You are on page 1of 12

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี

เอกสารประกอบการพัฒนาศักยภาพนักเรียนทางวิชาการ เสริมเข้มวันเสาร์ ภาคเรียนที่ 1 /2564


รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานเข้มข้น 5 รหัสวิชา ว 23103 ครั้งที่ 2 วันเสาร์ที่ 3 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564
เรื่อง แบบฝึกหัดทบทวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ผู้สอน นางสาวอัฉราพรรณ นิลเถื่อน
โครงการห้องเรียนพิเศษ ระดับชั้นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2-3/3
ชื่อ................................................นามสกุล...........................................ชั้น.......................เลขที.................

จงเติมข้อมูลในช่องว่าง
1.

1.1. โครโมโซมอยู่บริเวณใดของเซลล์...................................................
1.2. โครโมโซมประกอบด้วย.................................................................
1.3. สารพันธุกรรมที่ควบคุมลักษณะต่างๆของสิ่งมีชีวิตคือ...................
1.4. แต่ละช่วงของดีเอ็นเอมีหน่วยพันธุกรมคือ.....................................
1.5. ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีนจากพ่อแม่สามารถ
ถ่ายทอดสู่ลูกผ่านทาง...........................................................................

2. 2.1. จากภาพเป็นโครงสร้างของ...........................................................
2.2 การศึกษาลักษณะของโครโมโซมควรศึกษาในขณะที่เซลล์อยู่ใน
ระยะใด..............................................................................................
2.3. โครโมโซม 1 แท่ง ประกอบด้วยโครมาทิดจำนวน............ โครมาทิด
2.4. บริเวณที่โครมาทิดเชื่อมติดกันเรียกว่า.............................................
2.5. โครโมโซมของมนุษย์มีจำนวน ....................แท่งหรือ..................คู่

3. ลักษณะทางพันธุกรรม ถูกควบคุมโดย.............................ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของดีเอ็นเอ และสายดีเอ็นเอ


เป็นสายยาวสองสายพันกันเป็น เกลียวคู่วนขวา แล้วไปจับกับโปรตีน และขดเป็นแท่ง
................................................. ซึ่งอยู่ใน.....................................ของเซลล์ โดยเซลล์ แบ่งเป็น เซลล์
ร่างกาย และเซลล์สืบพันธุ์
4. ตารางผลการทดลองของเมนเดล

4.1 เมื่อผสมพันธุ์ถั่วในแต่ละลักษณะ ลักษณะใดที่ปรากฏเฉพาะในรุ่นที่ 1


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4.2 เมื่อผสมพันธุ์ถั่วในแต่ละลักษณะ ลักษณะใดที่ไม่ปรากฏในรุ่นที่ 1 แต่มาปรากฏในรุ่นที่ 2
..................................................................................................................................... .........................................
..............................................................................................................................................................................
4.3. เมื่อนำจำนวนของลูกในรุ่นที่ 2 ที่เป็นลักษณะด้อยหารด้วยจำนวนของลูกที่เป็นลักษณะเด่น จะได้
อัตราส่วนประมาณเท่าใด
..............................................................................................................................................................................
5. กฎของเมนเดล

จากกฎของเมลเดล จะพบว่า
5.1 กฎ......................................พบได้ในการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะโดยพิจารณายีนคู่เดียว ( Monohybrid cross )
โดยยีนที่อยู่คู่กัน จะแยกตัวออกจากกันไปอยู่ในแต่ละเซลล์สืบพันธุ์ ดังนั้นภายในเซลล์สืบพันธุ์จะไม่มียีนที่เป็นคู่กัน
5.2 กฎ......................................พบได้ในการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะโดยพิจารณาจาก………………………………………………
ยีนที่อยู่เป็นคู่กันเมื่อแยกออกจากกันแล้ว แต่ละยีนจะไปกับยีนอื่นใดก็ได้อย่างอิสระ นั่นคือ เซลล์สืบพันธุ์จะมีการรวมกลุ่ม
ของหน่วยพันธุกรรมของลักษณะต่างๆ โดยการรวมกลุ่มที่เป็นไปอย่างอิสระ จึงทำให้สามารถทำนายผลที่เกิดขึ้นในรุ่นลูกรุ่น
หลานได้ สูตรหาจำนวนแบบเซลล์สืบพันธุ์ คือ ...................... เมื่อ n = จำนวนคู่ของ heterozygous
6. เติมคำศัพท์ที่กำหนดให้ต่อไปนี้
1) Allele 2) Dominant Allele 3) Recessive Allele
4) Dominant trail 5) Dominant gene 6) Homozygous gene
7) Heterozygous gene 8) Genotype 9) Phenotype

........................ 6.1) รูปแบบของยีนที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะเดียวกัน เช่น IA IB และ i


........................ 6.2) รูปแบบของยีนที่อยู่เป็นคู่ๆ ที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม เช่น PP , Pp , pp
........................ 6.3) ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกมาเช่น หนังตา
........................ 6.4) คู่ของแอลลีลที่เหมือนกัน หรือพันธุ์แท้ เช่น หมู่เลือด A (IAIA) ต้นถั่วเตี้ยพันธุ์แท้(tt)
........................ 6.5) คู่ของแอลลีลที่ต่างกันกัน หรือพันธุ์ทาง เช่น หมู่เลือด A (IAi) ต้นถั่วสูงพันธุ์ทาง(Tt)
........................ 6.6) แอลลีลที่ควบคุมลักษณะเด่น เขียนแทนด้วยตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ เช่น T
........................ 6.7) แอลลีลที่แสดงออกเมื่อเป็นพันธุ์แท้เท่านั้น ซึ่งถูกแอลลีลเด่นข่มไว้
........................ 6.8) ลักษณะที่แสดงออกมา ไม่ว่าจะมีคู่ของยีนเป็นพันธุ์แท้หรือพันธุ์ทาง หรือลักษณะเด่น เช่น แนวผม
แหลมที่หน้าผาก ตาชั้นเดียว มีติ่งหู มีลักยิ้ม
........................ 6.9) ยีนที่แสดงออกเสมอไม่ว่าจะเป็นพันธุ์แท้หรือพันธุ์ทาง ซึ่งเรียกว่า ยีนเด่น

7. นำต้นถั่วลันเตาที่มีดอกสีม่วงและต้นถั่วลันเตาที่มีดอกสีขาวมาผสมพันธุ์กัน ตามแผนภาพ
กำหนดให้ P แทนแอลลีลควบคุมดอกสีม่วง และ p แทนแอลลีลควบคุมดอกสีขาว ให้นักเรียนเติมตัวอักษรและคำลง
ในแผนภาพให้ถูกต้อง
8. เติมข้อมูลในช่องว่างการหาอัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์โดยการทำตารางพันเนตต์
(punnett square)
อาร์.ซี. พันเนตต์ นักพันธุศาสตร์ชาวอังกฤษเป็นผู้คิดค้นและนำเสนอตารางพันเนตต์ เพื่อศึกษา
อัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์ ของสิ่งมีชีวิตที่เกิดจากการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ หลักการของการทำ
ตารางพันเนตต์ต้องนำยีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆของสิ่งมีชีวิตในเซลล์สืบพันธุ์ที่แยกออกจากกันอย่างอิสระตาม
กฎแห่งการแยก และมีการเข้าคู่กันอย่างอิสระตามกฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระมาเขียนลงในตารางตาม
แนวตั้งและแนวนอน ทำให้สามารถหาจีโนไทป์ของลูกผสมที่ได้จากการรวมกลุ่มของยีนในเซลล์สืบพันธุ์ของพ่อ
ในแนวตั้งและเซลล์สืบพันธุ์ของแม่ในแนวนอน เช่น การผสมถั่วเมล็ดกลมสีเหลืองซึ่งมีจีโนไทป์เป็น RrYy
ดังตาราง

เซลล์สืบพันธุ์ของรุ่น F1 ที่มีเมล็ดกลมสีเหลือง (RrYy)

รุ่น F1 ฟีโนไทป์ จีโนไทป์ ชนิดของเซลล์สืบพันธุ์


พ่อ เมล็ดกลมสีเหลือง RrYy ……………………………….
แม่ เมล็ดกลมสีเหลือง RrYy ……………………………….

จากเซลล์สืบพันธุ์ดังกล่าวข้างต้นนำมาเขียนตารางพันเนตต์ได้ดังนี้

เซลล์สืบพันธ์ของแม่
RY …….. rY ry
เซลล์สืบพันธ์ของพ่อ
…….. RRYY RRYy RrYY RrYy
Ry RRYy ………….. RrYy …………..
…….. ………….. RrYy rrYY rrYy
ry RrYy Rryy ………….. rryy

9. การมีติ่งหูและไม่มีติ่งหูของมนุษย์เป็นลักษณะที่สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ การมีติ่งหูเป็นลักษณะเด่นโดยมี
แอลลีลควบคุมลักษณะการมีติ่งหู (E) เป็นแอลลีลเด่น ส่วนแอลลีลควบคุมลักษณะไม่มีติ่งหู (e) เป็นแอลลีลด้อย
นักเรียนคิดว่าเป็นไปได้หรือไม่ว่าพ่อแม่ที่มีติ่งหูทั้งคู่จะให้กำเนิดลูกที่ไม่มีติ่งหู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ให้นักเรียนอธิบายคำตอบ
โดยเขียนแผนภาพแสดงการถ่ายทอดลักษณะการมีติ่งหูและไม่มีติ่งหูจากพ่อแม่ไปสู่ลูก
10. หมู่เลือดและหลักการให้เลือด ผู้ให้เลือดต้องไม่มีแอนติเจนชนิดเดียวกับแอนติบอดีของผู้รับ เพราะปฏิกิริยาระหว่าง
แอนติเจนกับแอนติบอดีที่เหมือนกันจะเกิด agglutination ทำให้เม็ดเลือดแดงอุดตันตามเส้นเลือดเกิดอันตรายต่อผู้รับ

ถ้าพ่อแม่มีหมู่เลือด A ที่เป็นแบบเฮเทอโรไซกัสทั้งคู่ ลูกที่เกิดขึ้นจะมีหมู่เลือดเป็นอย่างไร


พ่อมีฟีโนไทป์เป็น……………………………….มีจีโนไทป์เป็น…………………………….มีเซลล์สืบพันธ์กี่แบบ…………………
แม่มีฟีโนไทป์เป็น……………………………….มีจีโนไทป์เป็น…………………………….มีเซลล์สืบพันธ์กี่แบบ…………………
เซลล์สืบพันธ์ของแม่
เซลล์สืบพันธ์ของพ่อ

คำตอบ..................................................................................................................................................................

11. การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตจะมีการแบ่งเซลล์แบบ..........................................................................เนื่องจาก
จำนวนชุดโครโมโซมจะลดลงครึ่งหนึ่งจาก 2n เป็น n
และการแบ่งเซลล์เพื่อการเจริญเติบโต เช่น เซลล์ผิวหนังของสิ่งมีชีวิตจะมีการแบ่งเซลล์แบบ............................เนื่องจาก
จำนวนชุดโครโมโซม.................................................
12. สามีภรรยาปกติคู่หนึ่งมีลูกชาย 2 คนและลูกสาว 1 คน ทุกคนป่วยเป็นโรคธาลัสซีเมีย กำหนดให้ B แทนแอลลี
ลเด่นซึ่งเป็นแอลลีลปกติ b แทนแอลลีลด้อยซึ่งเป็นแอลลีลที่ทำให้เกิดโรคธาลัสซีเมีย ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
12.1 จีโนไทป์ของสามีภรรยาคู่นี้เป็นอย่างไร
สามีมจี ีโนไทป์……………………………………………………………………ภรรยามีจีโนไทป์………………………………………………………
12.2 ลูกที่เกิดจากสามีภรรยาคู่นี้มีจีโนไทป์และฟีโนไทป์อย่างไรบ้างและมีอัตราส่วนเท่าใด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
12.3 ถ้าลูกสาวของสามีภรรยาคู่นี้แต่งงานกับชายปกติแล้วมีลูก 2 คน คนหนึ่งเป็นลูกชายที่เป็นโรคธาลัสซีเมีย
ส่วนอีกคนหนึ่งเป็นลูกสาวปกติ จีโนไทป์ของชายคนนี้และลูกสาวของสามีภรรยาคู่นี้มีจีโนไทป์เป็นอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……… ………

……… ……… ……… ………

…………………………………………………. ………………………………………………….

13. พ่อเป็นโรคฮีโมฟีเลีย และแม่ไม่เป็นโรคฮีโมฟีเลียซึ่งคนในครอบครัวของแม่ไม่เคยมีประวัติว่าเป็นโรค


ดังกล่าว โดยโรคฮีโมฟีเลียเป็นโรคทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดโดยยีนด้อยบนโครโมโซมเพศ (X) กำหนดให้
XH เป็นยีนเด่น กำหนดลักษณะไม่เป็นฮีโมฟีเลียและ Xh เป็นยีนด้อย กำหนดลักษณะเป็นฮีโมฟีเลีย
แล้วลูกมีโอกาสเป็นโรคฮีโมฟีเลียหรือไม่ อย่างไร

พ่อมีฟีโนไทป์เป็น……………………………….มีจีโนไทป์เป็น…………………………….มีเซลล์สืบพันธ์กี่แบบ…………………

แม่มีฟีโนไทป์เป็น……………………………….มีจีโนไทป์เป็น…………………………….มีเซลล์สืบพันธ์กี่แบบ…………………
เซลล์สืบพันธ์ของแม่
เซลล์สืบพันธ์ของพ่อ

คำตอบ..................................................................................................................................................................
14. พ่อเป็นโรคฮีโมฟีเลีย และแม่เป็นพาหะของโรคฮีโมฟีเลียแล้วลูกมีโอกาสเป็นโรคฮีโมฟีเลียหรือไม่ อย่างไร

พ่อมีฟีโนไทป์เป็น……………………………….มีจีโนไทป์เป็น…………………………….มีเซลล์สืบพันธ์กี่แบบ…………………

แม่มีฟีโนไทป์เป็น……………………………….มีจีโนไทป์เป็น…………………………….มีเซลล์สืบพันธ์กี่แบบ…………………
เซลล์สืบพันธ์ของแม่
เซลล์สืบพันธ์ของพ่อ

คำตอบ..................................................................................................................................................................

15. พ่อไม่เป็นโรคฮีโมฟีเลีย แต่แม่เป็นโรคฮีโมฟีเลียแล้วลูกมีโอกาสเป็นโรคฮีโมฟีเลียหรือไม่ อย่างไร

พ่อมีฟีโนไทป์เป็น……………………………….มีจีโนไทป์เป็น…………………………….มีเซลล์สืบพันธ์กี่แบบ…………………

แม่มีฟีโนไทป์เป็น……………………………….มีจีโนไทป์เป็น…………………………….มีเซลล์สืบพันธ์กี่แบบ…………………
เซลล์สืบพันธ์ของแม่
เซลล์สืบพันธ์ของพ่อ

คำตอบ..................................................................................................................................................................
เลือกคำคอบที่ถูกต้องที่สุด
1. ลักษณะใดต่อไปนี้ไม่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
1. ลักยิ้มและลักษณะติ่งหู 2. รูปร่างหน้าตา
3. สติปัญญา 4. ความรู้
2. มนุษย์ปกติจะมีจำนวนโครโมโซมเท่าใด
1. 23 คู่ 48 แท่ง และมีชุดโครโมโซม 2 ชุด(2n)
2. 23 คู่ 46 แท่ง และมีชุดโครโมโซม 2 ชุด(2n)
3. 24 คู่ 46 แท่ง และมีชุดโครโมโซม 1 ชุด(n)
4. 24 คู่ 48 แท่ง และมีชุดโครโมโซม 1 ชุด(n)
3. โครโมโซมที่มีรูปร่างลักษณะเหมือนกันเป็นคู่ๆ แต่ละคู่เรียกว่าอะไร และถ้านำเซลล์ผิวหนังของมนุษย์เพศ
หญิงมีกี่คู่
1. โครมาทิด และมี 22 คู่ แบ่งเป็นออโตโซม 21 คู่และโครโมโซมเพศ 1 คู่
2. เซนโทรเมียร์และมี 23 คู่ แบ่งเป็นออโตโซม 22 คู่และโครโมโซมเพศ 1 คู่
3. โฮโมโลกัสโครโมโซมและมี 23 คู่ แบ่งเป็นออโตโซม 22 คู่และโครโมโซมเพศ 1 คู่
4. โฮโมไซกัสโครโมโซมและมี 22 คู่ แบ่งเป็นออโตโซม 21 คู่และโครโมโซมเพศ 1 คู่
4. โครโมโซม ประกอบด้วยอะไรบ้าง
1. โปรตีนฮิสโทนและDNA 2. น้ำตาลและRNA
3. น้ำตาลและDNA 4. โปรตีนฮิสโทนและRNA
5. จากภาพ หมายเลข 3 คือสิ่งใด

1. Cell 2. Nucleus 3. DNA 4. Chromosome


5. ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของนิวคลีโอไทด์ซึ่งเป็นหน่วยย่อยของ DNA
1.น้ำตาลเพนโทส 2.ไนโตรเจนเบส 3.หมู่ฟอสเฟต 4.น้ำตาลไรโบส
6. ข้อใด ผิด
1. DNA ประกอบด้วยสาย polynucleotide 2 สายบิดเป็นเกลียวเวียนขวา
2. polynucleotide ในสายเดียวกันจะเชื่อมกันด้วยหมู่ฟอสเฟตกับน้ำตาล
3. polynucleotide สองสายจะเชื่อมกันด้วยหมู่ฟอสเฟตกับน้ำตาล
4. เบสคู่สม คือ A กับ T และ C กับ G
7. หน่วยพันธุกรรมที่ควบคุมการถ่ายทอดลักษณะต่างๆ อยู่ในส่วนใด
1. ยีน 2. เม็ดเลือด 3. เซลล์ในร่างกาย 4. เซลล์สมอง
8. พันธุ์ทาง (heterozygous) คือลักษณะใด
1. ลักษณะฟีโนไทป์ที่มีแอลลีลทั้งคู่ต่างกัน 2. ลักษณะฟีโนไทป์ที่มแี อลลีลทั้งคู่เหมือนกัน
3. ลักษณะจีโนไทป์ที่มีแอลลีลทั้งคู่ต่างกัน 4. ลักษณะจีโนไทป์ที่มีแอลลีลทั้งคู่เหมือนกัน
ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 9 -10
เมื่อทดลองนำกระต่ายขนสีดำไปผสมกับกระต่ายขนสีขาวพันธุ์แท้ทั้งคู่ ลูกที่ได้ คือ F1 จะมีขนสีดำทั้งหมดและเมื่อ
เอาลูกรุ่นที่ F1 ผสมกันเองได้ลูกรุ่นที่ F2 เป็นกระต่ายขนสีดำ 27 ตัว และ กระต่ายขนสีขาว 9 ตัว
9. ข้อใดกล่าวถึงลักษณะเด่นและด้อยของลักษณะสีของกระต่ายได้ถูกต้อง
1. ลักษณะเด่นคือขนสีดำ และขนสีขาว (เป็น Codominant)
2. ลักษณะเด่นคือขนสีขาว และลักษณะด้อยคือขนสีดำ
3. ลักษณะเด่นคือขนสีดำ และลักษณะด้อยคือขนสีขาว
4. ลักษณะเด่นคือขนสีดำ และลักษณะด้อยคือขนสีขาว แต่เป็น incomplete dominant
10. กำหนดให้แอลลีลเด่นของลักษณะสีของกระต่ายแทนด้วย B และแอลลีลด้อยของลักษณะสีของกระต่ายแทนด้วย b
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. ลูกรุ่น F1 ที่ได้มีจีโนไทป์เป็น Bb และลูกรุ่น F2 ที่ได้มีจีโนไทป์ 1 แบบ คือ BB
2. ลูกรุ่น F1 ที่ได้มีจีโนไทป์เป็น Bb และลูกรุ่น F2 ที่ได้มีจีโนไทป์ 2 แบบ คือ BB,bb
3. ลูกรุ่น F1 ที่ได้มีจีโนไทป์เป็น Bb และลูกรุ่น F2 ที่ได้มีจีโนไทป์ 3 แบบ คือ BB,Bb,bb
4. ลูกรุ่น F1 ที่ได้มีจีโนไทป์เป็น Bb และ bb และลูกรุ่น F2 ที่ได้มีจีโนไทป์ 3 แบบ คือ BB,Bb,bb
11. ผสมถัวฝักสีเขียว (YY) กับฝักสีเหลือง (yy) ลูกที่ได้ในรุ่นที่ 1 (F1) จะมีลักษณะอย่างไร
1. ได้ถั่วฝักสีเขียว : ฝักสีเหลือง = 1 : 1
2. ได้ถั่วฝักสีเขียว : ฝักสีเหลือง = 2 : 1
3. ได้ถั่วฝักสีเขียวทั้งหมด
4. ได้ถั่วฝักสีเหลืองทั้งหมด
12. กำหนดให้ A เป็นยีนเด่น กำหนดลักษณะความถนัดซ้าย และ a เป็นยีนด้อย กำหนดลักษณะความถนัด
ขวาพ่อและแม่ควรมีจีโนไทป์แบบใดจึงจะมีโอกาสได้ลูกที่ถนัดซ้ายและถนัดขวาอย่างละ 50%
1. AA x aa
2. AA x Aa
3. Aa x Aa
4. Aa x aa
13. แม่มีเลือดหมู่ A มีลูกสองคน คนหนึ่งมีเลือดหมู่ O อีกคนหนึ่งมีเลือดหมู่ B ดังนั้นพ่อควรมีเลือดหมู่ใด
1. หมู่ A 2. หมู่ B มีจีโนไทป์ IB IB
3. หมู่ O 4. หมู่ B มีจีโนไทป์ IB i
14. จีโนไทป์ของสิ่งมีชีวิตในข้อใดสร้างจำนวนแบบของเซลล์สืบพัน์ได้มากที่สุด
1. AaBBCc 2. AaBbCc
3. AABBCc 4. AABBCC
15. การผสมพันธุ์ถั่วลันเตาที่มีจีโนไทป์เป็น RRYy กับ Rryy รุ่นลูกที่ได้จะมีฟีโนไทป์ตรงกับข้อใด
(กำหนดให้ R แทน เมล็ดกลม r แทนเมล็ดขรุขระ Y แทน เมล็ดสีเหลือง y แทน เมล็ดสีเขียว)
1. เมล็ดกลมสีเหลืองทั้งหมด
2. เมล็ดกลมสีเขียวทั้งหมด
3. เมล็ดกลมสีเหลือง : เมล็ดกลมสีเขียว = 1:1
4. เมล็ดกลมสีเหลือง : เมล็ดขรุขระสีเขียว = 3:1
16. การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส เซลล์ใหม่ที่ได้มีลักษณะเป็นอย่างไร
1. ทำให้สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต
2. ทำให้มีเซลล์ใหม่ทดแทนเซลล์ที่ชำรุด
3. ทำให้สิ่งมีชีวิตมีจำนวนโครโมโซมคงที่ในทุกรุ่น
4. ทำให้เกิดกำรรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์ 2 เพศ
17. จากภาพเป็นการแบ่งเซลล์แบบใด และเรียงลำดับถูกต้อง

1. ไมโทซิส เริ่มต้นจาก B D A C E 2) ไมโทซิส เริ่มต้นจาก B D C A E


3. ไมโอซิส เริ่มต้นจาก B D A C E 4) ไมโอซิส เริ่มต้นจาก B D C A E
18. ข้อใดจะเกิดขึ้นเฉพาะการแบ่งแบบไมโอซิส
1. การจับคู่ของฮอโมโลกัสโครโมโซม 2) การจำลอง DNA
3. การเรียงตัวกลำงเซลล์ของโครโมโซม 4) การแยกตัวของโครมำทิด
19. จากรูป เมื่อแบ่งสิ้นสุดจะได้กี่เซลล์และแต่ละเซลล์มีโครโมโซมกี่แท่ง ตามลำดับ
1. 2 เซลล์ และแต่ละเซลล์มีโครโมโซม 4 แท่ง
2. 4 เซลล์ และแต่ละเซลล์มีโครโมโซม 2 แท่ง
3. 2 เซลล์ และแต่ละเซลล์มีโครโมโซม 2 แท่ง
4. 4 เซลล์ และแต่ละเซลล์มีโครโมโซม 4 แท่ง

20. จากข้อ 19 เมื่อสิ้นสุดการแบ่งเซลล์ในภาพจะได้กี่เซลล์ และแต่ละเซลล์มีโครโมโซมเท่าใด


1. 2 เซลล์ และแต่ละเซลล์มีโครโมโซม 2 แท่ง 2. 4 เซลล์ และแต่ละเซลล์มีโครโมโซม 4 แท่ง
3. 2 เซลล์ และแต่ละเซลล์มีโครโมโซม 4 แท่ง 4 .4 เซลล์ และแต่ละเซลล์มีโครโมโซม 2 แท่ง
21. โรคพันธุกรรมใดที่เกิดจากยีนด้อยบนออโตโซม
1. โรคตาบอดสี 2. โรคฮีโมฟิเลีย
3. โรคทาลัสซีเมีย 4. โรคกล้ามเนื้อแขนขาลีบ
22. ลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนในโครโมโซม X ได้แก่
1. หมู่เลือด ABO 2. โรคตาบอดสี
3. โรคทาลัสซีเมีย 4. โรคมะเร็งที่เรตินา
23. คนปัญญาอ่อนในกลุ่มอาการดาวน์ จะมีโครโมโซมเป็นแบบใด
1. 46+XO หรือ 46+XY
2. 45+XX หรือ 45+XY
3. 47+XX หรือ 47+XY
4. 47+XXX หรือ 47+XXY
24. คนที่โครโมโซม 44+XXY จะมีลักษณะอวัยวะเพศเล็ก ปัญญาอ่อนและเป็นหมัน อาการนี้มักเกิดในเพศใด และเรียก
กลุ่มอาการนี้ว่าอย่างไร
1. เกิดในเพศชาย กลุ่มอาการดาวน์ 2. เกิดในเพศหญิง กลุ่มอาการดาวน์
3. เกิดในเพศชาย กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ 4. เกิดในเพศหญิง กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์
25. เพราะเหตุใดโรคตาบอดสีจึงเกิดกับเพศชายได้มากกว่าเพศหญิง
1. เพศชายจะเป็นโรคที่เกี่ยวกับนัยน์ตามากกว่าเพศหญิง
2. เพศชายมีโครโมโซมเพศคือ Y อยู่แท่งเดียวเมื่อมียีนตาบอดสีอยู่จึงเกิดโรคได้ง่าย
3. เพศหญิงมีภูมิคุ้มกันโรคนี้มากกว่าเพศชาย เพราะมารดาเป็นผู้ถ่ายทอดมาให้
4. เพศหญิงมีโครโมโซมเพศ 2 แท่ง ถ้ามียีนตาบอดสีเพียงแท่งเดียวจะไม่เป็นโรคนี้
26. จากแผนภาพ ชายหญิงคู่นี้มีโอกาสมีลูกชายลักษณะใด

1. ตาปกติทั้ง 3 คน 2. ตาบอดสีทั้ง 3 คน
3. ตาปกติหนึ่งคน ตาบอดสีสองคน 4. ตาปกติสองคน ตาบอดสีหนึ่งคน
27. ถ้าพ่อปกติ แม่ปกติ มีลูกชายบางคนเป็นโรคตาบอดสี กำหนดให้ C แทนยีนควบคุมลักษณะปกติ
และ c แทนยีนที่ทำให้เกิดโรคตาบอดสี จีโนไทป์ของ พ่อ แม่ และลูกชายคนที่เป็นตาบอดสีจะเป็นอย่างไร
1. พ่อ = XCY แม่ = XCXC ลูกชาย = XcY
2. พ่อ = XCY แม่ = XCXc ลูกชาย = XcY
3. พ่อ = XCY แม่ = XcXc ลูกชาย = XcY
4. พ่อ = XcY แม่ = XCXc ลูกชาย = XcY
28. พ่อตาบอดสี แม่ตาปกติ มีลูกชายคนแรกตาบอดสี ถ้าลูกคนต่อไปเป็นผู้หญิงโอกาสที่ลูกสาวจะเป็นตาบอด
สี และตาปกติเป็นเท่าไร
1. ตาบอดสี 50 % ตาปกติ 50 % 2. ตาบอดสี 25 % ตาปกติ 75 %
3. ตาบอดสี 0 % ตาปกติ 100 % 4. ตาบอดสี 100 % ตาปกติ 0 %

You might also like