You are on page 1of 69

จุลชีววิทยา

Microbiology
อ. ศิริรัตน์ ศิริพรวิศาล
บทที่ 2 แบคทีเรี ย
 เป็ นจุลินทรี ยก์ ลุ่มใหญ่
 สาคัญต่อการศึกษาทางจุลชีววิทยามากที่สุด

 ศึกษา : รู ปร่ าง

ขนาด
การจัดเรี ยงตัว
โครงสร้างต่าง ๆ
องค์ประกอบภายในไซโพลาสซึ ม
รูปร่ าง
• มีรูปร่ างหลายแบบ เช่น
กลม แท่ง แท่งตรง (regular rod)
แท่งกลมปลายมน (rounded end)
แท่งกลมสั้นคล้ายไข่ (coccoid)
แท่งไม่ตรง (irregular rod)
รู ปทรงกระบอกขนาดหัวท้ายไม่เท่ากัน (club-shaped)
รู ปแท่งยาวปลายเรี ยวคล้ายกระสวย (fusiform) แท่งโค้ง (curved rod)
เกลียวสว่าน (spirochete) และแบบเกลียว เป็ นต้น
ก. ข. ค.

จ. ฉ.
ง.

ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p. 53)


รู ปร่ างต่างกันเป็ นการปรับตัวให้อยูใ่ นสภาพแวดล้อมได้ดีข้ ึน

ช่วยในการแลกเปลี่ยน
สารอาหารกับสภาพ
ลดความเสี ยด
แวดล้อมได้ดีกว่ารู ปกลม
ทานในการ
เนื่องจากมีพ้นื ที่ผวิ ต่อ เคลื่อนที่จาก
ปริ มาตรมากกว่า สิ่ งแวดล้อมได้ดี
เซลล์ทนอยูใ่ นสภาพแวดล้อม
ที่แห้งแล้งได้ดี
การจัดเรียงตัว
• เซลล์ที่มีรูปร่ างกลมมีการเรี ยงตัวได้หลายแบบ
สองเซลล์เรี ยงต่อกัน เรี ยก diplococci
สี่ เซลล์เรี ยงกัน เรี ยก tetrad
แปดเซลล์เรี ยงกันเป็ นลูกบาศ์ก เรี ยก sarcina
หลายเซลล์เรี ยงเป็ นกลุ่มคล้ายพวกองุ่น เรี ยก staphylococci
หลายเซลล์เรี ยงต่อกันเป็ นสายยาว เรี ยก streptococci

staphylococci streptococci
http://classes.midlandstech.com
แบคทีเรี ยรู ปแท่งมักไม่มีการเรี ยงตัวที่ชดั เจนเท่ากับแบคทีเรี ยรู ปร่ าง
กลม แต่อาจพบการเรี ยงตัวของเซลล์ได้ตามระยะการเจริ ญ หรื อตาม
สภาพอาหารของการเพาะเลี้ยง

แบคทีเรี ยบางชนิด Corynebacterium diphtheriae เซลล์มกั จะเรี ยง


ติดกันเป็ นชั้นหรื อเป็ นแถว (palisade arrangement)

Mycobacterium tuberculosis มักจะเรี ยงกันสามเซลล์เป็ นกิ่งก้าน


http://classes.midlandstech.com
แบคทีเรี ยรู ปร่ างโค้งงอหรื อ
เกลียวมักอยูเ่ ป็ นเซลล์เดี่ยว ๆ

http://classes.midlandstech.com
Haloarcula,
รู ปร่ างอื่น ๆ
a genus of halophilic
archaea, are rectangular.

Stella are star-shaped


http://classes.midlandstech.com
ขนาด
• แบคทีเรี ยแต่ละชนิดมีขนาดที่แตกต่างกัน
• ทัว่ ไป กว้าง 0.5-1 ไมโครเมตร ยาว 2-5 ไมโครเมตร
• การวัดขนาดของแบคทีเรี ย ใช้ ocular micrometer
ocular micrometer
มีลกั ษณะเป็ นแผ่นกระจกกลม สาหรับใส่ ในกระบอกเลนส์ตา (ocular lens)
ไมโครมิเตอร์ น้ ีมีขีดแบ่งเป็ นช่อง ช่องละเท่า ๆ กัน
การหาค่าของช่องเหล่านี้ ทาได้โดย
นามาเทียบกับขีดแบ่งบน stage micrometer
1 mm แบ่งออกเป็ น 100 ช่อง
แต่ละช่องมีระยะห่าง 0.01 mm หรื อ 10 um
การเทียบขนาด

เลื่อนสเกลของไมโครมิเตอร์ ท้ งั สองมาขนานกัน ให้ซอ้ นกันพอดี

นับจานวนช่องของออคคิวลาร์ ไมโครมิเตอร์
ที่ตรงหรื อทับกับสเตจไมโครมิเตอร์ พอดี
โดยให้จุดเริ่ มต้นของสเกลทั้งสองตรงกัน

แล้วนามาเปรี ยบเทียบ
เลื่อนสเกลของไมโครมิเตอร์ ท้ งั สองมา
ขนานกัน ให้ซอ้ นกันพอดี

นับจานวนช่องของออคคิวลาร์ ไมโครมิเตอร์
ที่ทบั กับสเตจไมโครมิเตอร์ พอดีโดยให้
จุดเริ่ มต้นของสเกลทั้งสองตรงกัน
ออคคิวลาร์ไมโครมิเตอร์ a ช่อง
ตรงและทับพอดีกบั สเตจไมโครมิเตอร์ b ช่อง

ออคคิวลาร์ไมโครมิเตอร์ 1 ช่อง
ตรงและทับพอดีบสเตจไมโครมิเตอร์ b/a x 0.01 mm
จากนั้นถอดสเตจไมโครมิเตอร์ ออก
นาสไลด์ของแบคทีเรี ยมาวัดแทน

ค่าที่ได้จากการคานวณใช้ได้เฉพาะกาลังขยายที่ใช้นบั เท่านั้น
หากเปลี่ยนกาลังขยายของเลนส์ตา
เลนส์วตั ถุ หรื อเลนส์ท้ งั สอง
จะต้องเทียบค่าใหม่ และค่าที่ได้น้ ี

ค่าเฉพาะสาหรับกล้องแต่ละตัวไม่สามารถ
นาไปใช้กบั กล้องจุลทรรศน์ตวั อื่นได้

กล้องแต่ละตัวมีความคลาดเคลื่อนของ
กาลังขยายของเลนส์เล็กน้อย
โครงสร้ าง
เอนโดสปอร์ (endospore)
ทาให้แบคทีเรี ยมีความทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้
ไม่ใช่โครงสร้างสาหรับการสื บพันธุ์

พบในแบคทีเรี ยบางชนิด คือ


Bacillus Clostridium
Sporosarcin Thermoactinomyces
Desulfotomaculum
รู ปร่ างและตาแหน่งของสปอร์ จะแตกต่างกันไปตามสปี ชีส์ของแบคทีเรี ย

เป็ นคุณสมบัติพิเศษที่สามารถใช้ในการจัดจาแนกชนิดของแบคทีเรี ย

ปลายเซลล์และมีการพอง
ตรงกลางเซลล์

ปลายเซลล์และมีการพอง
ค่อนไปทางปลายเซลล์

ปลายเซลล์
ที่มา (Prescott, Harley and Klein, 2005, p. 69 )
แคปซูล (capsule)
 พบในแบคทีเรี ยบางชนิด
 มีลกั ษณะเป็ นสารเหนียวคล้ายเจลปกคลุมหรื อเคลือบเซลล์
 ช่วยให้แบคทีเรี ยทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม เช่น
ความแห้งแล้ง สารเคมี อุณหภูมิ เป็ นต้น
 สามารถในการทาให้เกิดโรค
 มีสมบัติเป็ น K-antigen
แคปซูล
Klebsiella
pneumoniae

ที่มา (Prescott, Harley and Klein, 2005, p. 29 )


แฟลเจลลา (flagella)

ระยางค์ที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของแบคทีเรี ย
พบในแบคทีเรี ยบางชนิ ดเท่านั้น
แฟลเจลลาที่พบในแบคทีเรี ยแบ่งเป็ น 2 แบบใหญ่ ๆ
peritrichous flagella
polar flagella
peritrichous flagella
แฟลเจลลายืน่ ออกมารอบ ๆ เซลล์ของแบคทีเรี ย
พบใน Salmonella typhosa
Proteus vulgaris

ที่มา (Prescott, Harley and Klein, 2005, p. 63)


polar flagella

เป็ นแฟลเจลลาที่ยนื่ ออกมาจากปลายเซลล์


ยืน่ ออกมาเพียง 1 เส้น ที่ปลายด้านใดด้านหนึ่งของเซลล์ : monotrichous
เช่น Vibrio cholerae ทาให้เกิดโรคอหิ วาตกโรค

ที่มา (Prescott, Harley and Klein, 2005, p. 29 และ 63)


amphitrichous flagella
ยืน่ ออกมามากกว่า 1 เส้น ที่ปลายทั้งสองข้างของเซลล์
พบใน Chromatium okenii

ที่มา (Prescott, Harley and Klein, 2005, p. 29 และ 63)


lophotrichous flagella

ยืน่ ออกมามากกว่า 1 เส้น ที่ปลายข้างใดข้างหนึ่งของเซลล์


พบ Pseudomonas marginalis

ที่มา (Prescott, Harley and Klein, 2005, p. 29 และ 63)


ผนังเซลล์
• ช่วยให้แบคทีเรี ยคงรู ปร่ างเป็ นแท่ง กลม หรื อเกลียว
• ช่วยป้ องกันเซลล์จาก osmotic pressure
• เป็ นที่ยดึ เกาะของแฟลเจลลา
• เป็ นตาแหน่งที่ bacteriophage ส่ วนใหญ่มาเกาะเพื่อนา
สารพันธุกรรมเข้าสู่ เซลล์แบคทีเรี ย
• มีคุณสมบัติเป็ น somatic antigen
องค์ ประกอบทางเคมีของผนังเซลล์

มีสารในกลุ่มของโปรตีน และโพลีแซคคาไรด์ เป็ นโครงสร้างหลัก

กรดแอมิโนหลายชนิด น้ าตาลสองชนิด

Lysine N-acetylglucosamine, NAG


Alanine N-actylmuramic acid, NAM
Glycine
Glutamic acid ปริ มาณและชนิดของกรดแอมิโนแตกต่างกัน
ตามชนิดของแบคทีเรี ย
ความแข็งแรงของผนังเซลล์เกิดจาก peptidoglycan
ประกอบด้วย NAG และ NAM เรี ยงสลับกันเป็ นสายยาว
มีกรดแอมิโนเกาะอยู่

ทาพันธะเพบไทด์กบั กรดแอมิโนที่เกาะอยูก่ บั NAM อีกโมเลกุลหนึ่ง

เพปไทด์บริ ดจ์
(NAM) (NAG)

เพปทิโดไกลแคน
สายเพนตะเพปไทด์ เพปไทด์ อนิ เตอร์ บริดจ์
(กรดแอมิโน)
สายเพนตะ
สายเพนตะ เพปไทด์
เพปไทด์

สายไกลแคน
ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p.62)
ซู การ์ แบคโบน โครงสร้างของเพปทิโดไกลแคน

กรดอะมิโน สะพานเพปไทด์

ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p.62)


G+ cell wall G- cell wall

พบชั้นอื่นที่ประกอบด้วย  มี peptidoglycan 5-20% เท่านั้น


 lipoprotein  ที่เหลือประกอบด้วย lipoprotein
 lipopolysaccharide lipopolysaccaride
 teichoic acid มี diaminopimilic acid แทนตาแหน่ง lysine
มีจานวนเพปไทด์บริ ดจ์ยงั มีนอ้ ยกว่า G+
G+ cell wall
NAG NAM

เพปทิโดไกลแคน

ไซโทพลาสมิก
เมมเบรน

โปรตีนขนส่ ง
ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p.63)
โปรตีนพอริน
G- cell wall

ลิโพพอลิแซ็กคาไรด์ เมมเบรนชั้นนอก

ลิโพโปรตีน
เพอริพลาสซึม
เพปทิโดไกลแคน ไซโทพลาสมิก
เมมเบรน

โปรตีนขนส่ ง ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p.64)


G- G+
pilus
outer
membrane pilus

flagella
peptidoglycan flagella
cytoplasm

DNA

ribosome

cell wall cell membrane cell membrane cell wall

ที่มา (http://silverfalls.k12.or.us/staff/read_shari/chapter_24_AB.htm, 2007)


ความแตกต่างของผนังเซลล์ G+ และ G- (ต่อ)

G+ G-
เซลล์ติดสี ย้อม ม่วง แดง
จีนัสของแบคทีเรีย Bacillus Escherichia
Staphylococcus Neisseria
Streptococcus Pseudomonas
ความแตกต่างของผนังเซลล์ G+ และ G- (ต่อ)

องค์ ประกอบของผนังเซลล์ G+ G-

เพปทิโดไกลแคน G + มี peptidoglycan
หนา >90% และมีบาง กรดไทโคอิก
กรดไทโชอิค แต่มีจานวนชนิมีดของกรดแอมิโนน้
ไม่อมยกว่
ี า G-
เพอริ พลาสซึ ม ไม่มี มี
เมมเบรนชั้นนอก ไม่มี มี
ลิโพโพลิแซคาไรด์ ไม่มี มี
โปรตีนพอรี น (porin) ไม่มี มี
ความแตกต่างของผนังเซลล์ G+ และ G- (ต่อ)

องค์ ประกอบของผนังเซลล์ G+ G-

เพปทิโดไกลแคน หนา บาง


กรดไทโชอิค มี ไม่มี
เพอริ พลาสซึ ม ไม่มี มี
เมมเบรนชั้นนอก ไม่มี มี
ลิโพโพลิแซคาไรด์ ไม่มี มี
โปรตีนพอรี น (porin) ไม่มี มี
ความแตกต่างของผนังเซลล์ G+ และ G- (ต่อ)

องค์ ประกอบของผนังเซลล์ G+ G-

เพปทิโดไกลแคน หนา บาง


กรดไทโชอิค มี ไม่มี
เพอริ พลาสซึ ม ไม่มี มี
เมมเบรนชั้นนอก ไม่มี มี
ลิโพโพลิแซคาไรด์ ไม่มี มี
โปรตีนพอรี น (porin) ไม่มี มี
ความแตกต่างของผนังเซลล์ G+ และ G- (ต่อ)

องค์ ประกอบของผนังเซลล์ G+ G-

เพปทิโดไกลแคน หนา บาง


กรดไทโชอิค มี ไม่มี
เพอริ พลาสซึ ม ไม่มี มี
เมมเบรนชั้นนอก G – มี outer membrane
ไม่มี ล้อมรอบเพปทิ
มี โดไกลแคน
ลิโพโพลิแซคาไรด์ ไม่มี มี
โปรตีนพอรี น (porin) ไม่มี มี
outer membrane ของ G- cell wall

ป้ องกันไม่ให้เอนไซม์ที่จาเป็ นต่อการเจริ ญของ CW ออกจากช่องว่าง (periplasmic space)


ป้ องกันสารเคมีและเอนไซม์จากภายนอกไม่ให้เข้าไปทาลายเซลล์

ถูกทาลาย lysozyme ได้ยากกว่าของG +

มีปริ มาณไขมันมากกว่า ทาให้มีสมบัติเป็ น O antigen และ endotoxin


ป้ องกันไม่ให้ถกู ย่อยด้วยเอนไซม์บางชนิ ด
ความแตกต่างของผนังเซลล์ G+ และ G- (ต่อ)

องค์ ประกอบของผนังเซลล์ G+ G-

เพปทิโดไกลแคน หนา บาง


กรดไทโชอิค มี ไม่มี
เพอริ พลาสซึ ม ไม่มี มี
เมมเบรนชั้นนอก ช่วยป้ องกั
ไม่มนี การถูก phagocytosis
มี
ลิโพโพลิแซคาไรด์ ไม่มี มี
โปรตีนพอรี น (porin) ไม่มี มี
ความแตกต่างของผนังเซลล์ G+ และ G- (ต่อ)

องค์ ประกอบของผนังเซลล์ G+ G-

เพปทิโดไกลแคน หนา บาง


กรดไทโชอิค มี ไม่มี
เพอริ พลาสซึ ม ไม่มี มี
เมมเบรนชั้นนอก ไม่มี มี
ลิโพโพลิแซคาไรด์ ไม่มี มี
โปรตีนพอรี น (porin) ไม่มี มี
ความแตกต่างของผนังเซลล์ G+ และ G- (ต่อ)

คุณสมบัตพิ นื้ ฐาน G+ G-


การตอบสนองต่อเพนนิซิลิน ค่อนข้างไว ค่อนข้างช้า
การตอบสนองต่อไลโซไซม ตอบสนอง ไม่ตอบสนองหาก
ไม่ใช้ร่วมกับ
EDTA
รู ปร่ างที่เกิดจากการกาจัด โพรโทพลาสต์ สเฟี ยโรพลาสต์
เพปทิโดไกลแคน

ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p.61)


เยือ่ หุ้มเซลล์

 อยูถ่ ดั จาก cw และห่อหุ ม้ ไซโทพลาซึ มไว้


 มีลกั ษณะเป็ นเยือ่ บาง ๆ
 ประกอบด้วย 20-30% phospholipid และ 60-70% protein
 ควบคุมการผ่านเข้าออกของสารต่าง ๆ
โครงสร้างของเยือ่ หุม้ เซลล์
ประกอบด้วยฟอสโฟลิปิด 2 ชั้น
 มีโปรตีนแก่น หรื อโปรตีนฝังใน (integral protein) :
แทรกอยูร่ ะหว่างชั้นของฟอสโฟลิปิด
 มีโปรตีนรอบนอก หรื อโปรตีนผิว (peripheral protein) :
เกาะอยูด่ า้ นนอกของ ฟอสโฟลิปิดแบบหลวม ๆ

สามารถเคลื่อนไหลไปมาได้ เรี ยกลักษณะแบบนี้วา่ fluid mosaic model


แปรผันกับอุณหภูมิและสัดส่ วนของกรดไขมันไม่อิ่มตัวที่อยูใ่ นฟอสโฟลิปิด
โปรตีนขนส่ ง

ฟอสโฟลิปิด ชั้นฟอสโฟลิปิด

ส่ วนที่ชอบน้ า
ส่ วนที่ไม่ชอบน้ า

หันส่ วนที่ชอบน้ าออกด้านนอก


ส่ วนที่ไม่ชอบน้ าจะเรี ยงตัวอยูภ่ ายใน

ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p. 57)


ไซโทพลาซึม
 ส่ วนที่อยูถ่ ดั จากเยือ่ หุ ม้ เซลล์เข้ามาภายในเซลล์
 ลักษณะเป็ นของเหลวที่ประกอบด้วยสารประกอบหลายชนิ ดรวมกัน
 มีไรโบโซม และโครมาทินอยูภ่ ายในอีกด้วย
ribosome

มีลกั ษณะกลม ไม่มีเยือ่ หุ ม้ ขนาดเล็กมาก


ประกอบด้วย40% protein และ 60% RNA
เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์โปรตีนชนิ ดต่าง ๆ
มีขนาด 70S ประกอบด้วย 2 หน่วยย่อย
หน่วยย่อยใหญ่ 50S
หน่วยย่อยเล็กขนาด 30 S
70S

30S

50S+30S

50S

ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p. 70)


Ribosome mRNA Polypeptide chain
nucleoid

สารพันธุกรรมของแบคทีเรี ย
กระจายตัวอยูภ่ ายในไซโทพลาสซึ ม (ไม่มีเยือ่ หุ ม้ เหมือนในยูแคริ โอต)
มีลกั ษณะขดเป็ นวงกลม แบบ double helix

 แบคทีเรี ยบางชนิดอาจมีสารพันธุกรรมพิเศษ
ลักษณะเป็ นวงกลมของดีเอ็นเอที่พนั กันเป็ นเกลียวคู่อยูน่ อกโครโมโซม
เรี ยกว่า plasmid หรื อดีเอ็นเอนอกโครโมโซม extrachromosomal DNA
ดีเอ็นเอ

เยือ่ หุ้มเซลล์

เซลล์ ทแี่ ตก
ความแตกต่างของพลาสมิดและดีเอ็นเอของเซลล์
มีขนาดเล็กกว่าดีเอ็นเอของเซลล์มาก
จาลองตัวเองได้อย่างอิสระ โดยไม่ข้ ึนกับการแบ่งเซลล์
บางชนิดสามารถแทรกเข้าไปในดีเอ็นเอของเซลล์และจาลองตัวเอง
พร้อม ๆ กับดีเอ็นเอของเซลล์ได้ เรี ยกว่า episome
นาข้อมูลทางพันธุกรรมที่เกี่ยวกับ
การดื้อยา
การสร้างสารพิษต่อแบคทีเรี ยอื่น
การสร้างสารที่รุนแรงต่อ host
การสื บพันธุ์แบบอาศัยเพศ
ที่มา (Madigan, Martinko and Parker, 1997, p. 329)
granules

 แบคทีเรี ยบางชนิดสามารถสารองอาหารไว้ภายในเซลล์ในรู ปของแกรนูลส์


มักพบในรู ปของแป้ ง glycogen, poly--hydroxibutyrate และ volutin
ชนิดของแกรนูลส์มีความจาเพาะต่อชนิ ดหรื อสปี ชีส์ของแบคทีเรี ย

ซัลเฟอร์แกรนูลส์ที่สะสมภายใน
เซลล์ของ Chromatium vinosum

ที่มา (Prescott, Harley and Klein, 2005, p. 50)


colony
 มีความแตกต่างกันหลายแบบ
 แบคทีเรี ยชนิดเดียวกันจะมีลกั ษณะโคโลนีเหมือนกัน
 ถือเป็ นส่ วนหนึ่งที่ใช้ในการจัดจาแนกแบคทีเรี ย
Chromobacterium violaceum Serratia marcescens

http://www2.cedarcrest.edu/academic/bio/hale/MERC.html, 2007
http://www.britannica.com/eb/art/print?id=96593&articleTypeId= 0,2007
รูปร่ างของโคโลนี

กลม ไม่แน่นอน เส้ นแขนงรากไม้ เส้ นใยฝอย


ระดับความนูนของโคโลนี
นูน โค้ งนูน แบนราบ นูนตรงกลาง บุ๋มตรงกลาง

ขอบของโคโลนี

ขอบเรี ยบ หยักเป็ นลอน เส้ นใย หยักเป็ นคลื่น หยักเป็ นจักร


บางชนิดยังสามารถสร้างสี หรื อรงควัตถุได้
รงควัตถุที่สร้างขึ้นไม่ละลายน้ า : โคโลนีเกิดเป็ นสี ต่าง ๆ
รงควัตถุที่สร้างละลายน้ าได้ : สี จะละลายและแพร่ เข้าสู่อาหารเลี้ยงเชื้อวุน้

ลักษณะการเรื องแสง
Pseudomonas
aeruginosa ภายใต้แสง
อัลตราไวโอเลต

ที่มา (Prescott, Harley and Klein, 2005, p. 490)


ความหนืดของโคโลนี
ตรวจสอบได้โดยใช้เข็มเขี่ยแตะที่โคโลนีของแบคทีเรี ยแล้วยกขึ้น
สังเกตการติดเข็มเขี่ยของเชื้อ

หนืดคล้ายเนยเหลว (butyrous) มีความแห้งมาก เปราะ และเป็ นผง


บางชนิดหนืดมาก (viscous) สังเกตความขุ่นของโคโลนีวา่ ทึบหรื อโปร่ งแสง
บางชนิดเป็ นสาย (stringy)
เป็ นยาง (rubbery)

ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p.54)


การสังเกตโคโลนีแบคทีเรี ยในอาหารแข็งผิวหน้าเอียง

ก ข ค ง จ ฉ
ก. filiform เจริ ญสม่าเสมอตามรอยขีด
ข. arborescent เจริ ญแตกกิ่งก้าน คล้ายต้นไม้
ค. beaded เจริ ญไม่สม่าเสมอ แยกกระจายออกตามแนวที่ขีดเชื้อ
ง. effuse เจริ ญน้อย บาง และกระจัดกระจาย
จ. rhizoid เจริ ญคล้ายรากไม้
ฉ. echinulate เจริ ญมีรอยหยักที่ขอบคล้ายฟันเลื่อย

ที่มา (ดัดแปลงจาก Johnson and Case, 2004, p.77)


คาถามท้ ายบท
1.จากภาพ จงเติมออร์แกเนลล์ให้ถกู ต้อง
ก ข ค ง


ฌ ซ ช ฉ
คาถามท้ ายบท (ต่ อ)
2. จงยกตัวอย่างรู ปร่ าง และการจัดเรี ยงตัวของแบคทีเรี ยมา 3 แบบ
3. จงอธิบายวิธีการวัดขนาดของแบคทีเรี ยมาพอเข้าใจ
4. จงอธิ บายความแตกต่างของผนังเซลล์แบคทีเรี ยแกรมบวก และลบ
5. จงอธิบายลักษณะโครงสร้างของเยือ่ หุม้ เซลล์ของแบคทีเรี ย
6. แฟลเจลลาของแบคทีเรี ยมีกี่ชนิด อธิ บาย
7. จงอธิ บายความแตกต่างระหว่างพลาสมิดและดีเอ็นเอของเซลล์แบคทีเรี ย
จุลชีววิทยา
Microbiology
อ. ศิริรัตน์ ศิริพรวิศาล

You might also like