You are on page 1of 31

ใบกิจกรรมที่ 2.

1 โครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดทางพันธุกรรมมีลักษณะอย่างไร
กิจกรรมที่ 2.1 โครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดทางพันธุกรรมมีลักษณะอย่างไร?
จุดประสงค์ สังเกตและบรรยายลักษณะของโครโมโซมโดยใช้กล้องจุลทรรศน์

วัสดุอุปกรณ์ วัสดุที่ใช้ต่อกลุ่ม
1) กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง 1 กล้อง
2) สไลด์ถาวรเซลล์ปลายรากหอม 1 แผ่น
วิธีดำเนินกิจกรรม 1. สังเกตโครงสร้างภายในเชลล์ปลายรากหอมจากสไลด์ถาวรด้วยกล้องจุลทรรศน์
ใช้แสง โดยใช้เลนส์ใกล้วัตถุกำลังขยายต่ำสุด แล้วเลือกบริเวณที่เห็นเชลล์แต่ละ
เชลล์ชัดเจน
2. เปลี่ยนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกำลังขยายสูงขึ้น ปรับภาพจนเห็นภาพชัดเจน บันทึกผล
โดยการวาดภาพหรือถ่ายภาพ และระบุโครโมโชมที่เห็นภายในเชลล์โดยการ
เปรียบเทียบกับภาพ 2.2 ในหนังสือเรียนหน้า 19
ข้อเสนอแนะใน 1) ครูแนะนำให้นักเรียนใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดูเซลล์ปลายรากหอมด้วยเลนส์ใกล้
การทำกิจกรรม วัตถุกำลังขยายต่ำเพื่อตรวจดูเซลล์ โดยเลื่อนสไลด์เพื่อตรวจหาเซลล์ที่มีโครงสร้าง
ภายในต่างจากเซลล์อื่น เช่น โครงสร้างที่เป็นเส้นหรือท่อนซึ่งติดสีได้ดีภายในเซลล์
จากนั้นจึงใช้เลนส์ใกล้วัตถุกำลังขยายสูงเพื่อตรวจดูรายละเอียดของเซลล์นั้น ครู
เน้นย้ำให้นักเรียนปรับภาพโดยใช้ปุ่มปรับภาพละเอียดเพื่อให้มองเห็นภาพชัดเจน
2) ครูควรให้ความรู้กับนักเรียนเรื่องการศึกษาโครโมโซม โดยควรศึกษาขณะที่เซลล์
มีการแบ่งตัว เพราะเป็นช่วงที่โครโมโซมมีการขดตัวทำให้สามารถสังเกตลักษณะ
ได้ง่าย
3) ในกรณีที่ไม่มีสไลด์ถาวร ครูอาจเตรียมสไลด์ของเซลล์ปลายรากหอมเองซึ่งมี
วิธีการ
ดังนี้
3.1) เพาะหอมแดงหรือหอมใหญ่ โดยตัดรากเก่า ๆ ของหัวหอมทิ้ง นำไปวางบน
ขวดปากกว้างหรือบีกเกอร์ที่มีน้ำอยู่เต็ม หรือเพาะในกระบะทรายและรดน้ำ
อย่างสม่ำเสมอ ระวังอย่าให้ทรายแห้ง ทิ้งไว้จนรากงอกยาวประมาณ 1-2
 บันทึกภาพที่ได้จากการทำกิจกรรม

ภาพลักษณะโครโมโซมของเซลล์ปลายรากหอม
คำถามท้ายกิจกรรม
1. สิ่งที่เห็นภายในเซลล์แต่ละเซลล์เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
...........................……………….........................................................………………......................................................
...……………….........................................................……………….........................................................………………...
2. ลักษณะของโครโมโซมที่สังเกตได้ มีลักษณะอย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
...........................……………….........................................................………………......................................................
...……………….........................................................……………….........................................................………………...
3. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
...........................……………….........................................................………………......................................................
...……………….........................................................……………….........................................................………………...
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
...........................……………….........................................................………………......................................................
...……………….........................................................……………….........................................................………………...
ใบกิจกรรมที่ 2.2 หน่วยที่กำหนดลักษณะทางพันธุกรรมเกี่ยวข้องกับลักษณะของสิ่งมีชีวิตอย่างไร
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2560) สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ หน้า 21

กิจกรรมที่ 2.2 หน่วยที่กำหนดลักษณะทางพันธุกรรมเกี่ยวข้องกับลักษณะของสิ่งมีชีวิตอย่างไร?


จุดประสงค์ อธิบายความเกี่ยวข้องของหน่วยที่กำหนดลักษณะทางพันธุกรรมกับลักษณะของ
สิ่งมีชีวิต
วัสดุอุปกรณ์ วัสดุที่ใช้ต่อกลุ่ม
1) ชิ้นกระดาษที่มีรหัสภาพ ลักษณะละ 4 ชิ้น รวม 20 ชิ้น
2) ซองกระดาษ 5 ซอง
วิธีดำเนินกิจกรรม 1. นักเรียนกำหนดรหัสภาพแทนแบบจำลองของหน่วยที่กำหนดลักษณะทาง
พันธุกรรมของสุนัข ลงในแบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.2 ตอนที่ 1
ออกแบบตารางการแปลรหัสภาพลักษณะของสุนัข
2. ตัดกระดาษที่มีรหัสภาพแบบต่าง ๆ ออกเป็นชิ้นยาว โดยใช้รหัสภาพกำหนด
ลักษณะทางพันธุกรรมของสุนัข 5 ลักษณะ ได้แก่ ลำตัว หัว ใบหู ขา และหาง
แต่ละลักษณะมีรหัสภาพที่แตกต่างกัน 4 แบบ
3. นำรหัสภาพแต่ละลักษณะ ซึ่งมี 4 ชิ้นใส่ในซองกระดาษลักษณะละ 1 ซอง
4. สุ่มหยิบชิ้นกระดาษ 1 ชิ้น จากซองกระดาษแต่ละซอง แล้วนำไปเทียบกับ
ตารางแปลรหัสภาพลักษณะต่าง ๆ ของสุนัขที่กำหนดให้ บันทึกผลลงในแบบบันทึก
การค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.2 ตอนที่ 2
5. นำลักษณะจากข้อ 4 มาวาดเป็นภาพของสุนัขทั้งตัว
แบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.2
ตอนที่ 2 หน่วยที่กำหนดลักษณะทางพันธุกรรมเกี่ยวข้องกับลักษณะของสิ่งมีชีวิตอย่างไร

ชื่อ-นามสกุล.....................................................................................ชั้น.................เลขที.่ ..........กลุ่มที.่ .........


 บันทึกผลการทำกิจกรรม
ผลการทำกิจกรรมขึ้นอยู่กับการสุ่มหยิบชิ้นกระดาษที่มีรหัสภาพของแต่ละลักษณะ เช่น สุ่มหยิบได้ชิ้น
กระดาษที่มีรหัสภาพที่กำหนดแต่ละลักษณะดังนี้
ลักษณะของลำตัวได้รหัสภาพ

ลักษณะของหัวได้รหัสภาพ

ลักษณะของใบหูได้รหัสภาพ

ลักษณะของขาได้รหัสภาพ

ลักษณะของหางได้รหัสภาพ

 เมื่อนำรหัสภาพแต่ละลักษณะไปเทียบกับตารางแปลรหัสแล้วนำไปวาดภาพสุนัขทั้งตัว จะได้สุนัขที่
มีลักษณะดังนี้

.
คำถามท้ายกิจกรรม
1. แบบจำลองรหัสภาพนี้ใช้แทนหน่วยที่กำหนดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตชนิดใด
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
...........................……………….........................................................………………......................................................
2. รหัสภาพแบบต่าง ๆ ที่หยิบโดยการสุ่มแต่ละครั้งแทนลักษณะใดของสิ่งมีชีวิต
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
...........................……………….........................................................………………......................................................
3. ภาพสิ่งมีชีวิตของนักเรียนแต่ละกลุ่มเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
...........................……………….........................................................………………......................................................
4. สิ่งใดเป็นตัวกำหนดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
...........................……………….........................................................………………......................................................
5. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
...........................……………….........................................................………………......................................................
.................................................……………….........................................................………………................................
.........................……………….........................................................………………......................................................
ใบกิจกรรมที่ 2.3 โอกาสการเข้าคู่ของแอลลีลเป็นเท่าใด
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2560) สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ หน้า 32

กิจกรรมที่ 2.3 โอกาสการเข้าคู่ของแอลลีลเป็นเท่าใด?


จุดประสงค์ อธิบายโอกาสการเข้าคู่ของแอลลีล

วัสดุอุปกรณ์ วัสดุที่ใช้ต่อกลุ่ม
1) ลูกปัดสีแดง 10 เม็ด
2) ลูกปัดสีขาว 10 เม็ด
3) กล่องหรือถ้วยพลาสติกทึบ 2 ใบ
วิธีดำเนินกิจกรรม 1. กำหนดลูกปัดสีแดงแทนแอลลีล T
ซึ่งเป็นแอลลีลเด่น ควบคุมลักษณะ
ต้นสูง และลูกปัดสีขาวแทนแอลลีล t
ซึ่งเป็นแอลลีลด้อย ควบคุมลักษณะ
ต้นเตี้ย
2. นำลูกปัดสีแดงและสีขาวอย่างละ
5 เม็ดบรรจุลงในกล่องพลาสติกใบที่ 1
และ 2 ดังภาพ

ภาพการจัดอุปกรณ์ในกิจกรรม
3. ใช้มือคนลูกปัดในกล่องพลาสติกทั้งสองใบให้ทั่วและหยิบเม็ดลูกปัดจากกล่อง
พลาสติกขึ้นมาพร้อมกันใบละ 1 เม็ด โดยไม่ต้องมอง บันทึกสีของลูกปัด แล้วใส่กลับ
คืนกล่องพลาสติกตามเดิม
4. ทำข้อ 3 ซ้ำ โดยหยิบลูกปัดอีก 99 ครั้ง รวมจำนวนครั้งในการหยิบ 100 ครั้ง
นับจำนวนครั้งที่หยิบลูกปัดแล้วได้สีแดงทั้งคู่ สีแดงกับสีขาว และสีขาวทั้งคู่จากนั้น
คำนวณหาอัตราส่วนอย่างต่ำ ของการหยิบลูกปัดทั้ง 3 แบบ โดยนำตัวเลขที่เป็น
จำนวนครั้งที่ได้จากการหยิบที่มีค่าน้อยที่สุดไปหารตัวเลขทุกตัว
5. นำผลการทำกิจกรรมของแต่ละกลุ่มมารวมกั น แล้วคำนวณหาอัตราส่วนอย่างต่ำ
ของจำนวนครั้งในการหยิบลูกปัดทั้ง 3 แบบ โดยใช้วิธีการเดียวกันกับในข้อ 4
กิจกรรมที่ 2.3 โอกาสการเข้าคู่ของแอลลีลเป็นเท่าใด?
ข้อเสนอแนะ 1) ครูควรชี้แจงให้นักเรียนทราบว่าลูกปัดแต่ละเม็ดแทนแอลลีลในเซลล์สืบพันธุ์
ในการทำกิจกรรม โดยการหยิบแต่ละครั้งเปรียบได้กับการเข้าคู่กันของแอลลีลในเซลล์สืบพันธุ์
2) แนะนำให้นักเรียนเขย่าหรือใช้มือคนลูกปัดให้ทั่ว เพื่อให้ลูกปัดแต่ละเม็ดมีโอกาส
ถูกหยิบเท่า ๆ กัน
3) ขณะหยิบลูกปัดแต่ละครั้งไม่ควรแอบมอง และเมื่อหยิบขึ้นมาแล้วต้องนำลูกปัด
ใส่คืนในกล่องทุกครั้ง
4) ให้นักเรียนในกลุ่มแบ่งหน้าที่กันโดยคนหนึ่งหยิบลูกปัด อีกคนหนึ่งบันทึกผล
และช่วยกันออกแบบตารางบันทึกผลการทดลอง
5) ครูอาจใช้วัสดุอื่น ๆ ที่หาได้ง่าย มีรูปร่างและขนาดเท่ากันแต่มีสีต่างกันมาใช้
แทนลูกปัด เช่น ลูกปิงปอง ฝาขวดน้ำ ลูกอม
6) การหาอัตราส่วนอย่างต่ำทำได้โดยนำจำนวนครั้งของการหยิบลูกปัดที่เป็นตัวเลข
น้อยที่สุดในกลุ่มไปหารตัวเลขทุกตัวในกลุ่ม เช่น หยิบลูกปัดสีแดง-แดงได้จำนวน
23 ครั้ง หยิบลูกปัดสีแดง-ขาว ได้ 52 ครั้ง หยิบลูกปัดสีขาว-ขาว ได้ 25 ครั้ง ก็นำ
23 ไปหาร 23, 52 และ 25 จะได้อัตราส่วนอย่างต่ำเท่ากับ 1 : 2.26 : 1.09 หรือ
อัตราส่วนโดยประมาณเท่ากับ 1 : 2 : 1
แบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.3 โอกาสการเข้าคู่ของแอลลีลเป็นเท่าใด

ชื่อ-นามสกุล...................................................................................ชั้น.................เลขที.่ ..........กลุ่มที.่ ...........


 ตารางบันทึกผลการทำกิจกรรม
จำนวนครั้งของสีลูกปัดที่หยิบได้
กลุ่มที่ อัตราส่วนอย่างต่ำ
แดง-แดง (TT) แดง-ขาว (Tt) ขาว-ขาว (tt)
1
2
3
4
รวม

คำถามท้ายกิจกรรม
1. อัตราส่วนอย่างต่ำของลูกปัดที่หยิบได้ทั้ง 3 แบบของกลุ่มเป็นเท่าใด
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
2. เมื่อนำผลรวมของการหยิบลูกปัดของทุกกลุ่มรวมกัน อัตราส่วนอย่างต่ำของลูกปัดที่หยิบได้เป็นเท่าใด
เหมือนหรือแตกต่างจากผลการคำนวณของแต่ละกลุ่มอย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
...........................……………….........................................................………………......................................................
3. เหตุใดจึงต้องนำผลของการหยิบลูกปัดในแต่ละกลุ่มมารวมกันแล้วคำนวณหาอัตราส่วนอย่างต่ำ
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
...........................……………….........................................................………………......................................................
4. ถ้าการหยิบลูกปัดจากกล่องพลาสติกพร้อมกันแล้วนำลูกปัดมาเข้าคู่กันเปรียบเสมือนการเข้าคู่ของ
แอลลีลในการปฏิสนธิของเซลล์สืบพันธุ์ ต้นถั่วที่เกิดจากการผสมในกิจกรรมนี้จะมีลักษณะเช่นใดบ้าง
และมีอัตราส่วนอย่างต่ำของลักษณะที่ปรากฏเป็นเท่าใด
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
...........................……………….........................................................………………......................................................
5. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
...........................……………….........................................................………………......................................................
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
ใบกิจกรรมที่ 2.4 จีโนไทป์และฟีโนไทป์ของสัตว์ประหลาดเป็นอย่างไร
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2560) สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ หน้า 37

กิจกรรมที่ 2.4 จีโนไทป์และฟีโนไทป์ของสัตว์ประหลาดเป็นอย่างไร?


จุดประสงค์ 1) หาจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของสัตว์ประหลาด
2) วาดภาพลักษณะของสัตว์ประหลาด
3) คำนวณอัตราส่วนการเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของรุ่นลูก
วัสดุอุปกรณ์ วัสดุที่ใช้ต่อกลุ่ม
1) เหรียญบาท 2 เหรียญ
2) กระดาษปรู๊ฟหรือกระดาษวาดเขียน 1 แผ่น
สถานการณ์ สัตว์ประหลาดมีลักษณะภายนอกที่แตกต่างกัน 7 ลักษณะ แต่ละลักษณะถูก
ควบคุมด้วยยีนที่มี 2 แอลลีล และแอลลีลเด่นสามารถข่มแอลลีลด้อยอย่างสมบูรณ์
ลักษณะต่าง ๆ ของสัตว์ประหลาดมีดังนี้

1) รูปร่างของหัว
2) จำนวนตา
3) การมีรจู มูก
4) จำนวนเขา
5) จำนวนขา
6) จำนวนแขน
7) การมีฟัน
วิธีดำเนิน 1. โยนเหรียญบาท 2 เหรียญพร้อมกัน เพื่อหาจีโนไทป์และฟีโนไทป์ในแต่ละลักษณะ
กิจกรรม ของสัตว์ประหลาด กำหนดให้ด้านหัวของเหรียญแทนแอลลีลเด่น และด้านก้อยแทน
แอลลีลด้อย โดยใช้สัญลักษณ์ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ให้ไว้ในตารางแทนแอลลีลเด่น
และแอลลีลด้อย บันทึกผล
กิจกรรมที่ 2.4 จีโนไทป์และฟีโนไทป์ของสัตว์ประหลาดเป็นอย่างไร?
วิธีดำเนิน ตาราง แอลลีลเด่นและแอลลีลด้อยของลักษณะต่าง ๆ ของสัตว์ประหลาด
กิจกรรม ลักษณะ ลักษณะที่ควบคุมโดย ลักษณะที่ควบคุมโดย
แอลลีลเด่น/สัญลักษณ์ แอลลีลด้อย/สัญลักษณ์
รูปร่างของหัว หัวกลม/A หัวสี่เหลี่ยม/a
จำนวนตา 2 ตา/B 1 ตา/b
การมีรูจมูก มีรูจมูก/C ไม่มีรูจมูก/c
จำนวนเขา 2 เขา/D ไม่มีเขา/d
จำนวนขา 3 ขา/E 2 ขา/e
จำนวนแขน 4 แขน/F 2 แขน/f
การมีฟัน มีฟัน/G ไม่มีฟัน/g
2. นำพี่โนไทป์ของลักษณะทั้งหมดที่ได้จากข้อ 1 มาวาดเป็นภาพสัตว์ประหลาด
3. กำหนดให้สัตว์ประหลาดที่ได้ในข้อ 2 เป็นพ่อ จากนั้นเลือกจีโนไทป์ของสัตว์
ประหลาดที่เป็นพ่อลักษณะใดก็ได้จำนวน 1 ลักษณะ เช่น เลือกสัตว์ประหลาดที่มีหัว
กลมที่อาจมี
จีโนไทป์เป็นฮอมอไซคัสหรือเฮเทอโรไชกัส
4. เลือกลักษณะของแม่ที่เป็นลักษณะเดียวกับที่เลือกจากพ่อ จากลักษณะที่กำหนดให้
เพียง 1 ลักษณะ ดังนี้
4.1 หัวกลมที่มีจีโนไทป์เป็นฮอมอไซคัส
4.2 ตา 2 ตา ที่มีจีโนไทป์เป็นเฮเทอโรไซคัส
4.3 ไม่มีรูจมูก
4.4 เขา 2 เขา ที่มีจีโนไทป์เป็นฮอมอไซคัส
4.5 ขา 2 ขา
4.6 แขน 4 แขน ที่มีจีโนไทป์เป็นเฮเทอโรไซคัส
4.7 ไม่มีฟัน
เขียนจีโนไทป์ของแม่จากลักษณะที่เลือกไว้
5. นำพ่อมาผสมพันธุ์กับแม่ แล้วเขียนแผนภาพเพื่อหาอัตราส่วนของจีโนไทป์และ
ฟีโนไทป์ของลักษณะดังกล่าวในลูกที่เกิดขึ้น
แบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.4 จีโนไทป์และฟีโนไทป์ของสัตว์ประหลาดเป็นอย่างไร

ชื่อ-นามสกุล...................................................................................ชั้น.................เลขที.่ ..........กลุ่มที.่ ...........


ลักษณะของสัตว์ประหลาดหรือฟีโนไทป์ทไี่ ด้จากการโยนเหรียญบาท

ลักษณะ ด้านของเหรียญที่โยน จีโนไทป์ ฟีโนไทป์


ได้
ลักษณะของหัว
จำนวนของตา
การมีรูจมูก/ไม่มีรูจมูก
จำนวนเขา
จำนวนขา
จำนวนแขน
การมีฟัน/ไม่มีฟัน

 เมื่อนำฟีโนไทป์ของแต่ละลักษณะมาวาดเป็นสัตว์ประหลาด จะได้ภาพดังตัวอย่าง

 อธิบายแต่ละลักษณะของแม่ จะมีจีโนไทป์ดังนี้
………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………….
 เขียนแผนผังการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

จีโนไทป์ของพ่อและแม่ พ่อ แม่

เซลล์สืบพันธุ์

จีโนไทป์ของลูก (F1)

ฟีโนไทป์ที่แสดงออกมา ....................... ....................... ....................... .......................

ดังนั้นรุ่นลูก (F1) จะมี ................ลักษณะ คือ..........................................................................


จีโนไทป์รุ่นลูก (F1) คือ ................................................................................................................
ในอัตราส่วนเท่ากับ ................................................................................................................

คำถามท้ายกิจกรรม
1. จีโนไทป์และฟีโนไทป์ของแต่ละลักษณะเป็นอย่างไร
...........................……………….........................................................………………......................................................
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
2. สิ่งใดกำหนดฟีโนไทป์ของสัตว์ประหลาดในแต่ละลักษณะ
...........................……………….........................................................………………......................................................
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
3. เมื่อนำพ่อมาผสมพันธุ์กับแม่ ลูกที่เกิดขึ้นมีอัตราส่วนการเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์เป็นอย่างไร
...........................……………….........................................................………………......................................................
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
4. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร
...........................……………….........................................................………………......................................................
……………….........................................................……………….........................................................………………......
...................................................……………….........................................................………………..............................
...........................……………….........................................................………………......................................................
ใบกิจกรรมที่ 2.5 โครโมโซมในเซลล์ร่างกายของมนุษย์เป็นอย่างไร
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2560) สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ หน้า 43
กิจกรรมที่ 2.5 โครโมโซมในเซลล์ร่างกายของมนุษย์เป็นอย่างไร?
จุดประสงค์ สังเกตและเปรียบเทียบลักษณะโครโมโซมของมนุษย์เพศชายและเพศหญิง

วัสดุอุปกรณ์ วัสดุที่ใช้ต่อกลุ่ม
1) กรรไกร 1 เล่ม
2) กาวแท่งหรือสก็อตเทปใส 1 แท่งหรือ 1 ม้วน
3) สำเนาภาพโครโมโซมของมนุษย์เพศชายและเพศหญิง อย่างละ 1 แผ่น
วิธีดำเนินกิจกรรม 1. สังเกตภาพโครโมโซมในเซลล์ร่างกายของมนุษย์เพศชาย
2. จับคู่โครโมโซมที่มีขนาด ลักษณะของแถบที่เหมือนกัน และตำแหน่งของ
เซนโทรเมียร์ที่ตรงกัน โดยเขียนหมายเลขเดียวกันกำกับไว้ด้านข้างของโครโมโซม
แต่ละแท่ง
3. ตัดภาพโครโมโซมที่เหมือนกันในแต่ละคู่ แล้วนำมาจัดเรียงตามขนาดจากใหญ่
ไปหาเล็กตามลำดับ
4. ทำซ้ำข้อ 1-3 โดยเปลี่ยนเป็นโครโมโซมในเซลล์ร่างกายของมนุษย์เพศหญิง
5. เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของโครโมโซมเพศชายและเพศหญิงทีละคู่
5. แยกดูโครโมโซมที่แตกต่างกันของเพศชายและของเพศหญิงมาวางไว้เป็นคู่สุดท้าย
ข้อเสนอแนะ 1. ใช้กระดาษสีที่มีสีต่างกันในการทำสำเนาโครโมโซมของมนุษย์เพศหญิงและเพศชาย
ในการทำกิจกรรม เพื่อไม่ให้โครโมโซมของแต่ละเพศปะปนกัน
2. ในการจัดเรียงโครโมโซมอาจมีโครโมโซมบางคู่ที่มีขนาดใกล้เคียงกันมาก
นักเรียนอาจเรียงสลับตำแหน่งกันก็ได้
3. ควรจัดเรียงโครโมโซมของเพศชายก่อนเพศหญิงตามขั้นตอนที่ให้ไว้ในกิจกรรม
เพื่อให้สังเกตเห็นโครโมโซม X ซึ่งแตกต่างจากออโตโซม และเมื่อนักเรียนจัดเรียง
โครโมโซมของเพศหญิงจะสามารถแยกโครโมโซม X ออกจากออโตโซมได้ง่ายขึ้น
แบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.5 โครโมโซมในเซลล์ร่างกายของมนุษย์เป็นอย่างไร

ชื่อ-นามสกุล...................................................................................ชั้น.................เลขที.่ ..........กลุ่มที.่ ...........


 เมื่อนำภาพโครโมโซมมนุษย์มาจัดเรียงจะมีลักษณะดังนี้
โครโมโซมของมนุษย์เพศชาย

โครโมโซมของมนุษย์เพศหญิง
คำถามท้ายกิจกรรม
1. โครโมโซมในเซลล์ร่างกายของมนุษย์เพศชายและเพศหญิงมีจำนวนเท่ากันหรือไม่ อย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................………………..
.......................................................……………….........................................................………………......................
...........................……………….........................................................………………..................................................
2. โครโมโซมในเซลล์ร่างกายของมนุษย์เพศชายและเพศหญิงเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................………………..
.......................................................……………….........................................................………………......................
...........................……………….........................................................………………..................................................
3. เซลล์ร่างกายของมนุษย์เพศชายและเพศหญิงมีจำนวนฮอมอโลกัสโครโมโซมกี่คู่
……………….........................................................……………….........................................................………………..
.......................................................……………….........................................................………………......................
...................................……………….........................................................………………..........................................
4. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................………………..
.......................................................……………….........................................................………………......................
...........................……………….........................................................………………..................................................
……………….........................................................……………….........................................................………………..
.......................................................……………….........................................................………………......................
...........................……………….........................................................………………..................................................
ใบกิจกรรมที่ 2.5 การแบ่งเซลล์มีแบบใดบ้าง
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2560) สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
หน้า 47
กิจกรรมที่ 2.6 การแบ่งเซลล์มีแบบใดบ้าง?
จุดประสงค์ สังเกตและอธิบายความแตกต่างของการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต

วัสดุอุปกรณ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน
วิธีดำเนินกิจกรรม 1. สังเกตและเปรียบเทียบจำนวนเซลล์และโครโมโซมของเซลล์ที่ได้จากการแบ่ง
เซลล์ของสิงมีชีวิตชนิดหนึ่งจากแผนภาพการแบ่งเซลล์แบบที 1 และแบบที 2

เซลล์ตั้งต้น เซลล์ที่ได้จากการแบ่งเซลล์
แบบที่ 1

แผนภาพการแบ่งเซลล์แบบที่ 1

เซลล์ตั้งต้น เซลล์ที่ได้จากการแบ่งเซลล์
แบบที่ 2

แผนภาพการแบ่งเซลล์แบบที่ 2
กิจกรรมที่ 2.6 การแบ่งเซลล์มีแบบใดบ้าง?
วิธีดำเนินกิจกรรม 2.คาดคะเนและวาดภาพจำนวนโครโมโซมของเซลล์ใหม่ที่เกิดจากการรวม
โครโมโซมของเซลล์ 2 เซลล์ที่ได้ จากการแบ่งเซลล์แบบที่ 1 และแบบที่ 2

เซลล์ 2 เซลล์ที่ได้จากการแบ่งเซลล์แบบที่ 1 เซลล์ใหม่

เซลล์ 2 เซลล์ที่ได้จากการแบ่งเซลล์แบบที่ 2 เซลล์ใหม่

3. ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนโครโมโซมในเซลล์ใหม่ที่เกิดขึ้น เปรียบเทียบกับ
จำนวนโครโมโซมของเซลล์ตั้งต้นของสิงมีชีวิต และวิเคราะห์เกี่ยวกับแบบของการ
แบ่งเซลล์ที่ใช้ในการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ เพือ่ สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.6 การแบ่งเซลล์มีแบบใดบ้าง

ชื่อ-นามสกุล...............................................................................ชั้น.................เลขที.่ ..........กลุ่มที.่ ...........


 บันทึกผลการค้นคว้า
แบบที่ 1 เซลล์ที่เกิดจากการรวมตัวกันของเซลล์ใหม่ 2 เซลล์ที่ได้จากการแบ่งเซลล์แบบที่ 1

วาดภาพจำนวนโครโมโซมของเซลล์ใหม่
การแบ่งเซลล์แบบที่ 1 เป็นการแบ่งเซลล์ที่ใช้ในการสร้าง..................................................................
แบบที่ 2 เซลล์ที่เกิดจากการรวมตัวกันของเซลล์ใหม่ 2 เซลล์ที่ได้จากการแบ่งเซลล์แบบที่ 2

วาดภาพจำนวนโครโมโซมของเซลล์ใหม่
การแบ่งเซลล์แบบที่ 2 เป็นการแบ่งเซลล์ที่ใช้ในการสร้าง...................................................................
คำถามท้ายกิจกรรม
1. จำนวนเซลล์และโครโมโซมของเซลล์ใหม่ที่ได้จากการแบ่งเซลล์แบบที่ 1 และแบบที่ 2
แตกต่างกันอย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................………………..
.......................................................……………….........................................................………………......................
...........................……………….........................................................………………..................................................
2. ในการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศซึ่งมีการรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์ ทำให้จำนวนโครโมโซมของลูก
เท่ากับพ่อแม่ ควรมีการแบ่งเซลล์แบบใด เพราะเหตุใด
……………….........................................................……………….........................................................………………..
.......................................................……………….........................................................………………......................
...........................……………….........................................................………………..................................................
3. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................………………..
.......................................................……………….........................................................………………......................
...........................……………….........................................................………………..................................................
……………….........................................................……………….........................................................………………..
.......................................................……………….........................................................………………......................
...........................……………….........................................................………………..................................................
ใบกิจกรรมที่ 2.7 โครโมโซมของทารกในครรภ์เป็นปกติหรือไม่
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2560) สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
หน้า 52
กิจกรรมที่ 2.7 โครโมโซมของทารกในครรภ์เป็นปกติหรือไม่?
จุดประสงค์ สังเกตและอธิบายผลของการเปลี่ยนแปลงจำนวนโครโมโซม
ที่อาจทำให้เกิดโรคทางพันธุกรรม
วัสดุอุปกรณ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน
สถานการณ์ หญิงคนหนึ่งตั้งครรภ์ เมื่ออายุ 45 ปี เกิดความวิตกกังวลว่าลูกจะผิดปกติ
วิธีดำเนินกิจกรรม ดังนั้นจึงไปปรึกษาแพทย์ แพทย์ได้เจาะน้ำคร่ำ เพื่อนำเชลล์ของทารกไปตรวจ
โครโมโซม ได้ผลดังแผนภาพ

แผนภาพโครโมโซมของทารก
1. อ่านสถานการณ์ที่กำหนดให้ สังเกตโครโมโซมของทารกจากแผนภาพ
เปรียบเทียบกับโครโมโซมของคนปกติในภาพ 2.15 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นม. 3 เล่ม 1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) สสวท.
หน้า 46) บันทึกผล
2. ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนโครโมโซมและเพศของทารก
3. สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคและความผิดปกติที่เป็นผลจากการอภิปรายใน
ข้อ 2 บันทึกผลและนำเสนอ
แบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.7 โครโมโซมของทารกในครรภ์เป็นปกติหรือไม่

ชื่อ-นามสกุล...............................................................................ชั้น.................เลขที.่ ..........กลุ่มที.่ ...........


 บันทึกผลการทำกิจกรรม
……………….........................................................……………….........................................................……………
….........................................................……………….........................................................……………….............
...........................……………….........................................................………………..............................................
……………….........................................................……………….........................................................……………
….........................................................……………….........................................................……………….............
...........................……………….........................................................………………..............................................

 ระบุโรคทางพันธุกรรมอื่น ๆ ที่อาจเกิดได้ในทารกแรกเกิด

……….........................................................……………….........................................................……………….......
..................................................……………….........................................................………………......................
...........................……………….........................................................………………..............................................
……………….........................................................……………….........................................................……………
….........................................................……………….........................................................……………….............
...........................……………….........................................................………………..............................................

คำถามท้ายกิจกรรม
1. ทารกในสถานการณ์ที่กำหนดให้เป็นเพศใด และมีจำนวนโครโมโซมผิดปกติหรือไม่ อย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................………………..
.......................................................……………….........................................................………………......................
...........................……………….........................................................………………..................................................
2. ถ้าหากทารกคลอดออกมาและเจริญเติบโตต่อไปจะทำให้เกิดโรคใด และมีความผิดปกติอย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................………………..
.......................................................……………….........................................................………………......................
...........................……………….........................................................………………..................................................
3. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................………………..
.......................................................……………….........................................................………………......................
...........................……………….........................................................………………..................................................
……………….........................................................……………….........................................................………………..
.......................................................……………….........................................................………………......................
...........................……………….........................................................………………..................................................
ใบกิจกรรมที่ 2.8 วางแผนอย่างไรก่อนแต่งงานเพื่อลดความเสี่ยงที่จะมีบุตรที่เป็นโรคทางพันธุกรรม
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2560) สสวท. กระทรวงศึกษาธิการ
หน้า 58
กิจกรรมที่ 2.8 วางแผนอย่างไรก่อนแต่งงานเพื่อลดความเสี่ยงที่จะมีบุตรที่เป็นโรคทาง
พันธุกรรม?
จุดประสงค์ อธิบายโอกาสเกิดโรคทางพันธุกรรมในรุ่นลูกเพื่อนำไปใช้วางแผนก่อนแต่งงาน
และมีบุตร
วัสดุอุปกรณ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน
วิธีดำเนินกิจกรรม 1. พิจารณาจีโนไทป์ของชายหญิงแต่ละคู่จากตารางที่กำหนดให้

ตารางจีโนไทป์ของชายหญิงคู่ที่ 1 – 5
จีโนไทป์
คู่ที่
ชาย หญิง
1 BB BB
BB แสดงลักษณะปกติ
2 BB Bb Bb แสดงลักษณะปกติและเป็น
3 Bb Bb พาหะของโรคธาลัสซีเมีย
4 bb Bb bb แสดงลักษณะของโรคธาลัสซีเมีย

5 BB bb

2. เขียนแผนภาพแสดงการผสมจีโนไทป์ของชายหญิงที่มีจีโนไทป์ในตาราง
3. วิเคราะห์และอภิปรายความเสี่ยงในการเกิดโรคธาลัสซีเมียในรุ่นลูก
4. วางแผนก่อนแต่งงานและการมีบุตรของชายหญิงแต่ละคู่ บันทึกผลและนำเสนอ
แบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.8
วางแผนอย่างไรก่อนแต่งงานเพื่อลดความเสี่ยงที่จะมีบุตรที่เป็นโรคทางพันธุกรรม
ชื่อ-นามสกุล...............................................................................ชั้น.................เลขที.่ ..........กลุ่มที.่ ...........
 บันทึกผลการทำกิจกรรม
เมื่อพิจารณาจีโนไทป์ของคู่แต่งงานแต่ละคู่จากตารางที่กำหนดให้ สามารถเขียนแผนภาพเพื่อหา
ความเสี่ยงของการเกิดโรคธาลัสซีเมียได้ดังนี้เมื่อพิจารณาจีโนไทป์ของคู่แต่งงานแต่ละคู่จากตารางที่
กำหนดให้ สามารถเขียนแผนภาพเพื่อหาความเสี่ยงของการเกิดโรคธาลัสซีเมียได้ดังนี้
จีโนไทป์ของพ่อแม่ จีโนไทป์ของพ่อแม่

เซลล์สืบพันธุ์ เซลล์สืบพันธุ์

จีโนไทป์ของลูก(F1) จีโนไทป์ของลูก(F1)

ก. คู่ที่ 1 ข. คู่ที่ 2
จีโนไทป์ของพ่อแม่ จีโนไทป์ของพ่อแม่

เซลล์สืบพันธุ์ เซลล์สืบพันธุ์

จีโนไทป์ของลูก(F1) จีโนไทป์ของลูก(F1)

ค. คู่ที่ 3 ง. คู่ที่ 4

จีโนไทป์ของพ่อแม่

เซลล์สืบพันธุ์

จีโนไทป์ของลูก
(F1)
จ. คู่ที่ 5
คำถามท้ายกิจกรรม
1. โอกาสที่รุ่นลูกของชายหญิงแต่ละคู่จะเป็นปกติ เป็นพาหะของโรค หรือเป็นโรคธาลัสซีเมียเป็น
อย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................……………
….........................................................……………….........................................................……………….............
...........................……………….........................................................………………..............................................
2. การลดความเสี่ยงที่จะมีบุตรซึ่งป่วยเป็นโรคธาลัสซีเมียทำได้อย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................……………
….........................................................……………….........................................................……………….............
...........................……………….........................................................………………..............................................
3. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................……………
….........................................................……………….........................................................……………….............
...........................……………….........................................................………………..............................................
……………….........................................................……………….........................................................……………
….........................................................……………….........................................................……………….............
...........................……………….........................................................………………..............................................
ใบกิจกรรมที่ 2.9 ประโยชน์และผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมเป็นอย่างไร
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2560) สสวท.
กระทรวงศึกษาธิการ หน้า 63

กิจกรรมที่ 2.9 ประโยชน์และผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมเป็นอย่างไร?


จุดประสงค์ อธิบายการใช้ประโยชน์และผลกระทบจากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมที่อาจมีต่อ
มนุษย์และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้
วัสดุอุปกรณ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน
วิธีดำเนินกิจกรรม 1. ร่วมกันสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์และผลกระทบของสิ่งมีชีวิตตัดแปร
พันธุกรรมที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม กลุ่มละ 1 ชนิด
2 นำข้อมูลมาอภิปรายร่วมกันภายในกลุ่ม เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าจะยอมรับหรือไม่
ยอมรับการใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม
3. นำเสนอข้อสรุปของกลุ่มพร้อมบอกเหตุผล และเผยแพร่ความรู้ด้วยวิธีการต่าง

ที่น่าสนใจ
แบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมที่ 2.9 ประโยชน์และผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมเป็น
อย่างไร
ชื่อ-นามสกุล..........................................................................ชั้น.................เลขที.่ ..........กลุ่มที่............

 บันทึกผลการค้นคว้า เกีย่ วกับ ประโยชน์และผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม

……………….........................................................……………….........................................................…………
…….........................................................……………….........................................................………………......
...........................……………….........................................................………………..........................................
……………….........................................................……………….........................................................…………
…….........................................................……………….........................................................………………......
...........................……………….........................................................………………..........................................
……………….........................................................……………….........................................................…………
…….........................................................……………….........................................................………………......
...........................……………….........................................................………………..........................................
……………….........................................................……………….........................................................…………
…….........................................................……………….........................................................………………......
...........................……………….........................................................………………..........................................
……………….........................................................……………….........................................................…………
…….........................................................……………….........................................................………………......
...........................……………….........................................................………………..........................................
……………….........................................................……………….........................................................…………
…….........................................................……………….........................................................………………......
...........................……………….........................................................………………..........................................
……………….........................................................……………….........................................................…………
…….........................................................……………….........................................................………………......
...........................……………….........................................................………………..........................................
……………….........................................................……………….........................................................…………
…….........................................................……………….........................................................………………......
...........................……………….........................................................………………..........................................
……………….........................................................……………….........................................................…………
…….........................................................……………….........................................................………………......
...........................……………….........................................................………………..........................................
……………….........................................................……………….........................................................…………
…….........................................................……………….........................................................………………......
...........................……………….........................................................………………..........................................
คำถามท้ายกิจกรรม
1. เพราะเหตุใดนักเรียนจึงตัดสินใจยอมรับหรือไม่ยอมรับการใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดัดแปร
พันธุกรรม
……………….........................................................……………….........................................................…………
…….........................................................……………….........................................................………………......
...........................……………….........................................................………………..........................................
2. สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมมีประโยชน์และผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................…………
…….........................................................……………….........................................................………………......
...........................……………….........................................................………………..........................................
3. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................…………
…….........................................................……………….........................................................………………......
...........................……………….........................................................………………..........................................
……………….........................................................……………….........................................................…………
…….........................................................……………….........................................................………………......
...........................……………….........................................................………………..........................................
ใบกิจกรรมท้ายบท จริยธรรมทางด้านพันธุศาสตร์ของนักเรียนเป็นอย่างไร
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพ.ศ. 2560) สสวท.
กระทรวงศึกษาธิการ หน้า 66
กิจกรรมท้ายบท จริยธรรมทางด้านพันธุศาสตร์ของนักเรียนเป็นอย่างไร?
จุดประสงค์ วิเคราะห์และตัดสินใจเลือกวิธีการที่ถูกต้อง เหมาะสม และคำนึงถึงจริยธรรม
จากสถานการณ์เกี่ยวกับพันธุศาสตร์ที่กำหนดให้
วัสดุอุปกรณ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน
สถานการณ์ สถานการณ์ที่ 1
ชายคนหนึ่งพบว่าภรรยาของเขาเป็นโรคที่ไม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้
โรคนี้เป็นโรคทางพันธุกรรมที่สามารถถ่ายทอดจากแม่ไปยังลูกได้ ปัจจุบันโรค
ดังกล่าวสามารถรักษาได้โดยการทำยีนบำบัด ซึ่งทำได้โดยการเปลี่ยนแปลงยืน
แต่ ก ารรั ก ษาลัก ษณะนี่ ย ัง ข้อ จำกัด ทางด้ า นเทคนิ ค และมี ข้ อ โต้ แ ย้ งทาง
จริยธรรมเกิดขึ้นในสังคมว่า ควรบำบัดยืนที่ผิดปกติในเซลล์ตังต้นที่จะสร้าง
เซลล์ไข่และอสุจิหรือไม่ และถ้ามี การทำยีนบำบัดจะมีผลต่อความหลากหลาย
ทางพันธุกรรรมในอนาคตหรือ มิ่จากสถานการณ์นี่นักเรียนจะเลือกวิธีการใด
ต่อไปนี่ พร้อมทั้งบอกเหตุผล
ก. ให้ลูกเกิดตามธรรมชาติ ถ้าลูกมีอาการของโรคให้รักษาไปตามอาการ
ข. รักษาโดยใช้ยืนบำบัด
ค. ยุติการตั้งครรภ์ ถ้าตรวจพบยืนที่ทำให้เกิดโรคนี้ในทารกที่อยู่ในครรภ์
สถานการณ์ที่ 2
ถ้านักเรียนเป็นเจ้าของบริษัทที่จำหน่ายเมล็ดพันธุ์พืช บริษัทหนึ่งที่มี
การปรับปรุงพันธุ์มะเขือเทศให้มีผลขนาดใหญ่ขึ้นกว่าเดิม 2 เท่าโดยการใส่ยีน
ของ พืชชนิดหนึ่งที่มีผลขนาดใหญ่ลงในยี นของมะเขือเทศ จากสถานการณ์นี้
นักเรียนจะขายมะเขือเทศที่เกิดจากการดัดแปรพันธุกรรมนี้ให้ผู้บริโภคหรือไม่
เพราะเหตุใด
ก. ขาย เพราะมะเขือเทศมีคุณภาพดีกว่าบริษัทอื่น
ข. ขาย เพราะช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนอาหาร
ค. ไม่ขาย เพราะไม่แน่ใจเรื่องความปลอดภัยของผู้บริโภค
กิจกรรมท้ายบท จริยธรรมทางด้านพันธุศาสตร์ของนักเรียนเป็นอย่างไร?
สถานการณ์ สถานการณ์ที่ 3
การโคลนเป็นการเพิ่มจำนวนสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือน
สิ่งมีชีวิตเดิมทุกประการ หากการโคลนสามารถทำได้กับสัตว์เลี้ยงทุกชนิด และ
นักเรียนเคยมีสุนัขที่รักมากและตายไป นักเรียนจึงทำการคันคว้าและได้ความรู้
มาว่าถ้าอยากให้สุนัขตัวเดิมกลับมา จะต้องนำตัวอย่า งเชลล์ที่บริเวณรากของ
เส้นขนสุนัขไปโคลนจากสถานการณ์นี้ นักเรียนจะเลือกวิธีการใด เพราะเหตุใด
ก. พยายามหาตัวอย่างรากเส้นขนของสุนัขแล้วนำไปโคลน เพื่อให้ได้สุนัขตัว
เดิม
ข. ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติโดยไม่ทำการโคลน เพราะไม่แน่ ใจว่าสุนัขตัว
ใหม่ที่ได้จากการโคลนจะเหมือนกับตัวเดิมทุกประการ
สถานการณ์ที่ 4
หากมีบริษัทที่นำเสนอว่า สามารถสร้างเด็กหลอดแก้วที่มีลักษณะตาม
ความต้องการของพ่อแม่ได้ โดยนำยีนที่ควบคุมลักษณะต่าง ๆ ตามที่ต้องการ
ใส่เข้าไปในไชโกต เช่น ยืนควบคุมความฉลาด ความสามารถด้านดนตรี
ความสามารถด้านกีฬา จากสถานการณ์นี้ ถ้านักเรียนเป็นพ่อแม่ของเด็ก
นักเรียนจะเลือกวิธีการใด เพราะเหตุใด
ก. เลือกสร้างเด็กหลอดแก้วที่มีลักษณะตามที่นักเรียนต้องการ เพราะทำให้
เด็กที่เกิดมามีความพร้อมทั้งสติปัญญาและความสามารถในด้านต่าง ๆ
ข. ไม่เลือกใส่ยืนเข้าไปในไชโกต เพราะต้องการให้ลูกมีลักษณะคล้ายคลึงกับ
พ่อแม่
วิธีดำเนินกิจกรรม 1. อ่านและวิเคราะห์สถานการณ์ที่กำหนดให้ ร่วมกันอภิปรายและตัดสินใจ
เลือกวิธีการในแต่ละสถานการณ์ โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้และผลกระทบที่
อาจเกิดขึ้น บันทึกผล และนำเสนอ
2. ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความถูกต้อง เหมาะสม และจริยธรรมในการ
ตัดสินใจเลือกวิธีการของแต่ละสถานการณ์
แบบบันทึกการค้นคว้ากิจกรรมท้ายบท จริยธรรมทางด้านพันธุศาสตร์ของนักเรียนเป็นอย่างไร

ชื่อ-นามสกุล......................................................................ชั้น.................เลขที.่ ..........กลุม่ ที.่ ...........

 บันทึกผลการอ่านและวิเคราะห์สถานการณ์ที่กำหนดให้ แล้วตัดสินใจเลือกวิธีการใดวิธีการ
หนึ่งจากการอภิปรายโต้แย้งโดยใช้เหตุผล ซึ่งการเลือกวิธีการใดนั้นจะต้องคำนึงถึงความถูกต้อง
เหมาะสม และจริยธรรม
สถานการณ์ที่ 1
……………….........................................................……………….........................................................……
………….........................................................……………….........................................................…………
...........................……………….........................................................……………….....................................
……………….........................................................……………….........................................................……
………….........................................................……………….........................................................…………
...........................……………….........................................................……………….....................................
สถานการณ์ที่ 2
……………….........................................................……………….........................................................……
………….........................................................……………….........................................................…………
...........................……………….........................................................……………….....................................
……………….........................................................……………….........................................................……
………….........................................................……………….........................................................…………
...........................……………….........................................................……………….....................................
สถานการณ์ที่ 3
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………….........................................................……………….........................................................……
………….........................................................……………….........................................................…………
...........................……………….........................................................……………….....................................
……………….........................................................……………….........................................................……
………….........................................................……………….........................................................…………
...........................……………….........................................................……………….....................................
สถานการณ์ที่ 4
……………….........................................................……………….........................................................……
………….........................................................……………….........................................................…………
...........................……………….........................................................……………….....................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………….........................................................……………….........................................................……
………….........................................................……………….........................................................…………
...........................……………….........................................................……………….....................................
คำถามท้ายกิจกรรม
1. ในการตัดสินใจเลือกวิธีการใดในแต่ละสถานการณ์ นักเรียนมีเหตุผลในการตัดสินใจเลือกวิธีการ
นั้น ๆ อย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................……………
….........................................................………………..........................................………………............................
.............................……………….........................................................………………............................................
……………….........................................................……………….........................................................……………
….........................................................………………..........................................………………............................
.............................……………….........................................................………………............................................
2. จากกิจกรรมนี้ สรุปได้ว่าอย่างไร
……………….........................................................……………….........................................................……………
….........................................................………………..........................................………………............................
.............................……………….........................................................………………............................................
……………….........................................................……………….........................................................……………
….........................................................………………..........................................………………............................
.............................……………….........................................................………………............................................
……………….........................................................……………….........................................................……………
….........................................................………………..........................................………………............................
.............................……………….........................................................………………............................................

You might also like