You are on page 1of 2

การเลี้ยงเพิ่มปริมาณ

ต้นทุนการผลิต
เ ต รี ย ม ก ล่ อ ง เ ลี้ ย ง ข น า ด
13x13x26 ซม.3 เจาะด้านข้าง
แล้ ว บุ ด้ ว ยตาข่ า ยพลาสติ ก
เพื่อช่วยในการระบายอากาศ ต้นทุนการเลี้ยงมวนเพชฌฆาตจำนวน 200 ตัวด้วย
จิ้งหรีดลายหรือแมงสะดิ้ง เป็นเวลา 2 เดือน เท่ากับ
130 บาท (ค่าอาหาร 40 บาท + ค่าแรงงาน 90 บาท
หรือร้อยละ 65)
จำนวนมวนเพชฌฆาตแต่ละวัย/กล่องเลี้ยง และ
อาหารที่ให้
อ้างอิง

มวนวัยที่ จำนวนมวน จิ้งหรีดที่ใช้เลี้ยง จำนวน
(ตัว/กล่อง) (มวน:จิ้งหรีด) จิง้ หรีดที่ให้
1
50
25:1 2 นุรี ปัดทุม. 2551. การจัดการแมลงศัตรูพืชวงศ์กะหล่ำ
โดยไม่ใช้สารเคมี. วิทยานิพนธ์ปริญญา
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
2 50 25:1 2

3
35
10:1
4
4
35
4:1 9

5-ตัวเต็ มวัย
20
3:1 7 ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ
ภาตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ตู้ ปณ. 181
ภายในกล่ อ งเลี้ ย งใส่ จิ้ ง หรี ด มหาวิทยาลัยขอนแก่น 40002
และสำลี ชุ บ น้ ำ เป็ น อาหาร ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ
โทรศัพท์/โทรสาร 0-4334-3055 ภาตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พร้ อ มทั้ งใส่ กิ่ งไม้ ส ด หรื อ http://home.kku.ac.th/nbcrc/nbcrckku/
กระดาษที่ขยำเป็นก้อน เพื่อ index.html
ให้มวนเกาะหรือหลบซ่อนตัว
เปลี่ ย นอาหารสั ป ดาห์ ล ะ 3
ครั้ง กันยายน 2551
มวนเพชฌฆาต (Sycanus sp. ) วงจรชีวิตมวนเพชฌฆาต ตัวเต็มวัย สีแดงสลับดำ มีส่วนหัวแคบ คอยาว ปีก
และขาสีดำ ตัวผู้มีลำตัวยาวรีส่วนตัวเมียมีลำตัวอ้วน
กว่าตัวผู้ อายุตัวเต็มวัยประมาณ 45-60 วัน ตัวเมีย
วงศ์ (Family) : Reduviidae ตัวเต็มวัย 45-60 วัน หนึ่งตัวสามารถวางไข่ได้ 650-700 ฟอง (3-5 กลุ่ม)
อันดับ (Order) : Hemiptera

การนำไปใช้ประโยชน์


เราสามารถนำมวนเพชฌฆาต ตั้งแต่วัยที่ 2 ถึง
ตัวเต็มวัย ไปปล่อยเพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืชในแปลงไม้
ดอก เช่น ดาวเรือง กุหลาบ กล้วยไม้ แปลงผักตระกูล
กะหล่ำ ข้าวโพด และแปลงปลูกต้นสัก อัตราการปลด
ปล่อยประมาณ 500 ตัว/ไร่


ระยะไข่ ไข่มีลักษณะเป็นแท่งยาวรีสีเหลืองคล้าย
ลูกรักบี้ มีครีมสีขาวห่อหุ้มกลุ่มไข่ไว้เป็นกลุ่ม เมื่อครีม
ความสำคัญ แห้งเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลช่วยยึดกลุ่มไข่ไว้กับกล่องเลี้ยง ใช้กำจัดหนอนเจาะสมอ
ไข่ใกล้ฟักมีสีแดงเข้ม(นุรี,2551) ในสภาพไร่ทั่วไปมวน ฝ้ายในแปลงดาวเรือง
มวนเพชฌฆาต เป็นแมลงตัวห้ำ มีประโยชน์ในการ ตัวเต็มวัย มักวางไข่เป็นกลุ่มตามใบพืช โดยไข่แต่ละกลุ่ม
ช่วยกำจัดหนอนของแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่น มีประมาณ 94 ฟอง ระยะไข่ประมาณ 10-25 วัน
หนอนกระทู้ผัก หนอนกระทู้หอม หนอนเจาะสมอฝ้าย
หนอนแก้วส้ม และหนอนบุ้งต่างๆ เป็นต้น ตัวอ่อนและ ระยะตัวอ่อน ตัวอ่อนมี 5 วัย เมื่อฟักออกมาจาก
ตั ว เต็ ม วั ย ของมวนเข้ า ทำลายเหยื่ อ โดยการใช้ ป าก
ไข่ ใ หม่ ๆ มี รู ป ร่ า งยาวรี ตั ว มี สี ส้ ม แดงมั ก อยู่ ร วมกั น
ที่ เ ป็ น แท่ ง ยาวแหลมคมเจาะเข้ าไป ทำให้ ห นอนเป็ น เป็นกลุ่มและดูดกินน้ำเป็นอาหารประมาณ4-5 วันเริ่ม
อัมพาตขยับตัวไม่ได้ จากนั้นจึงดูดกินของเหลวภายใน แสดงพฤติกรรมการห้ำ โดยดูดกินหนอนต่างๆ เป็นอาหาร ใช้ ก ำจั ด หนอนกระทู้ ผั กใน
ตัวหนอนจนตัวแห้งเหี่ยวตาย มวนตัวห้ำชนิดนี้ดูดกิน หลั ง จากลอกคราบเป็ น ตั ว อ่ อ นวั ย ที่ 2-5 ลำตั ว จะมี
แปลงผัก
หนอนเป็นอาหารเท่านั้น ไม่ทำลายพืช จึงเป็นแมลงศัตรู สีแดงเข้มขึ้นเรื่อยๆ หัวและขามีสีดำ ตัวอ่อนวัยที่ 4
ธรรมชาติ ที่ เ กษตรกรสามารถนำไปใช้ ป ระโยชน์
จะเห็นติ่งปีกชัดเจน ระยะตัวอ่อนตั้งแต่วัยที่ 1 ถึงวัยที่ 5
เพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธีในสภาพไร่ได้ ใช้เวลา 50-60 วัน

You might also like