stilt root/ มีลักษณะที่รำกเจริญจำกโคนต้น แล้ว ข้ำวโพด โกงกำง แสม ลำพู ไทร
Prop root (รากอากาศ/รากค้า เจริญลงสู่ดิน (ไม่แทงเข้ำไปในดิน) ซึ่ง เตย กล้วยไม้ พลูด่ำง
จุน) ช่วยดูดซับควำมชืน้ ในอำกำศได้
Buttress root รำกที่เกิดจำกโคนลำต้น เป็นแผ่นสัน ต้นงิว้ ตะแบก กระบำก
(รากพูพอน) บริเวณโคนต้น
Storage root สะสมอำหำร มันแกว มันสำปะหลัง มันเทศ
กระชำย แครอท หัวไชเท้ำ
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 32

เพิ่มเติม...ระบบของราก (root system) แบ่งเป็น 2 ระบบ


o ระบบรำกแก้ว (Tap root system) พบในพืชใบเลีย้ งคู่
o ระบบรำกฝอย (Fibrous root system) พบในพืชใบเลีย้ งเดี่ยว
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 33
4. โครงสร้างและหน้าที่ของลาต้น
o เป็นโครงสร้ำงที่โผล่เหนือดิน โดยมักจะมีลักษณะเป็นปล้อง มีใบบริเวณข้อ
o ทำหน้ำที่
− ช่วยพยุงส่วนต่ำงๆ ให้อยู่เหนือดิน ได้แก่ กิง่ ก้ำน ใบ ดอก และผล
− ช่วยลำเลียงน้ำ แร่ธำตุ และอำหำร
1. โครงสร้างของลาต้น

(a) Shoot apical meristem เป็นบริเวณที่มกี ำรแบ่งเซลล์แบบ mitosis ตลอดเวลำ


(b) Leaf primordial (ใบแรกเกิด) เจริญไปเป็นใบอ่อน และเริ่มปรากฎเนือเยื่อที่พฒ
ั นาไปเป็นเนือเยื่อล้าเลียง
(c) Axillary bud primordium จะเจริญไปเป็นกิ่ง เพื่อรองรับใบอ่อน
(d) Young leaf เป็นใบที่ยังเจริญไม่เต็มที่
(e) Stem tissue/young stem เป็นเนื้อเยื่อที่จะพัฒนำไปเป็นเนื้อเยื่อที่ทำหน้ำที่เฉพำะอย่ำง
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 34
2. การจัดเรียงตัวของเนือ้ เยื่อบริเวณลาต้นที่เจริญเต็มที่ (ต่ากว่าบริเวณ e)
เรียงจำกด้ำนนอก-ใน
Epidermis > Cortex > Vascular bundle > Pith
o Epidermis เป็นเซลล์ชั้นนอกสุด ไม่มี chloroplast มี cutin เคลือบอยู่เพื่อป้องกันกำรสูญเสียน้ำ
o Cortex ประกอบด้วย ground tissue
o Vascular bundle มัดทำลำเลียง (xylem และ phloem)
o Pith ประกอบด้วยเนื้อเยื่อพวก parenchyma ทำหน้ำที่สะสมอำหำร
พืชบำงชนิด pith จะสลำยไป เห็นเป็นลักษณะกลวง เช่น ไผ่ หญ้ำ
3. การจัดเรียงท่อลาเลียงของลาต้น
o พืชใบเลียงคู่
− ท่อลำเลียงจะกระจำยเป็นระเบียบเป็นวง
− โดย xylem อยู่ด้ำนใน และ phloem อยู่ด้ำนนอก โดยมี vascular cambium คั่นตรงกลำง
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 35
o พืชใบเลียงเดี่ยว
− ท่อลำเลียงกระจัดกระจำยไม่เป็นระเบียบ กระจำยทั่ว ๆ ไป อยู่ใน ground tissue
− แต่ละกลุม่ จะมีทั้ง xylem และ phloem อยู่ด้วยกัน แต่ไม่มี vascular cambium
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 36
การเปรียบเทียบระหว่างลาต้นใบเลี้ยงคู่และลาต้นใบเลี้ยงเดี่ยว

4. การเจริญเติบโตของลาต้น
o การเจริญเติบโตขั้นแรก (Primary growth : แกน y) มีลักษณะคล้ำยกับในรำก
➢ Apical meristem ที่ปลำยยอด แบ่งออกเป็น 3 บริเวณ
− Protoderm เจริญเป็น………………………................................…………………………...........………
− Ground meristem เจริญเป็น…………………………….………....................................……………….
− Procambium เจริญเป็น……………………………………………………….........................................…
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 37
o การเจริญเติบโตขั้นที่สอง (Secondary growth : แกน x, z)
− เป็นผลจาก Cambium ซึ่งพบเฉพาะพืชใบเลี้ยงคู่เท่านั้น (ใบเลียงเดี่ยวไม่มี cambium)
− ยกเว้น พืชใบเลี้ยงเดี่ยวบำงชนิด เช่น...........................................................................................
− เป็นกำรเจริญเติบโตที่ทำให้ลำต้นมีกำรขยำยขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำง

ผลจาก Vascular cambium เจริญมำจำก..................................................


➢ Secondary phloem
❖ จะเป็นท่อลำเลียงอำหำรด้านนอกต่อจำก vascular cambium
❖ ซึ่งจะเปลี่ยนเป็นส่วนหนึ่งของ เปลือกไม้ (bark)
➢ Secondary xylem
❖ จะเป็นท่อลำเลียงน้ำด้านในต่อจำก vascular cambium
❖ ซึ่งจะเปลี่ยนเป็น เนื้อไม้ (wood) ทั้งหมด แบ่งเป็น
▪ Heart wood (แก่นไม้) ลำเลียงน้ำไม่ได้
▪ Sap wood (กระพี้ไม้) ลำเลียงน้ำได้

เพิ่มเติม...
− กำรเจริญของ secondary xylem จะมีไม่เท่ำกัน ขึน้ อยู่กับปริมาณน้า
o Summer wood / Latewood ปริมำณน้ำน้อย ทำให้เกิดกำรแบ่งเซลล์น้อย วงจึงแคบ สีเข้ม
o Spring wood / Earlywood ปริมำรน้ำมำก ทำให้เกิดกำรแบ่งเซลล์มำก วงจึงกว้าง สีจาง
− Summer wood + Spring wood = 1 ปี เรียกว่ำ วงปี (Annual ring) ซึ่งพบในพืชใบเลีย้ งคู่เท่ำนัน้
− พืชในป่ำดิบชื้นเขตร้อน ที่มีฝนตลอดปีเท่ำ ๆ กัน จะไม่เห็นวงปี เนื่องจำกมีกำรแบ่งได้เท่ำ ๆ กัน
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 38

ผลจาก Cork cambium / Phellogen เจริญมำจำก..................................................


➢ Cork / Phellem
❖ เป็นส่วนที่เจริญออกด้านนอก ต่อจำก cork cambium
❖ เป็นเนือ้ เยื่อที่ดัน Epidermis ให้หลุดออก เมื่อต้นพืชนั้นมีอำยุมำกกว่ำ 1 ปี
❖ เมื่อเจริญเต็มที่จัดเป็นเนือเยื่อที่ตายแล้ว
➢ Phelloderm
❖ เป็นส่วนที่เจริญเข้าด้านใน ต่อจำก cork cambium
❖ จัดเป็นเนือเยื่อที่มีชีวิต ผนังเซลล์เป็น cellulose ไม่ซูเบอริน บำงชนิดมีกำรเก็บแป้งและ
สังเครำะห์แสงได้

*****Cork + Cork cambium + Phelloderm =………………..……………*****


โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 39

ผลการเจริญเติบโตของ Vascular cambium และ Cork cambium

****ลาต้นใบเลีย้ งคู่ที่อายุมากๆ จึงไม่พบ...............................................****


โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 40
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 41
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 42
เพิ่มเติม...
กราฟเปรียบเทียบระหว่างการเจริญของลาต้นใบเลี้ยงคู่กับแมลงที่มีการลอกคราบ

5. ช่องอากาศ/รอยแตก (Lenticel)
o พบในลำต้นเมื่อมีอำยุมำก ในชั้น cork ซึ่งจะมีรอยแตกที่ผวิ ลำต้น
o รอยแตกนีเ้ กิดจำก complementary cell ซึ่งเป็นเซลล์คล้ำย
parenchyma สำมำรถอุ้มน้ำได้ดี ทำให้บริเวณนั้นบวม และแตก
ออกเป็นช่องอำกำศ
o Lenticels พบเฉพาะพืชใบเลี้ยงคู่เท่านั้น
o สามารถคายน้าและแลกเปลี่ยนแก๊สได้บ้าง
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 43
6. ชนิดของลาต้น
ประเภทลาต้น ลักษณะ พบใน
Stolon เป็นลำต้นที่เจริญในแนวรำบ บัวบก จอก ผักแว่น ผักตบชวำ สตรอเบอรี่
สำมำรถใช้ขยำยพันธุ์ได้
Climbing stem ลำต้นที่เลื้อยพันรอบวัตถุ ฟักทอง พลู พลูด่ำง ตำลึง บวบ เสำวรส
Thorny stem ลำต้นที่เจริญเป็นหนำม ส้ม เฟื่องฟ้า กุหลาบ
Cladode ลำต้นคล้ำยใบ กระบองเพชร แก้วมังกร
Stem tendril ลำต้นมือเกำะ ตำลึง องุ่น แตงกวำ
1. Tuber กลม รี มีตำโดยรอบ สะสม หัวมันฝรั่ง หัวมันมือเสือ
แป้งจำนวนมำก
2. Corm กลมสั้น อวบ มีข้อปล้องชัดเจน เผือก แห้ว ซ่อนกลิ่นฝรั่ง (ลิลลี่)
Subterranean stem มีตำตำมข้อ
3. Rhizome เป็นเหง้ำ มีข้อปล้องและใบ ขิง ข่า ขมิ้น พุทธรักษา หญ้าคา ไพล
(ล้าต้นใต้ดิน)
ที่ข้อ และมีตำ
4. Bulb ลำต้นอำจโผล่พ้นดินบ้ำง ปล้อง หัวหอม กระเทียม พลับพลึง
สั้น มีรำกฝอยมำก
5. Root stock ลำต้นตั้งตรง ส่วนที่อยู่ ต้นกล้วย
เหนือพืน้ ดิน มีสเี ขียว คือ กำบใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 44
เปรียบเทียบระหว่างรากและลาต้น
ข้อเปรียบเทียบ ราก ลาต้น
Epidermis
Cortex
Vascular bundle

Endodermis

Pericycle
Pith

จุดกาเนิดแขนง

Pericycle และ Cortex เป็นเนื้อเยื่อ parenchyma ที่สามารถเปลี่ยนเป็น meristem ได้


โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 45
ทดสอบกันนิดนึง...?????

………………………… …………………………… …………………………… ……….…………………

A =…………………………………

B =…………………………..…….

C =………………….……………..

D =……………………………….
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 46
5. โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
1. ส่วนประกอบและชนิดของใบ
➢ ใช้ในกระบวนกำรสังเครำะห์ด้วยแสงมำกที่สุด เนื่องจำกมีรงควัตถุ (pigment) หนำแน่น
➢ ส่วนประกอบภำยนอกของใบ
o แผ่นใบ (blade) มีปลำยใบ (apex/tip), ขอบใบ (margin), เส้นใบ (vein) = midrib,
branch veins, vein network (ภายในมี vascular bundle)
o กำรจัดเรียงของเส้นใบ
− Parallel venation เป็นจัดเรียงแบบขนาน พบในพืชใบเลียงเดี่ยว
− Reticulate venation เป็นจัดเรียงแบบร่างแห พบในพืชใบเลียงคู่
o ก้ำนใบ (petiole) เป็นส่วนที่ต่อกับกิ่งและลำต้น
o หูใบ (stipule) อยู่บริเวณโคนก้ำนใบ ทำหน้ำที่ป้องกันอันตรำยให้กับตำอ่อน
พบทั่วไปในพืชใบเลี้ยงคู่
o ตำ (bud) พบตำมซอกกิ่งของใบ (ใช้เป็นข้อสังเกตชนิดของใบ)
➢ ใบมีลักษณะแบนเพื่อเพิ่มพืน้ ที่ผิวในกำรรับแสง แบ่งเป็น 2 ด้ำน
o ด้ำนหลังใบ (Dorsal/Upper epidermis) มักมี Cutin เคลือบเพื่อลดกำรสูญเสียน้ำ
o ด้ำนท้องใบ (Ventral/Lower epidermis)
➢ พืชใบเลีย้ งเดี่ยว มักจะมีลิ้นใบ/ลิ้นกาบ (ligule) เช่น ข้ำว หญ้ำ
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 47

➢ ประเภทของใบ
o ใบเดี่ยว (simple leaf) หนึ่งก้ำนใบเดียว เช่น มะม่วง ขนุน มะละกอ มันสำปะหลัง
o ใบประกอบ (compound leaf) หนึ่งก้ำนมีหลำยใบ เช่น มะขำม จำมจุรี มะพร้ำว หำงนกยูงมะรุม

➢ ชนิดของใบ
o ใบแท้ (foliage leaf) เป็นใบพืชทั่วๆ ไป ทำหน้ำที่สังเครำะห์ด้วยแสง แลกเปลี่ยนแก๊สและคำยน้ำ
o ใบเกล็ด (scale leaf) ลักษณะเป็นเกล็ด บำงชนิดอำจมีขนำดใหญ่ ทำหน้ำที่เก็บน้ำและอำหำร
เช่น กลีบหอม กลีบกระเทียม
o ใบดอก (floral leaf) เป็นใบที่คล้ำยกลีบดอก สีสันสวยงำม เรียกว่ำ ใบประดับ (bract) เช่น
หน้ำวัว เฟื่องฟ้ำ
o ใบเลีย้ ง (cotyledon) เป็นใบที่อยูใ่ นเมล็ด มีขนำดใหญ่และหนำเพื่อสะสมอำหำร โดยเฉพำะพืช
ตระกูลถั่ว ซึ่งในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมี 1 ใบ และพืชใบเลีย้ งคู่มี 2 ใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 48
➢ องค์ประกอบภำยในของใบ
1) Epidermis = Upper epidermis + Lower epidermis
− อยู่ชั้นนอกสุด ซึ่งเรียงตัวเป็นชั้นเดียว ไม่มี chloroplast ยกเว้น เซลล์คุม (guard cell)
− มี cuticle มำเคลือบเพื่อป้องกันกำรคำยน้ำ โดยเฉพำะด้ำนหลังใบ (Upper epidermis)
2) Mesophyll (เนื้อใบ) เป็นเนื้อเยื่อประเภท.........................................เรียกว่ำ....................................
− Palisade mesophyll (palisade = รั้วบ้ำน) เป็นที่เกิดการสังเคราะห์ดว้ ยแสงมากและดี
− Spongy mesophyll (spongy = ฟองน้ำ) เป็นที่อยูก่ ันอย่ำงหลวมๆ เหมำะแก่กำรแลกเปลี่ยนก๊ำซ
− กำรเรียงตัวของ mesophyll ในพืชแต่ละชนิดแตกต่ำงกัน
▪ พืช C3 จะมีกำรเรียงตัวของ palisade อยู่ด้ำนหลังใบ และ spongy อยู่ด้ำนท้องใบ
▪ พืช C4 จะเรียงตัวกันแน่น ไม่สำมำรถแยกได้ว่ำส่วนใดเป็น palisade หรือ spongy
3) Bundle sheath cell (เป็นกลุม่ เซลล์ที่อยู่รอบท่อลำเลียง)
− พืช C3 พบหรือไม่พบก็ได้ แต่ถ้ำพบจะไม่มีการสะสม Chloroplast
− พืช C4 พบ และมีกำรสะสม Chloroplast
4) ตัวอย่างพืช
− พืช C3 พืชทั่วๆ ไป เช่น ข้ำว, ข้ำวบำร์เลย์, ข้ำวสำลี, ข้ำวโอ๊ต
− พืช C4 อ้อย, ข้ำวฟ่ำง, ข้ำวโพด, หญ้ำคำ, หญ้ำขน, หญ้ำแห้วหมู, หญ้ำแพรก,
หญ้ำขจรจบ, ลูกเดือย, ผักโขมจีน, บำนไม่รู้โรย
5) Vascular bundle (ท่อลาเลียง) จะอยู่บริเวณเส้นใบ (vein)
− จะมี phloem ใช้ในกำรลำเลียงอำหำร และ xylem ใช้ในกำรลำเลียงน้ำและแร่ธำตุ
− Xylem อยู่ด้ำนหลังใบ และ Phloem อยู่ด้ำนท้องใบ
− พืชใบเลีย้ งเดี่ยว จะขนำนกันทั้งหมด
− พืชใบเลีย้ งคู่ จะมีกำรกระจำยตัวไม่ขนำนกัน
6) Guard cell (เซลล์คุม)
− ตำแน่งของปำกใบที่พบในพืชแต่ละชนิด
o พืชทั่วไป ปำกใบมักอยู่ด้ำน ventral เป็นส่วนใหญ่
o พืชปริ่มน้ำ เช่น บัว ปำกใบจะอยู่ด้ำน dorsal เพียงด้ำนเดียว
o พืชจมน้ำ เช่น สำหร่ำยหำงกระรอก สำหร่ำยข้ำวเหนียว จะไม่มีปำกใบ
− ระดับของปำกใบที่พบในชั้น epidermis ของพืช
o อยู่ในระดับเดียวกับเซลล์อื่น (ordinary stomata) พบใน....................................................
o สูงกว่ำเซลล์อื่น (raised stomata) พบใน....................................................
o ต่ำกว่ำเซลล์อื่น (sunken stomata) พบใน……………………………….……………………
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 49
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 50

2. โครงสร้างของใบ มีต้นกำเนิดจำกเซลล์ 3 ชนิดจำก apical meristem


− Protoderm เจริญให้เป็น………………………………………………………………………………….
− Ground meristem เจริญให้เป็น………………………………………………………………………………….
− Procambium เจริญให้เป็น…………………………………………………………….…………………..
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 51
3. ใบที่เปลี่ยนแปลงมาทาหน้าที่พิเศษ (modified leaf)
ใบ ลักษณะ พบใน
Storage leaf สะสมอำหำร
Leaf spine เปลี่ยนเป็นหนำม
Buoyancy leaf เปลี่ยนเป็นทุ่นลอยน้ำ
Leaf tendril เปลี่ยนเป็นมือเกำะ
Bract คล้ำยกับกลีบดอก
Carnivorous เปลี่ยนกับดักจับแมลง
Reproductive leaf ใช้ขยำยพันธุ์
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 52

เคล็ดลับยอดวิชา...
ต้น : หัวมันมือเสือ มันฝรั่ง เผือก แห้ว ขิง ขา ขมิ้น
รำก : มันแกว มันสาปะหลัง มันเทศ กระชาย แครอท หัวไชเท้า
ใบ : หอมหัวใหญ่สว่ นที่กนิ
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 53
เพิ่มเติม....การควั่นกิ่ง
− กำรควั่นกิ่งพืชเป็นกำรลอกส่วนเปลือกและเนือ้ เยื่อเจริญออก (Vascular cambium)
− จำกนั้นพอกด้วยดินและกำบมะพร้ำว รอจนกระทั่งมีรำกงอกออกมำ และค่อยตัดไปปลูกที่ใหม่
− ข้อดี จะได้พันธุ์เดิม ข้อเสีย ต้นไม้จะไม่มีรำกแก้ว ทำให้กำรยึดกับดินไม่แข็งแรง
− หำกไม่มีกำรพอกดิน จะทำให้สำรอำหำรเคลื่อนมำสะสมที่เหนือรอยควั่นทำให้สว่ นของเปลือกบริเวณ
นั้นพองขยำยออก เมื่อเทียบกับสภำพเดิมหลังกำรควั่น

รากที่พบเจริญมาจากเนื้อเยื่อ......................................................................
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 54
ทดสอบความเข้าใจ...

A =…………………………….…… B =………………………………....…….
C =………………………………….. D =…………………………………..……
E =………………………….………. F =…………………………………………
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 55
แบบฝึกหัด
เรื่อง โครงสร้างของพืชดอก
ตอนที่ 1
1. bundle sheath cell, spongy mesophyll cell และ palisade mesophyll cell ล้วนเป็นเนือ้ เยื่อชนิด
parenchyma (True/False)
2. endodermis เป็นชั้นนอกสุดของ stele มีกำรพอกสำรเป็นแถบหนำเรียก casparian strip (True/False)
3. เนือ้ ฝรั่ง กะลำมะพร้ำว และเปลือกถั่วลิสง ต่ำงก็ประกอบด้วยเนื้อเยื่อถำวรเชิงเดี่ยวชนิดเดียวกัน
(True/False)
4. chloroplast สำมำรถพบได้ทั้งที่รำก ลำต้น ใบ ของพืช (True/False)
5. สี safranin ที่ใช้ในห้องปฏิบัติกำรจะทำให้เห็นนิวเคลียสติดสีแดงชัดเจน (True/False)
6. ทั้งกระพีแ้ ละแก่นของต้นจำมจุรี ต่ำงก็เป็นเนือ้ เยื่อลำเลียงน้ำทั้งหมด (True/False)
7. เนือ้ ไม้ เปลือกไม้ และวงปี ล้วนเป็นผลจำกกำรเจริญขั้นที่สอง (secondary growth) (True/False)
8. กำรเจริญขั้นที่หนึ่งเป็นผลจำก apical meristem ส่วนกำรเจริญขั้นที่สองเป็นผลจำก lateral meristem
(True/False)
9. หมวกรำก (root cap) คือส่วนปลำยสุดของรำก ช่วยแบ่งเซลล์และสร้ำงเมือกมำหล่อเลี้ยงกำรชอนไชของ
รำกพืช (True/False)
10. lenticel ที่พบที่ cork คือโครงสร้ำงแลกเปลี่ยนแก๊สอย่ำงหนึ่งของพืช (True/False)
11. ลำต้นพืชใบเลีย้ งคู่ที่อำยุมำก จะไม่พบ primary phloem ที่เปลือกไม้ (True/False)
12. rhizoid ของมอส หวำยทะนอย มีโครงสร้ำงและหน้ำที่คล้ำยกับรำกแขนงและรำกฝอยในพืชชั้นสูง
(True/False)
13. ด้ำนบนของใบไม้โดยทั่วไปมีสีเขียวเข้มกว่ำด้ำนล่ำง เพรำะเซลล์ผิวมีคลอโรพลำสต์มำกกว่ำ
(True/False)
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 56
ตอนที่ 2
1. ลักษณะในข้อใดไม่ใช่ลักษณะสาคัญของเซลล์ในบริเวณปลายยอด
ก. ผนังเซลล์บำง ข. รูปร่ำงกลม
ค. เห็นแวคิวโอลชัดเจน ง. นิวเคลียสมีขนำดใหญ่
1. ก ข 2. ข ค 3. ค ง
4. ก ง 5. ก ข ค ง

2. แช่รากต้นอ้อยในสารละลายที่มีผลหยุดยั้งการแบ่งเซลล์นาน 1 ชั่วโมง เมื่อนาไปตรวจ กลุ่ม


เซลล์ใดมีความแตกต่างจากชุดควบคุมมากที่สุด
1. เอพิเดอร์มิส (Epidermis) 2. คอร์เทกซ์ (Cortex)
3. เพอริไซเคิล (Pericycle) 4. แคมเบียม (Cambium)
5. สตีล (Stele)

3. สารในข้อใดที่ไม่พบในผนังเซลล์ของเซลล์พืชโดยทั่วไป
ก.เพกติน ข. ซูเบอริน
ค. คิวติน ง. ลิกนิน
1. ก 2. ข 3. ข และ ค
4. ข, ค และ ง 5. ก, ข, ค และ ง

4. สารประกอบในข้อใดเมื่อย้อมด้วยสีซาฟรานินแล้วติดสีแดงมากที่สุด
ก. คิวติน ข. เซลลูโลส
ค. ซูเบอร์ลิน ง. ลิกนิน
1. ก ข 2. ข ค 3. ค ง
4. ก ง 5. ก ข ค ง

5. เซลล์ในข้อใดต่อไปนี้จะตาย เมื่อโตเต็มที่
1. เซลล์ประกบ (companion cell) 2. เซลล์คุม (guard cell)
3. เซลล์ท่อลำเลียงอำหำร (sieve tube members) 4. เซลล์เวสเซล (vessel members)
5. เซลล์คุม (guard cell)
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 57
6. เซลล์ในข้อใดมีการสลายอาหารระดับเซลล์ต่าที่สุด
1. เทรคีด ซีพทิวป์ ซินเนอร์จดิ
2. เวสเซล ไฟเบอร์ เซลล์คอร์ก
3. เซลล์คุม เซลล์ผิว เซลล์คอมพำเนียน
4. วำสคิวลำร์แคมเบียม เซลล์เนือ้ เยื่อเจริญ คอร์กแคมเบียม
5. พำเรนไคมำ เพอริไซเคิล วำสคิวลำร์แคมเบียม

7. ข้อใดทาให้ลาต้นยาวขึ้น
ก. เนือ้ เยื่อเจริญส่วนปลำย ข. เนือ้ เยื่อเจริญเหนือข้อ
ค. คอร์กแคมเบียม ง. วำสคิวลำร์แคมเบียม
1. ก และ ข 2. ก และ ค 3. ข และ ค
4. ค และ ง 5. ก และ ง

8. ข้อใดทาให้ลาต้นมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพิ่มขึ้น
ก. เนือ้ เยื่อเจริญส่วนปลำย ข. เนือ้ เยื่อเจริญเหนือข้อ
ค. คอร์กแคมเบียม ง. วำสคิวลำร์แคมเบียม
1. ก และ ข 2. ก และ ค 3. ข และ ค
4. ค และ ง 5. ก และ ง

9. เมื่อเกิดพายุฝนและลมแรงทาให้ต้นข้าวในนาล้มและเมื่อเวลาผ่านไป 2 -3 วันจะพบว่าส่วนยอด
ต้นข้าวมีการเจริญเติบโตตั้งตรงเป็นปกติ เกิดจากการทางานของเนื้อเยื่อเจริญในข้อใด
ก. เนือ้ เยื่อเจริญส่วนปลำย
ข. เนือ้ เยื่อเจริญเหนือข้อ
ค. เนือ้ เยื่อเจริญด้ำนข้ำง
1. ก 2. ข 3. ค
4. ก ข ค 5. ก ข

10. ต้นข้าวเมื่อถูกน้าท่วมจะพยายามชูลาต้นไว้เหนือน้า ความสูงของลาต้นที่เพิ่มขึ้นเกิดจากการ


แบ่งเซลล์ของเนื้อเยื่อชนิดใด
ก. เนือ้ เยื่อเจริญส่วนปลำย (apical meristem)
ข. เนือ้ เยื่อเจริญระหว่ำงข้อ (intercalary meristem)
ค. เนือ้ เยื่อเจริญด้ำนข้ำง (lateral meristem)
ง. โพรเมอริสเตม (promeristem)
1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ค และ ง
4. ก และ ง 5. ก ข ค และ ง
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 58
11. การแบ่งเซลล์ในเนื้อเยื่อใดมีผลทาให้เถาตาลึงมีความยาวเพิ่มขึ้น
ก. เนือ้ เยื่อเจริญใต้ขอ้ ข. เนือ้ เยื่อเจริญเหนือข้อ
ค. เนือ้ เยื่อเจริญด้ำนข้ำงง. เนือ้ เยื่อเจริญส่วนปลำย
1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ข และ ง
4. ก และ ง 5. ค และ ง

12. การเจริญเติบโตของต้นมะขามในแต่ละปี เป็นผลมาจากการทางานของเนื้อเยื่อในข้อใด


ก. คอร์ก แคมเบียม ข. วำสคิวลำร์ แคมเบียม
ค. เนือ้ เยื่อเจริญส่วนปลำย ง. เนือ้ เยื่อเจริญเหนือข้อ
1. ก , ข และ ค 2. ข , ค และ ง 3. ก , ค และ ง
4. ก , ข และ ง 5. ก , ข , ค และ ง

13. การเจริญของต้นสักตั้งแต่อายุ 1 ปีจนถึงอายุ 5 ปี เกี่ยวข้องกับการทางานของเนื้อเยื่อใด


ก. เนือ้ เยื่อส่วนปลำย ข. วำสคิวลำร์ แคมเบียม
ค. คอร์กแคมเบียม ง. เนือ้ เยื่อเจริญเหนือข้อ
1. ก ข 2. ข ค ง 3. ก ข ค
4. ก ค ง 5. ก ข ค ง

14. การขยายขนาดของพืชยืนต้น อาศัยเนื้อเยื่อชนิดใด


ก. แคมเบียม ข. เนือ้ เยื่อเจริญที่ปลำยยอด ค. พำเรนไคมำ
1. ก เท่ำนัน้ 2. ข เท่ำนัน้ 3. ก และ ข
4. ก และ ค 5. ก ข และ ค

15. การเพิ่มขนาดของลาต้นในข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมของ vascular cambium


1. ฤำษีผสมและฟักทอง 2. ผักโขมและข้ำวฟ่ำง
3. มะเขือเทศและข้ำวโพด 4. ข้ำวและไผ่
5. ถูกทุกข้อ

16. ข้อใดเจริญพัฒนามาจากเซลล์เอพิเดอร์มิสของพืช
ก. ขนรำก ข. เซลล์คุม
ค. ขนปลุกคลุมลำต้น ง. มือเกำะ
1. ก และ ข 2. ก , ข และ ค 3. ข , ค และ ง
4. ก , ข และ ง 5. ก , ข , ค และ ง
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 59
17. เมแทบอลิซึม (Metabolism) ของพืชส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นในเนื้อเยื่อส่วนใด
1. เอพิเดอรืมิส 2. คอลเล็งคิมำ 3. สเคลอเร็งคิมำ
4. พำเร็งคิมำ 5. เอนโดเดอร์มิส

18. ข้อใดกล่าวถึงลักษณะของเซลล์คอลเลงคิมา (collenchyma) ได้อย่างถูกต้อง


1. ย้อมติดสีเนื่องจำกมีผนังเซลล์ปฐมภูมิและทุติยภูมิ
2. มีควำมสำคัญในอุตสำหกรรมผลิตเส้นใย
3. สำมำรถพบได้ในเนือ้ เยื่อไซเลมและโฟลเอม
4. เป็นเซลล์ที่มี Casparian strip
5. เป็นเซลล์ที่มชี ีวิตเมื่อโตเต็มที่แล้ว

พิจารณาจากไดโคโทมัสคีย์ข้างล่างนี้แล้วตอบคาถามข้อ 19 ถึงข้อ 22
1. ก. ประกอบด้วยเซลล์ที่ผนังเซลล์มีคิวทินมำก ไม่มีช่องว่ำงระหว่ำงเซลล์ เนือ้ เยื่อ A
ข. ผนังเซลล์ที่เป็นส่วนประกอบไม่มคี ิวทินมำก ดูข้อ 2
2. ก. ประกอบด้วยเซลล์ที่มคี วำมหนำของผนังเซลล์ไม่สม่ำเสมอทั่วทั้งเซลล์ เนือ้ เยื่อ B
ข. ประกอบด้วยเซลล์ที่มคี วำมหนำของผนังเซลล์สม่ำเสมอทั่วทั้งเซลล์ ดูข้อ 3
3. ก. ผนังเซลล์บำงและมีช่องว่ำงระหว่ำงเซลล์อยู่ทั่วไป เนือ้ เยื่อ C
ข. ผนังเซลล์หนำ มีสำรลิกนินที่ผนังเซลล์มำก เนือ้ เยื่อ D

19. เนื้อเยื่อ A คืออะไร


1. Cork 2. Fiber 3. Epidermis
4. Endodermis 5. Cork cambium

20. เนื้อเยื่อ B คืออะไร


1. Epidermis 2. Collenchyma 3. Parenchyma
4. Sclerenchyma 5. Endodermis

21. เนื้อเยื่อ C คืออะไร


1. Epidermis 2. Collenchyma 3. Parenchyma
4. Sclerenchyma 5. Endodermis

22. เนื้อเยื่อ D คืออะไร


1. Epidermis 2. Collenchyma 3. Parenchyma
4. Sclerenchyma 5. Endodermis
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 60
23. เซลล์มีชวี ิตในโครงสร้างหรือเนื้อเยื่อ ที่ไม่มีโอกาสเกิดการจาลองตัวเองของ DNA
1. เวสเซล (vessel) 2. ซีฟทิวบ์ (sieve tube) 3. เพริไซเคิล (pericycle)
4. วำสคิวลำร์แคมเบียม (vascular cambium) 5. ข้อ 1 และ 2

24. จากข้อมูลในตาราง เนื้อเยื่อชนิดใดเป็นคอร์เทกซ์ของต้นข้าว


ชนิดของเนื้อเยื่อ จานวนเซลล์ในระยะต่างๆ (ร้อยละ)
อินเตอร์เฟส โปรเฟส เมทาเฟส
1. 100 0 0
2. 80 10 10
3. 50 20 30
4. 0 0 100
5. 20 20 20

25. เซลล์ในข้อใดสามารถเปลี่ยนสภาพเป็นเนื้อเยื่อเจริญได้
ก. คอร์เทกซ์ ข.เพริไซเคิล ค. เอนโดเดอร์มิส
1. ก ค 2. ก ข 3. ข ค
4. ก ข ค 5. ก

26. เซลล์รูปร่างยาว ผนังหนามีลวดลายคล้ายร่างแหที่ด้านข้างซึ่งเกิดจากการพอกของสารลิกนิน


ผนังด้านหัวท้ายมีรูทะลุ เซลล์เรียงต่อกันตามยาวคล้ายท่อ คือข้อใด
1. ซีฟทิวบ์ 2. เทรคีต 3. ไฟเบอร์
4. เวสเซล 5. คอมพำเนียน

27. คาอธิบายข้อใดไม่ถูกต้อง
ข้อ ซีฟทิวบ์ (Sieve tube) เวสเซล (Vessel)
1. ประกอบด้วยเซลล์ที่ตำยแล้ว ประกอบด้วยเซลล์ที่ตำยแล้ว
2. เป็นผนังเซลล์ขนั้ ต้น (Primary wall) เป็นผนังเซลล์ขนั้ ที่สอง(Secondary cell wall)
3. ผนังกั้นเซลล์มีรูเปิดคล้ำยตะแกรง ผนังกั้นเซลล์สลำยไป
4. ทำหน้ำที่ลำเลียงอำหำร ทำหน้ำที่ลำเลียงน้ำและแร่ธำตุ
5. เป็นเซลล์หลักในกำรลำเลียงอำหำร เป็นเซลล์ที่ใช้ลำเลียงน้ำและแร่ธำตุในพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 61
28. เซลล์ในภาพ A พบในบริเวณใดในภาพ B

1. ก 2. ข 3. ค
4. ง 5. ข ง

29. จากภาพท่อไซเลมเวสเซล (xylem vessel) ตาแหน่ง ก ข และ ค คือสิ่งใด

ข้อ ก ข ค
1. โพรโทพลำสซึม ผนังเซลล์ปฐมภูมิ ผนังเซลล์ทุติยภูมิ
2. โพรโทพลำสซึม ผนังเซลล์ทุติยภูมิ ผนังเซลล์ปฐมภูมิ
3. ช่องว่ำงของเซลล์ ผนังเซลล์ปฐมภูมิ ผนังเซลล์ทุติยภูมิ
4. ช่องว่ำงของเซลล์ ผนังเซลล์ทุติยภูมิ ผนังเซลล์ปฐมภูมิ
5. ช่องว่ำงระหว่ำงเซลล์ ผนังเซลล์ปฐมภูมิ ผนังเซลล์ปฐมภูมิ

30. ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชจากส่วนของใบจะพบกลุ่มเซลล์เกิดขึ้นรอบรอยตัด เพราะเหตุใด


1. เซลล์ในใบทุกเซลล์สำมำรถเจริญแบ่งตัวได้
2. มีเซลล์เพียงหนึ่งเซลล์ทำหน้ำที่เป็นเมอริสเตม
3. เซลล์ parenchyma สำมำรถเปลี่ยนเป็นเนื้อเยื่อเจริญได้
4. มีเนื้อเยื่ออยู่ในใบจำนวนมำกและกระจำยอยู่ทั่วไป
5. ไม่มีขอ้ ใดถูกต้อง

31. บริเวณใดของปลายรากที่เริ่มมี Vascular bundle


1. เหนือหมวกรำกขึ้นไป 2. เหนือบริเวณที่มขี นรำกขึน้ ไป
3. นับตัง้ แต่บริเวณที่มีขนรำกขึน้ ไป 4. นับตัง้ แต่บริเวณที่มีกำรยืดตัวขึ้นไป
5. ทุกส่วนของรำก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 62
32. จากภาพ เมื่อตัดขวางรากตรงบริเวณหมายเลข 1 โครงสร้างภายในควรคล้ายกับภาพในข้อใด

1. ก 2. ข 3. ค 4. ง 5. ค ง

33.จากภาพ บริเวณในข้อใดทาหน้าที่แบ่งเซลล์ และทาหน้าที่ดูดน้าและแร่ธาตุได้ดีที่สดุ

ข้อ แบ่งเซลล์ ดูดน้าและแร่ธาตุ


1. A D
2. B D
3. B, C C, D
4. A, B C, D
5. C, D A, C

34. ข้อใดไม่ใช่บริเวณรากที่เซลล์มีการเปลีย่ นแปลงไปทาหน้าที่เฉพาะและเจริญเติบโตเต็มที่


1. คอร์เทกซ์ที่มเี อนโดเดอร์มสิ
2. เนือ้ เยื่อเอพิเดอร์มิสที่มีขนรำก
3. พิธที่ประกอบด้วยเนื้อเยื่อพำเรงคิมำ
4. หมวกรำกที่ประกอบด้วยเซลล์พำเรงคิมำ
5. เพอริไซเคิลที่เจริญเป็นรำกแขนง
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 63
35. ในการศึกษาโครงสร้างภายในของพืชชนิดหนึ่ง พบว่ามีกลุ่มเซลล์ผนังหนาติดสียอ้ ม
ซาฟรานิน ซึ่งเรียงตัวเป็นแฉก โครงสร้างดังกล่าวและเซลล์ที่ผนังหนาคือข้อใด ตามลาดับ
1. รำกพืชใบเลีย้ งคู่ และโฟลเอม 2. รำกพืชใบเลีย้ งเดี่ยว และไซเลม
3. ลำต้นพืชใบเลีย้ งคู่ และเทรคีด 4. ลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และไฟเบอร์
5. รำกพืชใบเลีย้ งคู่ และคอร์เทก

36. รากพืชไม้ยืนต้นไม่มีโครงสร้างหรือเซลล์ในข้อใด
1. เซลล์คุม 2. เซลล์คุมและเลนติเซล
3. เซลล์คุมและเซลล์คอร์ก 4. เซลล์คุม เซลล์คอร์ก และเลนติเซล
5. ถูกทุกข้อ

37. ข้อใดไม่เป็นจริงเกี่ยวกับรากไม้ยืนต้น
ก. ไม่มีกำรสร้ำงคอร์ก ข. มีคิวติเคิลป้องกันกำรคำยน้ำ
ค. มีกำรสร้ำงไซเลมระยะที่สอง ง. มีกำรคำยน้ำผ่ำนเลนติเซล
1. ก และ ข 2. ข และ ง 3. ข , ค และ ง
4. ก , ข และ ง 5. ก , ข , ค และ ง

38. ขนรากเกิดจาก.......................................... แต่รากแขนงเกิดจาก......................................


1. คอร์เทกซ์.... เอพิเดอร์มิส 2. เอพิเดอร์มิส...........เพอริไซเคิล
3. เอนโดเดอร์มิส.........คอร์เทกซ์ 4. เพอริไซเคิล.........พิธ
5. เพอริไซเคิล...........เพอริไซเคิล

39. การเกิดรากใหม่จากรากเดิมของพืช และการเกิดขนราก เกิดจากเนื้อเยื่อใดตามลาดับ


ก. คอร์เทกซ์ ข.เพอริไซเคิล
ค. เอพิเดอร์มิส ง. เอนโดเดอร์มิส
1. ก ข 2. ก ข ค 3. ก ค
4. ข ค ง 5. ข ค

40. เนื้อเยื่อในข้อใดที่มีผลต่อการสร้างกิ่งและรากแขนง
ก. เอนโดเดอร์มิส ข. คอร์เทกซ์
ค. แคมเบียม ง. เพริไซเคิล
1. ก ข 2. ข ค 3. ค ง
4. ข ง 5. ก ข ค ง
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 64
41. วงปีของรากเกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสของเนื้อเยื่อชนิดใด
ก. แคมเบียม ข. พำเรงไคมำ ค. เพอริไซเคิล
1. ก 2. ก และ ข 3. ก และ ค
4. ข และ ค 5. ก , ข และ ค

42. เลนทิเซล (Lenticel) พบในลาต้นของพืชชนิดใด


ก. ไผ่ ข. มะพร้ำว
ค. ชบำ ง. เข็ม
1. ก ข 2. ข ค 3. ค ง
4. ก ง 5. ก ข ค ง

43. ภาพปลายยอดพืช

จากภาพ เนื้อเยื่อต้นกาเนิดใบ และเนื้อเยื่อต้นกาเนิดเนื้อเยื่อลาเลียง คือบริเวณใด ตามลาดับ


1. A และ B 2. A และ C 3. B และ C
4. C และ D 5. A และ D
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 65
44. ข้อใดสรุปจากรูปภาพได้ถูกต้อง

ตำแหน่ง โครงสร้ำงและหน้ำที่
ก. ประกอบด้วยเซลล์มชี ีวิต ทำหน้ำที่ลำเลียงสำรอินทรีย์
ข. ประกอบด้วยเซลล์ที่มผี นังเซลล์บำง ทำหน้ำทีส่ ร้ำงเนื้อเยื่อลำเลียง
ค. ประกอบด้วยเซลล์ที่ไม่มชี ีวิต ทำหน้ำที่ให้ควำมแข็งแรงและลำเลียงสำรอนินทรีย์
1. ก ข 2. ก ค 3. ข ค
4. ก ข ค 5. ก

45. แผนภาพแสดงภาพตัดขวาง (I) และผ่าตามยาว (II) ของลาต้นพืช โครงสร้างในภาพ I และ II


ที่ทาหน้าที่ลาเลียงน้าและเกลือแร่

1. ก และ จ 2. ค และ จ 3. ข และ ง


4. ค และ ฉ 5. ก และ ง
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 66
46. นาใบ ลาต้น และรากของต้นผักกระสังที่แช่ในน้าผสมสีมาศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ เนื้อเยื่อ
ในข้อใด จะติดสีมากที่สุด

ข้อ ใบ ลาต้น ราก


1. A C F
2. A D E
3. B C F
4. B D E
5. B C, D E, F

47. จากภาพตัดขวางของโครงสร้างพืช ข้อใดระบุชนิดของเนื้อเยื่อ A, B และ C ได้ถูกต้อง


ตามลาดับ

1. ไซเลม , คอร์เทกซ์ , โฟลเอม 2. ไซเลม, โฟลเอม , พิธ


3. โฟลเอม , ไซเลม , พิธ 4. โฟลเอม , พิธ , ไซเลม
5. ไซเลม , ไซเลม , พิธ
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 67
48. ภาพตัดขวางในข้อใดเป็นลักษณะของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและลาต้นใบเลี้ยงคู่ ตามลาดับ

1. 1 และ 2 2. 3 และ 4 3. 1 และ 4


4. 2 และ 3 5. 2 และ 4

49. โครงสร้างตามภาพ พบในส่วนใดของพืช


1. รำกของพืชใบเลีย้ งคู่
2. ลำต้นของพืชใบเลีย้ ง
3. ลำต้นของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
4. รำกของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
5. ไม่มีขอ้ ใดถูกต้อง

50. ส่วนที่ใช้สะสมอาหารของพืชในข้อใดที่ไม่ใช่โครงสร้างหรืออวัยวะเดียวกัน
1. หอม กระเทียม 2. ขิง พุทธรักษำ 3. เผือก แห้ว
4. มันเทศ มันฝรั่ง 5. มันแกว มันสำปะหลัง

51. ข้อมูลจากวงปีของต้นไม้ในป่าดิบแล้งสามารถบอกให้ทราบในเรื่องใด
ก. กำรเจริญของโฟลเอ็มในแต่ละปี ข. กำรเจริญของไซเล็มในแต่ละปี
ค. ปริมำณควำมมำกน้อยของน้ำฝนในแต่ละปี ง. คุณภำพของเนือ้ ไม้ในแต่ละปี
1. ก และ ค 2. ข และ ค 3. ก , ค และ ง
4. ข , ค และ ง 5. ก , ข , ค และ ง
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 68
52. วงปีของต้นไม้จะมีสีเข้มและสีอ่อนแตกต่างกันอย่างชัดเจน ถ้าขึ้นอยู่ในพื้นที่แบบใด
ก. มีอุณหภูมิแตกต่ำงกันระหว่ำงฤดูร้อนและฤดูหนำว
ข. ได้รับแสงแดดแตกต่ำงกันมำกระหว่ำงฤดูฝนและฤดูหนำว
ค. ได้รับธำตุอำหำรแตกต่ำงกันมำกระหว่ำงฤดูฝนและฤดูหนำว
ง. ได้รับปริมำณน้ำฝนแตกต่ำงกันมำกระหว่ำงฤดูฝนและฤดูแล้ง
1. ก 2. ก และ ข 3. ข และ ค
4. ก ข ค ง 5. ง

53. เมื่อสิบปีที่แล้วได้ตอกตะปูลงบนต้นลาไยขนาดใหญ่ต้นหนึ่งที่ระดับสูงจากพื้นดิน 1 เมตร


ในปัจจุบันตะปูนั้นอยู่ตาแหน่งใดและต้นไม้มีลักษณะเป็นอย่างไร
1. ตำแหน่งเดิม ต้นไม้สูงขึน้ และลำต้นกว้ำงขึน้
2. ตำแหน่งเดิม ต้นไม่สูงขึน้ แต่ลำต้นกว้ำงเท่ำเดิม
3. ตำแหน่งสูงกว่ำเดิม ต้นไม้สูงขึน้ และลำต้นกว้ำงขึน้
4. ตำแหน่งสูงกว่ำเดิม ต้นไม้สูงขึน้ แต่ลำต้นกว้ำงเท่ำเดิม
5. ตำแหน่งสูงกว่ำเดิม ต้นไม่สูง แต่ลำต้นกว้ำงกว่ำเดิม

54. ข้อใดอธิบายการเจริญเติบโตของพืชในภาพได้ถูกต้องที่สุด

ก. ตำแหน่งที่ดอกตะปูไม่มีกำรเจริญเติบโต
ข. ไม่มีกำรเจริญเติบโตระยะที่ 2 เกิดขึน้
ค. เส้นผ่ำนศูนย์กลำงบริเวณที่ดอกตะปูเพิ่มขึ้น
ง. กำรเจริญเติบโตปีที่ 1 -3 เกิดจำก apical meristem มำกกว่ำ lateral meristem
1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ค และ ง
4. ก และ ง 5. ก ข ค และ ง
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 69
55. จะพบ sieve tube member ในส่วนใดของต้นไม้
ก. วงปี ข. เปลือกไม้
ค. กระพี้ ง. แก่นไม้
1. ก 2. ข 3. ข และ ค
4. ก , ค และ ง 5. ก , ข , ค และ ง

56. เนื้อเยือ่ ในข้อใดพบในเปลือกไม้ กระพี้ไม้ และแก่นไม้


ข้อ เปลือกไม้ กระพี้ไม้ แก่นไม้
1. Epidermis Sclerenchyma Xylem และ Phloem
2. Cork Phloem Xylem
3. Phloem Xylem Vascular cambium
4. Phloem Xylem Xylem
5. Cork Xylem Phloem

57. ข้อใดมีจานวนชนิดของเนื้อเยื่อที่เป็นองค์ประกอบมากที่สุด
1. ท่อลำเลียงน้ำ 2. คอร์เทกซ์ 3. เปลือกไม้
4. เนือ้ ไม้ 5. เพอริเดิม

58. ข้อใดเป็นลักษณะของแก่นไม้
ก. อยู่ใจกลำงลำต้นของไม้ยืนต้น
ข. เกิดจำกแคมเบียมในฤดูที่ได้รับน้ำมำก
ค. มีสำรอินทรีย์สะสมไว้ในเซลล์มำก และขยำยบริเวณเพิ่มขึน้ เรื่อยๆ
ง. นอกจำกลำเลียงน้ำแล้วยังเป็นโครงสร้ำงหลักทำให้ลำต้นแข็งและตั้งอยูไ่ ด้
1. ก และ ข 2. ก และ ค 3. ข และ ค
4. ค และ ง 5. ก ข ค และ ง

59. ไม้จากต้นตาลและต้นสัก เหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร


1. เนือ้ เยื่อส่วนใหญ่เป็นไซเลมเหมือนกัน
2. เนือ้ เยื่อส่วนใหญ่เป็นไซเลมและโฟเอมเหมือนกัน
3. ไม้สักมีเฉพำะไซเลมอย่ำงเดียว ส่วนไม้ตำลมีทั้งไซเลมและโฟลเอม
4. ไม้สักมีไซเลมและพิท (Pith) ส่วนไม้ตำลมีไซเลมเป็นส่วนมำก
5. ถูกทุกข้อ
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 70
60. อัตราการแลกเปลี่ยน O2 และ CO2 เกิดขึ้นที่เซลล์ของบริเวณใดของใบมากที่สุด เพราะเหตุใด
1. เอพิเดอร์มิสด้ำนล่ำง เพรำะมีปำกใบมำกที่สุด
2. สปันจีมโี ซฟิลล์ เพรำะมีช่องว่ำงระหว่ำงเซลล์ใหญ่ที่สุด
3. เอพิเดอรืมิสด้ำนบน เพรำะสัมผัสกับอำกำศและแสงจำกภำยนอกมำกที่สุด
4. พำลิเสดมีโซฟิลล์ เพรำะอยุ่ติดเอพิเดอร์มิสด้ำนบนและมีคลอโรพลำสต์มำก
5. เซลล์คุม เพรำะสำมำรถสังเครำะห์ด้วยแสงได้

61. ข้อใดเป็นความแตกต่างระหว่างเซลล์คุมกับเอพิเดอร์มิสด้านบนและมีคลอโรพลาสต์มาก

ข้อ เซลล์คุม เซลล์เอพิเดอร์มิส


ก. มีคลอโรพลำส ไม่มีคลอโรพลำส
ข. มีชั้นคิวติเคิลบำงที่ผนังเซลล์ มีชั้นคิวติเคิลบำงที่ผนังเซลล์
ค. ผนังเซลล์มคี วำมหน่ำเท่ำกันตลอด ผนังเซลล์มคี วำมหนำไม่สม่ำเสมอกัน
ง. ผนังเซลล์ระหว่ำงเซลล์ไม่เชื่อติดกันตลอด ผนังเซลล์ระหว่ำงเซลล์เชื่อมติดกันตลอด
1. ก ข 2. ก ง 3. ข ค
4. ก ค 5. ก ข ค ง

62. ข้อใดบอกลักษณะเซลล์ล้อมรอบท่อลาเลียงของใบ (Bandle sheath cells) ถูกต้องมากที่สุด


ก. เซลล์ลอ้ มมรอบท่อลำเลียงมีผนังเซลล์ขั้นแรก (Primary wall)
ข. เซลล์ล้อมรอบท่อลำเลียงไม่มีคลอโรพลำสต์
ค. พืช C3 ไม่มีเซลล์ล้อมรอบท่อลำเลียง
ง. เซลล์ลอ้ มรอบท่อลำเลียงพบเฉพำะในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
1. ก 2. ข 3. ก , ค
4. ข , ง 5. ก , ข , ค , ง

63. ปากใบของพืชที่ข้นึ ในที่กันดารน้า ควรมีลักษณะใดบ้าง


ก. พบปำกใบที่ผิวใบทั้งสองด้ำน ข. พบปำกใบเฉพำะที่ผิวใบด้ำนล่ำง
ค. พบปำกใบเฉพำะผิวใบด้ำนบน ง. ปำกใบอยู่ในระดับลึกกว่ำเซลล์เอพิเดอร์มิส
จ. ปำกใบอยู่ในระดับเดียวกันกับเซลล์เอพิเดอร์มสิ
1. ก และ ง 2. ก และ จ 3. ข และ ค
4. ค และ จ 5. ข และ ง
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 71
64. จากภาพใบพืชตัดตามขวาง ข้อใดเป็นจริง

1. เป็นพืช C3 .ใบเลีย้ งเดี่ยว 2. เป็นพืช C3 ใบเลีย้ งคู่


3. เป็นพืช C4 ใบเลีย้ งเดี่ยว 4. เป็นพืช C4 ใบเลีย้ งคู่
5. เป็นพืช C4 ใบเลีย้ งคู่หรือใบเลี้ยงเดี่ยว

65. โครงสร้างในข้อใด ไม่ใช่ การปรับตัวของพืชที่เจริญอยู่ในเขตทะเลทราย


1. ผิวใบมันสะท้อนแสง 2. มีคอร์กที่ลำต้นป้องกันกำรสูญเสียน้ำ
3. ปำกใบฝังลึกเข้ำไปในผิวใบ 4. ลำต้นอวบน้ำ
5. ใบลดรูปเพื่อเปลี่ยนเป็นหนำม

66. พืชในแถบร้อนที่มีแดดจัดและอากาศแห้งตลอด ปากใบมักเปิดได้ไม่เต็มที่ ต้องมีการปรับตัว


อย่างไรจึงจะอยู่รอดได้อย่างประสบความสาเร็จ
1. มีปำกใบเพิ่มขึ้น 2. มีเซลล์ bundle sheath
3. มีเซลล์ใน mesophyll เพิ่มขึ้น 4. มีข้ผี งึ้ (wax) เคลือบผิวใบด้ำนที่รับแสง
5. มีกำรสังเครำะห์ด้วยแสงเพิ่มมำกขึ้น

67. ข้อใดควรจะเป็นลักษณะของใบบัว
ก. มีปำกใบที่ผิวทั้งสองด้ำน ข. มีปำกใบเฉพำะผิวใบด้ำนบน
ค. มีช่องอำกำศใหญ่กว่ำใบพืชบก ง. มีคิวทิเคิลเคลือบผิวใบหนำ
1. ก และ ค 2. ข และ ค 3. ก , ค และ ง
4. ข , ค และ ง 5. ก , ข , ค และ ง
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 72
68. ข้อใดอาจเกี่ยวข้องกับการปรับตัวของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่มีใบเป็นกับดักจับแมลง
ก. อำหำรที่ได้จำกกำรสังเครำะห์ด้วยแสงไม่เพียงพอ
ข. พืชขึน้ อยู่ในดินที่ขำดธำตุอำหำรที่จำเป็น
ค. ธำตุอำหำรที่อยู่ในดินไม่สำมรถอยู่ในสถำนะที่พืชจะนำไปใช้ได้
ง. พืชขึน้ ในลุม่ หรือหนองน้ำที่มีสภำพเป็นกรด
1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ก และ ค
4. ข และ ง 5. ก ข ค และ ง

69. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับโครงสร้างของพืชมีดอก
ก. ก้ำนใบประกอบขึน้ จำกเซลล์ที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต
ข. พิธ (Pith) สำมำรถพบได้ทั้งในรำก ลำต้น และใบของพืชใบเลีย้ งคู่ที่อยู่ในกำรเจริญเติบโตขั้นแรก
ค. เซลล์ขนรำก และเซลล์คุมเป็นเซลล์ที่พบในเนือ้ เยื่อชนิดเดียวกัน แต่เซลล์ขนรำกไม่มี
คลอโรพลำสต์
ง. ใบของพืชน้ำต้องมีเซลล์คุม จึงจะเกิดกระบวนกำรสังเครำะห์ด้วยแสงและกำรลำเลียงน้ำได้
1. ก และ ข 2. ค และ ง 3. ก และ ค
4. ข และ ง 5. ก ข และ ค

70. เมื่อนาใบพืชมาฟอกจนเห็นเส้นใบดังภาพ ส่วนของเส้นใบประกอบด้วยเนื้อเยื่อชนิดใด

1. เอพิเดอร์มิส , พำเรงคิมำ และไฟเบอร์ 2. เวสเซล , พำเรงคิมำ และไฟเบอร์


3. เวสเซล , ไซเลมไฟเบอร์ และ โฟลเอมไฟเบอร์ 4. พำเรงคิมำ , เวสเซล และซีฟทิวบ์
5. ถูกทุกข้อ

You might also like