You are on page 1of 63

อาณาจักรสัตว์

Kingdom Animalia
สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์จาพวกยูคาริโอต (eukaryotic cell)
ที่เซลล์รวมตัวกันเป็นเนื้อเยื่อเพื่อทาหน้าที่เฉพาะ
โดยดารงชีวิตเป็นผู้บริโภค ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง (heterotroph)
เคลื่อนไหวได้ด้วยการทางานร่วมกันของระบบประสาทและระบบโครงร่าง
เรียนรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ดี
ลักษณะของสัตว์ สรุปได้ดังนี้ 1. สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ซึ่งเป็น
เซลล์ยูคาริโอต
2. เซลล์สัตว์ไม่มีผนังเซลล์ และคลอโร
พลาสต์ รวมทั้งสารสีทเี่ กี่ยวข้องกับ
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
3. สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตในกลุ่ม heterotroph
ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง จาเป็นต้อง
ได้รับอาหารจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
โดยผ่านการกิน
4. สัตว์เกือบทุกชนิดมีการรวมกลุ่มกันของ
เซลล์เป็นเนื้อเยื่อยกเว้นฟองน้า
ลักษณะของสัตว์ สรุปได้ดังนี้ 5. สัตว์ที่มีวิวัฒนาการสูงขึ้นจะพบเนื้อเยื่อ
ประสาท และเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ ส่งผลให้มี
การพัฒนาของระบบประสาท และการ
เคลื่อนไหวด้วยกล้ามเนื้อ
6. สัตว์มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และ
การสืบพันธุ์แบบแบบไม่อาศัยเพศ

7. เอ็มบริโอของสัตว์มีระยะที่เซลล์เคลือ่ นที่
เพื่อพัฒนาเป็นเนือ้ เยื่อและอวัยวะใน
ระบบต่าง ๆ
การเปลี่ยนแปลง การเจริญ
เนื้อเยื่อ ช่องว่างในลาตัว ลักษณะสมมาตร
ของบลาสโทพอร์ ในระยะตัวอ่อน
พบในตัวอ่อนสัตว์ที่มีสมมาตร พบในพวกโพรโทสโตเมีย
ด้านข้าง
• โพรโทสโตเมีย • โทรโคฟอร์
ไม่มีช่องว่างในลาตัว
(protostomia) (trochophore)
ไม่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง สมมาตรแบบรัศมี • ดิวเทอโรสโตเมีย • เอคไดโซซัว
(deuterostomia) (ecdysozoa)

ช่องว่างในลาตัวแบบเทียม

มีเนื้อเยื่อแท้จริง สมมาตรแบบด้านข้าง
ช่องว่างในลาตัวแท้จริง
1. การมีหรือไม่มีเนื้อเยื่อ เนื้อเยื่อ : กลุ่มเซลล์ที่มีลักษณะเหมือนกันและทาหน้าที่ร่วมกัน

• กลุ่มที่ไม่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง
สัตว์ที่มีเซลล์รวมกลุ่มกันโดยแต่ละเซลล์
ไม่ได้ร่วมกันทางานเป็นเนื้อเยื่อ
• กลุ่มที่มีเนื้อเยื่อ
1. การมีหรือไม่มีเนื้อเยื่อ เนื้อเยื่อ : กลุ่มเซลล์ที่มีลักษณะเหมือนกันและทาหน้าที่ร่วมกัน

• กลุ่มที่ไม่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง
สัตว์ที่มีเซลล์รวมกลุ่มกันโดยแต่ละเซลล์
ไม่ได้ร่วมกันทางานเป็นเนื้อเยื่อ
• กลุ่มที่มีเนื้อเยื่อ
สัตว์ที่มีเซลล์รวมกลุ่มกันเป็น
เนื้อเยื่อเพื่อทาหน้าที่ร่วมกัน
2. สมมาตรของร่างกาย

ระนาบสมมาตร
(plane of symmetry)
2. สมมาตรของร่างกาย

• กลุ่มที่ไม่มีระนาบสมมาตร • กลุ่มที่มีระนาบสมมาตร • กลุ่มที่มีระนาบสมมาตร


สัตว์ที่ไม่มีสมมาตร มากกว่าหนึ่งระนาบ เพียงระนาบเดียว
หรืออสมมาตร (asymmetry) สัตว์ที่มีสมมาตรแบบรัศมี สัตว์ที่มีสมมาตรแบบครึ่งซีก
(radial symmetry) (bilateral symmetry)
3. การเปลี่ยนแปลงของบลาสโทพอร์

โพรโทสโทเมีย
(protostomia)

ดิวเทอโรสโทเมีย
(deuterostomia)
3. การเปลี่ยนแปลงของบลาสโทพอร์
• โพรโทสโทเมีย (protostomia) บางกลุ่มทีมี่ผกิวารเจริ
ลาตัวญมี
กลุ่มสัตว์ที่บลาสโทพอร์ ไคทิ
ของตันเป็ วอ่นอองค์ ประกอบ
นระยะที ่เป็น
จะพัฒนาเป็นช่องปาก จึตังวต้อ่อองมี การลอกคราบ
นโทรโคฟอร์
(ecdysis
(trochophore หรือ molting)
larva)
• ดิวเทอโรสโทเมีย (deuterostomia) ระหว่างเจริญเติบโต
กลุ่มสัตว์ที่บลาสโทพอร์
จะพัฒนาเป็นทวารหนัก
การแบ่งกลุ่มย่อย
ของสัตว์
- ลักษณะของเนื้อเยื่อ
- สมมาตร
- การพัฒนาของช่วงว่างในลาตัว
- ลักษณะเด่นของกลุ่มสิ่งมีชีวิต
- ยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตอย่างน้อย 5 ชนิด
ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera) ฟองน้าแก้ว ฟองน้าถูตัว

• ไม่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง
• ลาตัวเป็นรูพรุน ช่วยในการไหลเวียนของนาภายในลาตัว
• collar cell (choanocyte) ที่ช่วยดักจับอาหาร
• ตัวเต็มวัยฟองน้าดารงชีวิตแบบเกาะอยู่กับที่
(sessile animal)
• มีโครงสร้างค้าจุนภายในลาตัว เรียก สปิคูล (spicule)
ฟองน้าหินปูน
• เช่น ฟองน้า (sponge)
Poriferan กลุ่มพอริเฟอรัน ฟองน้ายืดหยุ่นสีดา ฟองน้าหินปูน

Porus = รู
Ferre = พยุงหรือค้าเอาไว้

ฟองน้าท่อสีเหลือง
รูปฟองน้า เอื้อเฟื้อโดย ดร.สุเมตต์ ปุจฉาการ ฟองน้าถูตัว ฟองน้าแก้ว
เซลล์เรียงตัวกัน 2 ชั้น ระหว่างชั้นของเซลล์
มีบริเวณคล้ายเจลซึ่งมีโครงร่างแข็งแทรกอยู่

สปองจิน (spongin)
โครงร่างแข็งเป็นเส้นใย
โปรตีนที่มีความยืดหยุ่น
เซลล์เรียงตัวกัน 2 ชั้น ระหว่างชั้นของเซลล์
มีบริเวณคล้ายเจลซึ่งมีโครงร่างแข็งแทรกอยู่

สปิคูล (spicule)
โครงร่างแข็งเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต
หรือซิลิกาที่มีลักษณะแข็งและแหลม
ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria) แมงกระพรุนกล่อง

• มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น
• สมมาตร
- ตัวอ่อนมีสมมาตรแบบด้านข้าง
- ตัวเต็มวัยมีสมมาตรแบบรัศมี แมงกระพรุน
• มีรูปร่าง 2 แบบ ไฮดรา
- แบบโพลิป (polyp)
- แบบเมดูซา (medusa)
• ที่เทนทาเคิลมีไนโดไซต์ หรือเข็มพิษ (cnidocyte) ซึ่งใช้จับ
เหยื่อ หรือป้องกันตัว
• ท่อทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์ = ช่องแกสโตรวาสคิวลาร์
• เช่น ไฮดรา แมงกระพรุน แมงกระพรุนกล่อง ปะการัง
กัลปังหา กัลปังหา
Cnidarian กลุ่มไนดาเรียน
Knide = แสบคัน
• มีเทนทาเคิล (tentacle) ล้อมรอบปาก
• เทนทาเคิลมีไนโดไซต์ (cnidocyte) ซึ่ง
เป็นเซลล์ที่สร้างเข็มพิษ (nematocyst)

ถ้าผิวหนังสัมผัสเทนทาเคิลและได้รับ
เข็มพิษจะทาให้เกิดอาการแสบคัน

รอยแดงไหม้จากการสัมผัสแมงกะพรุนกล่อง
แมงกะพรุน ดอกไม้ทะเล ปากกาทะเล ปะการัง

กัลปังหา
ไฮดรา
• มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น
- เนื้อเยื่อชั้นนอก
- เนื้อเยื่อชั้นในที่เป็นเนื้อเยื่อของทางเดินอาหาร
• ไม่มีระบบหายใจ ระบบหมุนเวียนเลือด และระบบขับถ่าย
• การแลกเปลี่ยนแก๊ส การลาเลียงสารต่าง ๆ และ
การขับถ่ายจะแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรง

- ระบบประสาทมีร่างแหประสาท
รูปร่างแบบโพลิพ (polyp) รูปร่างแบบเมดูซา (medusa)
ไฟลัมแพลทีเฮลมินทีส (Phylum Platyhelminthes)
• หนอนตัวแบน (flatworm)
• มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
• ไม่มีช่องว่างในลาตัว หนอนหัวขวาน พลานาเลีย
• สมมาตรแบบด้านข้าง
• ทางเดินอาหารไม่สมบูรณ์
• การดารงชีวิต
- แบบอิสระ เช่น พลานาเลีย หนอนหัวขวาน
- แบบปรสิต เช่น พยาธิตัวตืด พยาธิใบไม้
• ใช้เฟลมเซลล์เป็นอวัยวะขับถ่าย พยาธิตัวตืด
Platyhelminth กลุ่มแพลทีเฮลมินท์
พลานาเรีย
Platy = แบน (ยาว 3-15 mm)
Helminth = หนอน
• มีลาตัวอ่อนนุ่ม ตัวแบนและยาว ดารงชีวิตแบบอิสระ

พยาธิใบไม้ พยาธิตัวตืด
(ยาว 5-10 mm) (ยาว 2 mm -10 m)

ดารงชีวิตแบบภาวะปรสิต
• ไม่มีโพรงลาตัว (acoelom)
ทางเดินอาหาร
• ส่วนใหญ่มีทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์ ของพลานาเรีย

• บางชนิดเป็นปรสิตไม่มีทางเดินอาหาร เช่น พยาธิตัวตืด


• มีการพัฒนาของระบบประสาท โดยมีปมประสาท
เส้นประสาทขนาดใหญ่ และเส้นประสาทตามขวาง

• ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือดและระบบหายใจ
• การแลกเปลี่ยนแก๊สแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรง
ไฟลัมมอลลัสกา (Phylum Mollusca)
• สัตว์ลาตัวอ่อนนุ่ม
• มีช่องว่างในลาตัวแท้จริง
• สมมาตรแบบด้านข้าง หมึก ทากทะเล
• ทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์
• รูปแบบการเจริญเป็นแบบโพรโทสโตม
• ตัวอ่อนจัดอยู่ในกลุ่มโลโฟโทโคซัว (lophotrochozoa)
• เมนเทิลสร้างเปลือกแข็งที่มีสารประกอบแคลเซียมหุ้มตัว
• ใช้อวัยวะคล้ายไตหรือเนฟิเดียมเป็นอวัยวะขับถ่าย
• เช่น ลิ่นทะเล หอยฝาเดียว หอยสองฝา ทากทะเล และ
หมึก หอยทาก
Mollusk กลุ่มมอลลัส หอยทาก

Molluscus = นิ่ม
• มีลาตัวนิ่ม หอยงวงช้าง
• โดยทั่วไปจะสร้างเปลือกแข็งที่มี
สารประกอบแคลเซียมคาร์บอเนต
หุ้มลาตัว หอยมือเสือ

ลิ่นทะเล
หมึกกระดอง
• บางชนิดเปลือกแข็งลดรูป

หมึกกล้วย

หมึกยักษ์
• บางชนิดไม่มีเปลือกแข็ง

ทากเปลือย
ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum Annelida)
• หนอนปล้อง (segmented worm) แม่เพรียง
- หนองปล้องทะเล (polychaete) เช่น แม่เพรียง
- หนอนปล้องบก (oligochaete) เช่น ไส้เดือน ปลิงน้าจืด ทากดูดเลือด
• ลาตัวมีปล้องทั้งด้านในและด้านนอก
• มีช่องว่างในลาตัวแท้จริง
• สมมาตรแบบด้านข้าง
• ทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์
• ระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด ทากดูดเลือด
• ใช้อวัยวะคล้ายไตหรือเนฟิเดียมเป็นอวัยวะขับถ่าย ไส้เดือน
Annelid กลุ่มแอนเนลิด

Anellus = วงแหวนขนาดเล็ก
• มีลาตัวยาว
• ลาตัวเป็นปล้อง (segmentation)
• อาจมีรยางค์ซึ่งไม่มีปล้อง
ไส้เดือนดิน หนอนฉัตร

ทากดูดเลือด แม่เพรียง
Annelid

• มีโพรงลาตัว
• มีทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์
• มีระบบหมุนเวียนลือดแบบปิด
• มีการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยการแพร่
ผ่านผิวหนังของลาตัว
• มีการลาเลียงแก๊สผ่านระบบ
หมุนเวียนเลือด
• มีระบบขับถ่าย
• มีปมประสาทขนาดใหญ่
ไฟลัมนีมาโทดา (Phylum Nematoda)
• หนอนตัวกลม (round worm)
• มีลาตัวเป็นทรงกระบอก ไม่มีปล้อง
• มีช่องว่างในลาตัวแท้แบบเทียม
• สมมาตรแบบด้านข้าง
• ทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ พยาธิไส้เดือน
• รูปแบบการเจริญเป็นแบบโพรโทสโตม
• จัดอยู่ในกลุ่มเอคไดโซซัว
• ลาตัวคลุมด้วยคิวทิเคิล
• ขับถ่ายผ่านท่อขับถ่าย (excretory canal)
• เช่น พยาธิปากขอ พยาธิเส้นด้าย พยาธิไส้เดือน พยาธิโรค
เท้าช้าง พยาธิแส้ม้า ตัวจี๊ด และไส้เดือนฝอย
พยาธิหนอนหัวใจสุนัข
Nematode กลุม่ นีมาโทด
พยาธิปากขอ
(ยาว 8-13 mm)
Nema = เส้นด้าย
• มีลาตัวกลมยาวเรียว หัวท้ายแหลม
• ไม่มีปล้อง
พยาธิแส้ม้า
• ผิวลาตัวมีคิวทิเคิลห่อหุ้ม ป้องกันการ (ยาว 3-7 cm)
สูญเสียน้า
• มีการลอกคราบระหว่างเจริญเติบโต
พยาธิไส้เดือน
ดารงชีวิตแบบภาวะปรสิต (ยาว 15-30 cm)
Nematode
• มีโพรงลาตัวเทียม (pseudocoelom)
• มีทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์
• ไม่มีระบบหายใจ และระบบหมุนเวียนเลือด
• มีการลาเลียงสารอาหารผ่านทางของเหลว
ในโพรงลาตัวเทียม
ไฟลัมอาร์โทรโพดา (Phylum Arthropoda)
• สัตว์ขาปล้อง (arthropod)
• รยางค์เป็นข้อปล้อง
• สมมาตรด้านข้าง
• มีเปลือกแข็งที่เป็นสารประเภทไคทินหุ้มลาตัว
• จัดอยู่ในกลุ่มเอคไดโซซัว
• ทางเดินอาหารสมบูรณ์
• อวัยวะในระบบขับถ่าย
- ท่อมัลพิเกียน
- ต่อมเขียว
• ตัวอ่อนมีการเจริญในลักษณะเฉพาะ เรียกว่า เมทามอร์โฟซิส
Arthropod กลุ่มอาร์โทรพอด • ส่วนใหญ่ลาตัวแบ่งเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง
โดยแต่ละส่วนประกอบด้วยปล้องหลายปล้อง
Arthron = ข้อ
Podos = เท้า
• มีโครงร่างแข็งภายนอก
(exoskeleton) ซึ่งมีไคทิน แมลงปอ ผีเสื้อ ผึ้ง
เป็นองค์ประกอบ
• มีลาตัวเป็นปล้อง
• มีรยางค์เป็นข้อ ๆ ต่อกัน
(jointed appendage) ปลวก มด
• บางสปีชีสม์ ีส่วนหัวและส่วนอกรวมกัน

แมงดาทะเล ปู กุ้ง

แมงมุม
เห็บ
• บางสปีชีสไ์ ม่แยกเป็นส่วนหัว ส่วนอก ส่วนท้องที่ชัดเจน

กิ้งกือกระบอก ตะขาบ

กิ้งกือกระสุนพระอินทร์
Arthropod

• ในแต่ละส่วนของลาตัวอาจ
มีรยางค์ยื่นออกมา

• ส่วนหัว
- รยางค์รับความรู้สึก เช่น หนวด
- รยางค์ที่ช่วยในการกินอาหาร
ไฟลัมเอไคโนเดอร์มาตา (Phylum Echinodermata)
ดาวทะเล
• ช่องว่างในลาตัวแท้จริง
• ตัวเต็มวัยมีสมมาตรแบบรัศมี
• รูปแบบการเจริญของตัวอ่อนเป็นแบบดิวเทอโรสโตม
• ระบบหมุนเวียนน้า water vascular system ใช้ทิวป์
ฟีท (tube feet) ในการเคลื่อนที่
• มีโครงร่างแข็งภายใน เรียกว่าออสซิเคิล
• เช่น ดาวขนนก ดาวเปราะ ปลิงทะเล เม่นทะเล และดาว
ทะเล เม่นทะเล
Echinoderm กลุ่มเอไคโนเดิร์ม ดาวทะเล

Echinos = หนาม
Derma = ผิวหนัง
• มีโครงร่างแข็งภายใน
(endoskeleton) และมีผิว
ชั้นนอกบางปกคลุม
• มีผิวที่มีหนามหรือปุ่ม
• ส่วนใหญ่ลาตัวเป็น 5 แฉก
ปลิงทะเล

เม่นทะเล

เหรียญทะเล
ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum Chordata) ฉลาม

• สัตว์มีแกนสันหลัง (chordates)
• สมมาตรแบบด้านข้าง
• รูปแบบการเจริญของตัวอ่อนเป็นแบบดิวเทอโรสโตม
• ลักษณะร่วมของสัตว์ในกลุ่มคอร์เดต สุนัข
- มีโนโทคอร์ด (Notochord) อย่างน้อยชั่วระยะหนึ่งของชีวิต
- การมีท่อประสาทกลวงทีด่ ้านหลัง
(dorsal hollow nerve cord)
- การมีช่องเหงือก (gill slit)
- มีส่วนหางยื่นเลยทวารหนักไป
จระเข้
Chordate กลุ่มคอร์เดต
Chorda = เส้น เอ็มบริโอมีลักษณะเฉพาะ ดังนี้

3. ถุงคอหอย
(pharyngeal pouch)
2. ท่อประสาทกลวงทางด้านหลัง
(dorsal hollow nerve cord)

ต่อมไทรอยด์ ต่อมพาราไทรอยด์ 1. โนโทคอร์ด


(notochord)
ไทมัส
Chordate กลุ่มคอร์เดต
Chorda = เส้น เอ็มบริโอมีลักษณะเฉพาะ ดังนี้

3. ถุงคอหอย
(pharyngeal pouch)
2. ท่อประสาทกลวงทางด้านหลัง
(dorsal hollow nerve cord)
4. หาง
(tail) 1. โนโทคอร์ด
(notochord)
Chordate สัตว์ในกลุ่มคอร์เดตที่ไม่มีกระดูกสันหลัง

• ตัวเต็มวัยไม่มีการพัฒนาของส่วนที่เป็นกระดูกสันหลังค้าจุนภายในร่างกาย
• ตัวเต็มวัยยังมีลักษณะคล้ายกับเอ็มบริโอ
• บางชนิดมีโนโทคอร์ดตลอดชีวิต

(amphioxus)
Chordate สัตว์ในกลุ่มคอร์เดตที่ไม่มีกระดูกสันหลัง

• ตัวเต็มวัยไม่มีการพัฒนาของส่วนที่เป็นกระดูกสันหลังค้าจุนภายในร่างกาย
• ตัวเต็มวัยยังมีลักษณะคล้ายกับเอ็มบริโอ
• บางชนิดโนโทคอร์ดจะหายไปเมื่อเจริญเป็นตัวเต็มวัย

เพรียงหัวหอม

มีโนโทคอร์ด ไม่มีโนโทคอร์ด
Chordate สัตว์ในกลุ่มคอร์เดตที่มีกระดูกสันหลัง

• เมื่อเจริญเติบโตจะมีการพัฒนาของกะโหลกและ
กระดูกสันหลัง
ซับไฟลัมยูโรคอร์ดาตา ซับไฟลัมเซฟาโลคอร์ดาตา

เพรียงหัวหอม (tunicate) แอมฟิออกซัส (amphioxus)


• ตัวเต็มวัยไม่มีโนโทคอร์ด • รูปร่างคล้ายใบมีด
• มีสารเหนียว เรียกว่า ทูนิก ปกคลุมลาตัว • มีลักษณะของคอร์เดตครบทั้ง 4 ประการตลอดทั้งชีวิต
ซับไฟลัมเวอร์ทิบราตา
สัตว์มีกระดูกสันหลังที่ไม่มีขากรรไกร เช่น ปลาปากกลม
(Agnatha)
• แฮกฟิช (hagfish) • แลมเพรย์ (lamprey)
- ดารงชีวิตเป็นผู้กินซาก - ดารงชีวิตเป็นปรสิต
- สร้างเมือกได้เป็นจานวน - มีโครงร่างเป็นกระดูกอ่อน
มาก
ซับไฟลัมเวอร์ทิบราตา
สัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีขากรรไกร
• คลาสคอนดริคไทอิส (Class Condrichtyes)
- ปลากระดูกอ่อน
- ไม่มีแผ่นปิดเหงือก (operculum)
- มีการปฏิสนธิในร่างกาย และออกลูกเป็นตัว
- มีเกล็ดแหลมปกคลุมร่างกาย
ปลากระเบน
- เช่น ปลาฉลาม ปละกระเบน

ปลาฉลาม
• คลาสออสติอิคไทอิส (Class Osteichtyes)
- ปลากระดูกแข็ง
- ผิวหนังมีเกล็ดปกคลุม
- มีแผ่นปิดเหงือก
- มีอวัยวะสาหรับเติมแก๊ส คือ ถุงลม ปอด
- ปฏิสนธิภายนอก และออกลูกเป็นไข่

ปลามีก้านครีบ (ray − finned fish) ปลามีครีบเนื้อ (lobe − finned fish)


• คลาสแอมฟิเบีย (Class Amphibia)
- สัตว์เทินน้าสะเทินบก
- ไม่มีเกล็ดปกคลุมร่างกาย
- ปฏิสนธิภายนอก และออกลูกเป็นไข่
- ตัวอ่อนอาศัยอยู่ในน้า และหายใจด้วยเหงือก
- ตัวเต็มวัยใช้ปอดและผิวหนังในการหายใจ
- เช่น กบ ซาลามันเดอร์ และเขียดงู
กบ

แอกโซลอเติล

เขียดงู
• คลาสเอเวส (Class Aves)
- นก หรือสัตว์เลือดอุ่น
- การปรับโครงสร้างเพื่อช่วยในการบิน
- รยางค์คู่หน้าเปลี่ยนเป็นปีก
- ลาตัสปกคลุมด้วยขนที่เป็นแผง (feather)
- กระดูกมีรูพรุ่นทาให้น้าหนักเบา
นกที่บินได้ทั่วไป - ปฏิสนธิภายใน และออกลูกเป็นไข่

นกที่ปีกเหมาะกับการว่ายน้า
นกขนาดใหญ่ที่บินไม่ได้
• คลาสเรปทิเลีย (Class Reptile) เต่าทะเล
- สัตว์เลื้อยคลาน
- จัดอยู่ในกลุ่มแอมนิโอต (Amniote)
- ผิวหนังปคลุมด้วยเกล็ดที่เป็นเคราทิน
- ใช้ปอดหายใจ
- ปฏิสนธิภายใน และออกลูกเป็นไข่ที่มีเปลือกหุ้ม

จระเข้ งูพิษไวเปอร์
• คลาสแมมมาเลีย (Class Mammalia)
- สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม
- มีหัวใจ 4 ห้องสมบูรณ์ และเป็นสัตว์เลือดอุ่น
- ลาตัวปกคลุมไปด้วยขนแบบเส้น (hair) หรือแบบขน
ยาวอ่อนนุ่ม (fur) และมีต่อมเหงื่อ
- มีใบหู และโครงสร้างภายในของหูมีกระดูก 3 ชิ้น คือ
กระดูกค้อน ทั่ง โกลน ช่วยในการได้ยิน
- มีต่อมสร้างน้านมในเพศเมีย
- กะโหลกศีรษะมีขนาดใหญ่ เพื่อรองรับสมองที่มีขนาดใหญ่
และมีการเจริญพัฒนาที่ดีมาก
- เม็ดเลือดแดงไม่มีนิวเคลียส
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ซับคลาส
ซับคลาสโพรเทอเรีย (SubClass Protheria) ซับคลาสเทอเรีย (SubClass Theria) จิ้งโจ้
• ออกเป็นไข่
• มีทวารร่วม (cloaca) • กลุ่มเมทาเทอเรีย (Metatheria)
• พบเฉพาะในประเทศออสเตรเลีย และนิวกีนี - สัตว์มีถุงหน้าท้อง (marsupials) เช่น จิ้งโจ้
• เช่น ตุ่นปากเป็ด - ส่วนมากพบในทวีปออสเตรเลีย
- ลูกอยู่ในถุงหน้าท้องจนกว่าจะเจริญเติบโตเต็มที่

• กลุ่มยูเทอเรีย (Eutheria)
- สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมที่มีรก
- ตัวอ่อนมีการเจริญเติบโตภายในมดลูกของแม่
- ลูกได้รับอาหารผ่านทางรก
ตุ่นปากเป็ด แมวบ้าน
• เป็นออร์เดอร์หนึ่งในกลุ่มยูเทอเรีย มีมือและเท้าที่มี 5 นิ้ว
ซึ่ ง นิ้ ว หั ว แม่ มื อ พั บ ขวางได้ ท าให้ ส ามารถจั บ หรื อ ก า
สิ่งของต่าง ๆ ได้ มีสมองขนาดใหญ่ ดวงตาอยู่ด้านหน้า
จึงมีการมองที่ดีกว่า และมีพฤติกรรมทางสังคมซับซ้อน
มากกว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมชนิดอื่น ๆ

สัตว์ ในกลุ่มไพรเมตสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่


1. โพรซิเมียน (prosimian)
2. แอนโทรพอยด์ (Anthropoid)
โพรซีเมียน (Prosimian)
แอนโทรพอยด์ (Anthropoid)
• ส่วนใหญ่อาศัยบนตันไม้
• ตากลมโตเพื่อใช้หาอาหารในเวลากลางคืน
• เช่น ลีเมอร์ และทาร์เซีย

• ลิงมีหาง
- ลิงโลกเก่า และลิงโลกใหม่
• ลิงไม่มีหาง (apes)
- ชะนี อุรังอุตัง กอลริลลา กอริลลา ชิมแปนซี และมนุษย์

You might also like