You are on page 1of 9

ใบความรู้

การจำแนกสิ่งมีชีวิต

การจำแนกสิง่ มีชีวิตมีเป้ าหมายเพื่อจัดสิ่งมีชีวิตเป็ นกลุ่มหรือหมวด


หมู่โดยให้สมาชิกในหมวดหมู่นน
ั ้ มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดทางวิวัฒนาการ
ร่วมกันมากที่สุด โดยอาศัยข้อมูลทางสันฐานวิทยากายวิภาคศาสตร์
สรีรวิทยา นิเวควิทยา พฤติกรรมวิทยา และชีววิทยาโมเลกุล เป็ นต้น

การจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็ นหมวดหมูไม่ใช่เพียงเป็ นการบอกชื่อ


ชนิดของสิ่งมีชีวิตเท่านัน
้ แต่จะต้องสามารถบ่งบอกถึงลำดับของสิ่งมี
ชีวิตและตำแหน่งในการเกิดขึน
้ ของชนิดในขบวนการวิวัฒนาการได้ด้วย
การศึกษาชนิดความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์ในเชิง
วิวัฒนาการระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆ เรียกว่า อนุกรมวิธาน taxonomy
หรืออาจเรียกว่า Systematics แต่นก
ั ชีววิทยาบางส่วนอาจจะแยกทัง้
สองศาสตร์นอ
ี ้ อกจากกัน โดยถือว่า Taxonomy เป็ นการศึกษาเพื่อให้
คำธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตนัน
้ ๆ (descriptionof species)
ส่วน systematics เป็ นการศึกษาเพื่อจัดกลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่มี
วิวัฒนาการมาเหมือนกันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน ซึ่งสามารถใช้ในการ
อธิบายความสัมพันธ์ของชาติวงศ์วานและนำมาจัดเป็ นประวัติชาติพันธุ์
(phylogeny) ของสิง่ มีชีวิตกลุ่มต่างๆ ได้

Taxonomy มาจากคำว่า Taxis (arrangement) + Nomas (law)


ซึง่ หมายถึง ทฤษฎีและแนวทาง

ในการจำแนกประเภทของสิ่งมีชีวิต อนุกรมวิธาน (Taxonomy) หมาย


ถึง เป็ นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต เพื่อให้เห็นความแตกต่างและ
ความเหมือนกัน แล้วนำความรู้นน
ั ้ มาใช้ในการจำแนกออกเป็ นหมวดหมู่

หลักการของอนุกรมวิธาน

1. Classification หมายถึง กฎกณฑ์การจัดสิ่งมีชีวิตออกเป็ นหมวก


หมู่ โดยอาศัยพื้นฐานความรู้ที่เป็ นหลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

2. Identification หมายถึง กรค้นหาตรวจสอบเพื่อให้ได้ช่ อ



วิทยาศาสตร์ประจำกลุ่มโดยอาศัยหลักฐานที่มีมาก่อน อาจเป็ นการทำ
โดยอาศัยความรู้ความชำนาญที่มีมาก่อน

3. Nomenclature หมายถึง กฎเกณฑ์การตัง้ ชื่อสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง


ๆ ตามที่ได้จำแนกเอาไว้แล้ว ซึ่งต้องมีหลักและวิธีการซึ่งเป็ นสากล

1. การจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต (Classification)

Classification มีรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า clasis ซึ่งแปล


ว่าการรวมหรือเรียกมารวมกัน (to call

together) เป็ นการรวมกันของสิง่ ที่คล้ายกันไว้เป็ นกลุ่มเดียวกัน แต่


เนื่องจากสิ่งที่นำมารวมกันมีจำนวนมาก ดังนัน
้ ในการรวมของสิง่ ดัง
กล่าว ให้เป็ นกลุ่มเดียวกันหรือหมู่เดียวกันย่อมเกิดความหลากหลาย
ภายในกลุ่มขึน
้ การเกิดความหลากหลายนี ้ ทำให้ภายในกลุ่มเกิดความ
แตกต่างกัน และแยกสิ่งที่มารวมกัน จึงเท่ากับเป็ นการจำแนกสิง่ ที่มา
รวมกันนัน

Classification มีความหมาย 2 อย่างคือ

1. ระบบการจำแนกที่แบ่งสิ่งมีชีวิตออกเป็ นหมวดหมู่

2. การจำแนกเป็ นระดับขัน
้ ต่างๆ

ประวัติของการจัดจำแนก

Aristotle เมื่อ 2,000 กว่าปี มาแล้ว ได้แบ่งสัตว์ออกเป็ น 2 พวก


John Ray : ปี ค.ศ. 1627 - 1705 นักพฤกษศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้
ศึกษาเกีย
่ วกับพืช ดังนี ้
1. เขียนหนังสือเกี่ยวกับพืช ชื่อ ฮีสโทเรียแพลนทารัม
(Historiaplantarum)
2. แบ่งพืชออกเป็ น พืชใบเลีย
้ งเดี่ยว (Monocotyledon) และพืชใบ
เลีย
้ งคู่ (Dicotyledon)
3. เป็ นคนแรกที่นำคำว่า สปี ชีส์ (Species) มาใช้ทางชีววิทยา
Carolus Linnaeus : ปี ค.ศ. 170 7-1 778 นักชีวิวิทยาชาวสวีเดน ผู้
วางรากฐานการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตและได้รับยกย่องว่าเป็ น บิดา
แห่งการจำแนกยุคใหม่ หรือ บิดาแห่งวิชาอนุกรมวิธาน (Father of
Medern Classification) ลินเนียสเป็ นคนแรกที่ใช้ช่ อ
ื ภาษาลาติ 2 ชื่อ มา
ใช้เรียกสิ่งมีชีวิต ซึ่งเรียกว่า binomial nomenclature โดยชื่อแรกเป็ น
ชื่อสกุล หรือ จีนัส (generic name) และชื่อหลังเป็ นชื่อตัว (specific
neme) และวิธีนีย
้ ังใช้กันอยู่ถึงปั จจุบัน นอกจากนีล
้ ินเนียสยังได้ศึกษา
พืชและเกสรตัวผู้ และใช้เกสรตัวผู้ในการแบ่งชนิดของพืชดอกพืชที่มี ้
จำนวนเกสรเพศผู้และเพศเมียเท่ากันจัดอยู่ในกลุ่มเดียวกั๋นในการจำแนก
สัตว์ แบ่งสัตว์ออกเป็ น สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง แมลง ปลา สัตว์สะเทินน้ำ
สะเทินบก นก สัตว์เลีย
้ งลูกด้วยนม
การจำแนกสิง่ มีชีวิตมีหลายระบบ สรุปได้เป็ น ๔ ระบบใหญ่ๆ ดังนี ้
1. ระบบแบบง่ย (artificial system) เป็ นระบบการจำแนกอย่างง่ายๆ
ไม่ละเอียดมากนัก โดยพิจารณา
จากลักษณะภายนอกว่าคล้ายกันหรือต่างกันอย่างไร เป็ นการจำแนกเพื่อ
ความสะดวก เช่น
- จำแนกเป็ นพืชอาหาร พืชใช้เป็ นยารักษาโรค พืชมีพิษ
ห น ่ว ย อ น ุก ร ม ว ิธ า น ข อ ง ก า ร จ ำ แ น ก (unit of classification)
ในการจำแนกเริ่มต้นจากหน่วยอนุกรมวิธานชนิด ซึง่ เป็ นหน่วยอนุกรม
วิธานที่เล็กที่สุด แล้วลำดับหน่วยอนุกรมวิธานขึน
้ ไปถึงหน่วยอนุกรมวิธาน
ที่ใหญ่ที่สุด ซึ่งจัดเป็ นระบบชัน
้ จากกฏนานาชาติในการตัง้ ชื่อสิ่งมีชีวิตได้
กำหนดหน่วยอนุก รมวิธานใหญ่ที่ส ุด ถึง หน่วยอนุก รมวิธานเล็ก สุด ดัง นี ้
อ า ณ า จ ัก ร (kingdom)
ห ม ว ด (division)
ช น
ั้ (class)
อ ัน ด ับ (order)
ว ง ศ ์ (family)
ส ก ุล (genus)
ช น ิด (species)
ในหน่วยอนุกรมวิธานดังกล่าวนีอ
้ าจจะแบ่งรายละเอียดย่อยลงไปได้
โ ด ย เ ต ิม ค ำ ว ่า "sub"ข ้า ง ห น ้า แ ล ะ เ พ ิ่ม
ห น ่ว ย อ น ุก ร ม ว ิธ า น ใ ห ม ่อ ีก ต ัว อ ย ่า ง ม น ุษ ย ์
Kingdom Animalia
Phylum Chordata
Class Mammalia
Order Primates
Family Hominidae
Genus Homo
ภาพที่ 1 การเปรียบเทียบโครงสร้
Speciesางร่างกาย
Homo sapiens
แ น ว ทีท่มา า: สถาบั
ง นในวัน ก า รฒนากระบวนการ
ตกรรมและพั จ ัด จ ำ แ น ก
1. Phenetics: จ ำเรีแยนนรูก้ มหาวิ
ต า มทลยาลั
ัก ษยณ
มหิะดภล า ย น อ ก ท ี่ม อ ง เ ห ็น
2. Cladistics : พ ิจ า ร ณ า แ บ บ แ ผ ่น ก า ร แ ย ก จ า ก ก ัน ข อ ง ส า ย
2. แบบแผนการเจริญเติบโต และโครงสร้างที่เกิดขึน
้ ในระยะที่เป็ น
ตัวอ่อน โดยใช้หลักฐานที่ว่า สิ่งมีชีวิตใดที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันหรือมี
ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมาก ย่อมมีความสัมพันธ์ทางเชื้อสายและมี
วิวัฒนาการมากด้วย
ลักษณะอย่างหนึง่ ของสัตว์ในฟลัมคอร์ดาตา คือ การมีช่องเหงือก
3. ความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการ
ซึง่ เราจะพบเฉพาะในระยะที โดยการศึ
่เป็ นตัวอ่ กด
อนทุกชนิ ษาจากซากดึ
แต่เมื่อเจริญกเติ
ดำบรรพ์
บโตขึน

(เป็fossil)
นตัวเต็ทำให้ ทราบว่อาเฉพาะพวกปลาเท่
มวัยจะเหลื สิ่งมีชีวิตใดมี านัน
้ ที่ยังมีช่องเหงือกอยู่
บรรพบุ
้ รชุ่ษอร่งเหงื
นอกนัน วมกัน ควรจั
อกก็ จะปิดดไปหมด
อยู่ในกลุ่มซึเดี
่งถ้ยาวกั น เช่ศนึกษาถึ
เราไม่ การค้ นพบ วอ่อน
งระยะตั
ซากดึ กดำบรรพ์
เราจะไม่ ของเทอราโนดอน
ทราบเลยว่ าการมีช่องเหงื(pteranodon) ซึ่ง่งของไฟลั
อกคือลักษณะหนึ เป็ นสัตว์ม
เลืคอร์
้อยคลาน
ดา
ทีตา
่บินได้กับ ซากดึกดำบรรพ์ของ อาร์คีออฟเทอริก (archeopteryx) ซึ่ง
เป็ นนกโบราณที่มีขากรรไกรยาว มีฟัน ปี กมีนว
ิ ้ ซึง่ เป็ นลักษณะคล้าย สัตว์
เลื้อยคลาน จึงควรจัดไว้ในกลุ่มที่อยู่ใกล้ชิดกัน
ภาพที่ 2 ซากดึกดำบรรพ์ของ อาร์คีออฟเทอริก
(archeopteryx)
4. โครงสร้างของซลล์และออร์แกเนล เป็ นการศึกษาในระดับเซลล์
ที่มา : สถาบันนวัตกรรมและพัฒนากระบวนการ
และส่วนแระกอบของเซลล์ เช่นการ
เรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล
แบ่งสิ่งมีชีวิตที่ไม่เป็ นซลล์ เช่น ไวรัส และพวกที่เป็ นซลล์ เช่น เซลล์ของ
สิ่งมีชีวิตทั่วไป นอกจากนีพ
้ วกที่เป็ นเซลล์ยังแบ่งออกเป็ นพวกไม่มีเยื่อหุ้ม
นิวเคลียส เช่น แบคที่เรีย สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินกับพวกที่มีเยื่อหุ้ม
นิวเคลียสเช่น สาหร่าย เห็ด รา พืชและสัตว์ทั่วไป
5. กระบวนการทางชีวเคมีและสรี รวิทยา โดยการพิจารณาจากชนิดสารเคมีที่สิ่งมีชีวติ สร้ างขึ ้นว่ามี
ความคล้ ายคลึงกันอย่างไร ซึง่ จะบอกให้ ทราบถึงความใกล้ ชิดกันทางพันธุกรรมอีกด้ วย ตัวอย่างเช่นการ
ศึกษาแบบแผนไอโซไซม์ระบบต่าง ๆ ในสิ่งมีชีวติ สามารถนำมาใช้ จดั จำแนกสิ่งมีชีวิตในระดับชนิดต่ำกว่า
ชนิดก็ได้ ทังนี
้ ้เพราะแบบแผนไอโชไซม์ถกู ควบคุมโดยยีนซึง่ เป็ น หน่วยพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตนัน่ เอง
6. ลักษณะทางพันธุกรรม สิ่งมีชีวิตที่มีลกั ษณะทางพันธุกรรมที่ใกล้ ชิดกันย่อมมีลกั ษณะพื ้นฐานต่าง
ๆ ใกล้ เคียงกันด้ วย เช่น ลักษณะและจำนวนโครโมโซม ลักษณะของการสืบพันธุ์และการถ่ายทอดทางพันธุ
กรมมจากบรรพบุรุษสูล่ กู หลาน
7. พฤติกรรมความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้ อม รวมทังการแพร่
้ กระจายทางภูมิศาสตร์ อีกด้ วย
ทำให้ ทราบความแตกต่าง หรื อความคล้ ายคลึงจนสามารถใช้ เป็ นข้ อมูลในการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิตได้
2. การตัง้ ชื่อวิทยาศาสตร์ (Nomenclature)
ชื่อของสิ่งมีชีวิต
การเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตมีหลายรูปแบบ ได้แก่
- ชื่อพื้นเมือง (Local name หรือ Vernacular name) หมาย
ถึง ชื่อที่เรียกสิง่ มีชีวิตตามท้องถิ่นซึ่งอาจแตกต่างกันได้ทงั ้ ๆ ที่เป็ นสิ่งมี
ชีวิตชนิดเดียวกัน เช่น "มะละกอ" ภาคเหนือเรียกว่า "มะกล้วยเทศ"
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เรียกว่า "หมากหุ่ง" ในขณะที่ภาคใต้เรียกว่า "
ลอกอ"
- ชื่อสามัญ (Common name) หมายถึง ชื่อภาษาอังกฤษของ
สิ่งมีชีวิต เนื่องจากภาษาอังกฤษ มีการใช้แทนกันแพร่หลายจึงเป็ นที่ร้จ
ู ัก
กันทั่วไป เช่น banana (กล้วย), rose (กุหลาบ) lotus (บัวหลวง)
coconut (มะพร้าว) ฯลฯ
- ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) หมายถึง ชื่อที่กำหนด
ชนิดของสิ่งมีชีวิตทุกหมวดหมู่ ตามประมวลกฎนานาชาติของการ
กำหนดชื่อวิทยาศาสตร์ของสิง่ มีชีวิต ซึ่งคาโรลัส ลินเนียส (Carolus
Linnaeus) นักชีววิทยาชาวสวีเดน ผูไ้ ด้ช่ อ
ื ว่า "บิดาแห่งวิชาอนุกรม
วิธาน" เป็ นผู้เสนอให้เรียกชื่อสิ่งมีชีวิตเป็ นภาษาลาติน ประกอบด้วย 2
ชื่อ (Binomial system) ในหนังสือ Species plantarum เมื่อปี ค.ศ.
1753
หลัชืก่ อ วิทใยาศาสตร์
เกณฑ์ = genus
นการตัง้ ชื่อวิทยาศาสตร์ + specific
1. ควรเป็ นชื่อที่เป็ นสากล (Universal)
name + author (ชื่อผู้ตงั ้ )
2. มีความมั่นคงถาวร (Stability)
3. มีความจำเพาะเจาะจง (Uniqueness)
4. เมื่อมีการตรวจสอบจนแน่ชัดว่าไม่มีการค้นพบหรือตัง้ ชื่อมา
ก่อน
หลักเกณฑ์การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
1. ชื่อวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดต้องมีเพียงชื่อเดียว
2. ชื่อวิทยาศาสตร์ต้องเป็ นภาษาละติน เหตุที่ช่ อ
ื วิทยาศาสตร์
กำหนดเป็ นภาษาลาติน เพราะภาษาลาตินนิยมใช้ในหมู่นัก
วิทยาศาสตร์สมัยของลินเนียส และภาษาลาตินเป็ นภาษาที่ตายแล้ว ไม่
ใช้เป็ นภาษาพูดจึงมีความหมายไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง
3. การตัง้ ชื่อวิทยาศาสตร์ถือตามระบบการทวินาม คือ ประกอบ
ด้วย 2 คำ โดยคำแรกเป็ นชื่อสกุล อักษรตัวแรกใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ ส่วน
คำหลังเป็ นคำระบุชนิด เป็ นคำที่บ่งบอกลักษณะของสิ่งมีชีวิต และขึน

ต้นด้วยตัวอักษรพิมพ์เล็ก
4. การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์ต้องให้มีลก
ั ษณะแตกต่างจากอักษร
อื่นโดยอาจเขียนเป็ นตัวเอนหรือขีดเส้นใต้ช่ อ
ื ทัง้ สองโดยเส้นที่ขีดต้อง
ไม่ติดกัน
5. ผู้ตงั ้ ชื่อวิทยาศาสตร์ให้เขียนไว้ด้านหลัง ขึน
้ ต้นด้วยอักษรพิมพ์
ใหญ่ ไม่ต้องเขียนด้วยตัวเอนหรือขีดเส้นใต้
ตัวอย่าง
Poinciana pulcherrima Linn. (หางนกยูงไทย): Linn. คือชื่อย่อ
ของ Carolus Linnaeus
Litchi chinensis Sonn. (ลิน
้ จี่): Sonn. คือชื่อย่อของ Pierre
Sonneret
6. specific epithat มักจะเป็ นคำคุณศัพท์ แสดงลักษณะเด่น
เช่น สี ถิ่นกำเนิด รูปพรรณสัณฐาน บุคคลผูค
้ ้นพบ หรือเป็ นเกียรติแก่
ผู้ตงั ้
ตัวอย่างความหมายของคำคุณศัพท์
alba = สีขาว
3. การค้นหาตรวจสอบเพื่อให้ได้ช่ อ
ื วิทยาศาสตร์
(Identification)
การตรวจสอบเอกลักษณ์ (Identification) เป็ นการนำตัวอย่าง
ของสิ่งมีชีวิตที่ได้จากการรวบรวมในภาคสนามมาจำแนกและตรวจหา
ชื่อวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิต เพื่อนำไปจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตต่อไป วิธีการที่
ใช้ในการตรวจสอบเอกลักษณ์ มีหลายวิธี ดังนี ้
ㆍ การเปรียบเทียบกับตัวอย่างในพิพิธภัณฑ์
ㆍ จากประสบการณ์ หรือความจำ
ㆍ สอบถามจากผู้เชี่ยวชาญในด้านนัน
้ ๆ
ㆍ ใช้เอกสารโดยเปรียบเทียบตัวอย่างกับคำบรรยายลักษณะ
ㆍ ใช้ภาพ
ㆍ การใช้รูปวิธาน (dichotomous key)

การระบุชนิดของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตมีความหลากหลายแตกต่างกันนักวิทยาศาสตร์มีเครื่องมือ
ที่ใช้ในการระบุชนิดของสิ่งมีชีวิต คือ ไดโคโตมัสคีย์ (dichotomous)
คือ เครื่องมือในการแบ่งกลุ่มย่อยสิ่งมีชีวิตโดยเปรียบเทียบความแตก
ต่างทีละคู่ของโครงสร้างลักษณะหนึ่ง หรือหลายลักษณะ การแบ่งสิ่งมี
ชีวิตทีละ 2 กลุ่มทำให้พิจารณาได้ง่าย ไม่สับสน และสิง่ มีชีวิตแต่ละ
กลุ่มจะมีใดโคโตมัสคีย์ที่เหมาะสมเฉพาะ ใช้แยกกลุ่มย่อยของสิ่งมีชีวิต
นัน

ชนิดของ ไดโคโตมัสคีย์ ( Dichotomous key)
คู่มือวิเคราะห์เป็ นเพียงเครื่องมือที่สร้างขึน
้ เพื่อช่วยในการตรวจ
สอบชนิดและชื่อวิทยาศาสตร์โดยใช้ลก
ั ษณะสำคัญเช่น นิสัย ถิ่นที่อยู่
และโครงสร้างทางสัญฐานวิทยาต่างๆ มาเขียนเปรียบเทียบกันเป็ นคู่ๆ
โดยไม่มีคำบรรยายลักษณะเช่น
การใช้รูปวิธาน (Dichotomous key)

เมื่อได้ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตที่ไม่ร้จ
ู ักชื่อนำมาตรวจสอบหาชื่อต้องเลือก
ใช้รูปวิธานให้ตรงกับจุดประสงค์ เลือกรูปวิธานที่เกี่ยวข้อง จากนัน
้ จึง
นำไปตรวจสอบกับรูปวิธาน เมื่อได้ช่ อ
ื ของสิง่ มีชีวิตแล้ว ควรอ่านคำ
บรรยายลักษณะนัน
้ ๆเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง

เป็ นเครื่องมือที่ใช้ในการระบุชนิด (หาชื่อวิทยาศาสตร์ที่ง่ายและ


รวดเร็วที่สุด) โดยรูปวิธานจะกล่าวถึง

ลักษณะที่เด่นชัดและสำคัญซึ่งใช้ในการเปรียบเทียบสิ่งมีชีวิตได้อย่าง
ชัดเจนการเปรียบเทียบความแตกต่างของลักษณะ จะเปรียบเทียบเป็ น
คู่ ๆ จึงเรียกลักษณะนีว้ ่า"dichotomous key" การเปรียบเทียบ
ลักษณะ มักเปรียบเทียบโดยความสะดวกต่อการใช้งาน

ขัน
้ ตอนการสร้างรูปวิธาน

1. ศึกษาลักษณะต่าง ๆ ของพืชหรือสัตว์ แล้วสร้างตารางเปรียบ


เทียบลักษณะ

2. เขียนรูปวิธาน โดยกล่าวถึงลักษณะเดียวกันที่มีความแตกต่าง

3. คำขึน
้ ของรูปวิธานต้องเป็ นลักษณะเดียวกัน

4. การเปรียบเทียบความแตกต่างในรูปวิธาน ไม่ควรยาวและยาก
ต่อการตัดสินใจในการจำแนกตัวอย่างไดโดโตมัสคีย์ (dichotomous
key สำหรับจัดหมวดหมูฟลัมของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง

You might also like