You are on page 1of 2

อาหารเป็ด การป้องกันโรค

เนื่องจากเป็ดเนื้อมีอัตราการเจริญเติบโตเร็ว ดังนั้น เกษตรกร โรคทีส่ ำ� คัญในเป็ดเทศ ได้แก่


สามารถลดต้นทุนโดยการผสมอาหารข้นกับวัตถุดบิ ในท้องถิน่ ได้ ดังนี้ 1) โรคอหิวาต์ ควรท�ำการฉีดวัคซีนป้องกันโรคอหิวาต์ ปีละ 4 ครัง้
1. สูตรอาหารส�ำเร็จรูป สามารถน�ำไปใช้โดยค�ำนึงถึงราคาต้นทุน โดยฉีดเข้ากล้ามเนือ้ หรือน�ำยาปฏิชวี นะละลายน�ำ้ ให้กนิ ติดต่อกัน 2-3 วัน
ของวัตถุดบิ และปริมาณความต้องการโปรตีนของเป็ดแต่ละช่วงอายุ
โปรแกรมวัคซีนอหิวาต์
อายุ (สัปดาห์)
วัตถุดิบ 8 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ 16 สัปดาห์ ฉีดซ�ำ้ ทุกๆ 3 เดือน
0-3 4-12 พ่อแม่พนั ธุ์
อายุสตั ว์
ปลายข้าว 59 54 52.13
ร�ำละเอียด 11 15 10 เข็มที่ 1 เข็มที่ 2
ร�ำหยาบ - 10 -
กากถั่วเหลือง (44%) 22 13 23.73 2) กาฬโรคเป็ด ควรท�ำการฉีดวัคซีนป้องกันกาฬโรคเป็ด ปีละ
ปลาป่น (55%) 5 5 5 2 ครั้ง โดยฉีดเข้าใต้ผิวหนังหรือกล้ามเนื้อ ดูแลความสะอาดเล้าและ โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
เปลือกหอย 1 1 5 อุปกรณ์ต่างๆ เสมอ ก็จะท�ำให้การป้องกันโรคได้ผลดียิ่งขึ้น
ไดแคลเซียมฟอสเฟส
เกลือป่น
1
0.5
1
0.4
6
2
โปรแกรมวัคซีนกาฬโรคเป็ด การเลี้ยงเป็ดเนื้อ
พรีมิกซ์เป็ดไข่ 0.28 0.37 0.5 3-4 สัปดาห์ 10-12 สัปดาห์ 24 สัปดาห์
ดีแอล-เมทไธโอนีน 0.1 0.1 0.14 อายุสตั ว์
แอล-ไลซีน 0.12 0.13 0.5
รวม 100 100 100 เข็มที่ 1 เข็มที่ 2 เข็มที่ 3 ฉีดซ�ำ้ ทุกๆ 6 เดือน
โปรตีนในอาหาร (%) 18.7 15.4 18.7 3) การให้แสงสว่างวันละ 14-16 ชัว่ โมง จะช่วยให้เป็ดไข่ดขี นึ้
พลังงานในอาหาร (kcal/kg) 2,890 2,730 2,730 จึงต้องเปิดไฟสว่างขนาด 20 วัตต์ ต่อพื้นที่ 10 ตารางเมตร เพิ่มขึ้น
2. สูตรอาหารอย่างง่าย สามารถน�ำไปใช้และหาซื้อวัตถุดิบใน วันละ 2-4 ชัว่ โมง คือ หัวค�ำ่ เปิดไฟถึง 3 ทุม่ และอีกครัง้ หนึง่ เวลาเช้ามืด
ท้องถิน่ ทีม่ รี าคาไม่แพงมากนัก 5-6 โมงเช้า
อายุ
วัตถุดิบ
1 – 2 เดือน 2 เดือนขึ้นไป
อาหารเป็ด 30 30
ร�ำข้าว 20 40 สอบถามรายละเอียดได้ที่
ปลายข้าว 5 5-10
กองงานพระราชดำ�ริและกิจกรรมพิเศษ กรมปศุสัตว์
***อาหารเป็ดจะต้องไม่มขี า้ วโพดเป็นส่วนผสม เพราะท�ำให้การไข่ โทร. 0 2653 4444 ต่อ 3371 โทรสาร 0 2653 4930
การผสมติด การฟักออกต�ำ่ และไม่ไข่เลย E-mail : drasa2@dld.go.th
www.royal.dld.go.th
ร ม ป ศุ สั ต

ว์

การเลี้ยงเป็ดเนื้อ โรงเรือนและการเลี้ยงดู การเลี้ยงดู
เป็ดเป็นสัตว์ทเี่ ลีย้ งง่าย เติบโตเร็ว สามารถใช้อาหารและวัตถุดบิ โรงเรือนควรท�ำจากไม้หรือวัสดุที่หาง่ายในท้องถิ่น หลังคามุง การดูแลลูกเป็ด 0-7 วัน ควรมีอปุ กรณ์ให้นำ�้ ให้อาหาร แผงกัน้ กก
ทีม่ ใี นท้องถิน่ ได้เป็นอย่างดี ให้ผลตอบแทนในระยะเวลาสัน้ จ�ำหน่าย ด้วยหญ้าคาหรือแฝก มีพนื้ ที่ 7 ตัว/ตร.ม. ตัง้ อยูใ่ นทิศตะวันออก - ตก และเครือ่ งกก ควรติดตัง้ แผงกัน้ กกให้มขี นาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ
ได้งา่ ย สามารถเลีย้ งเป็นอาชีพเสริมร่วมกับอาชีพอืน่ ได้ มีรางน�้ำ – รางอาหารที่เพียงพอกับจ�ำนวนเป็ดที่เลี้ยง พื้นควรเป็น 4 เมตร ซึ่งสามารถกกได้ 500 ตัว หรือใช้พื้นที่ในการกกประมาณ
1) พันธุ์บาร์บารี (Barbary) ขนสีขาวตลอดล�ำตัว และมีขน พืน้ ทรายหรือพืน้ ซีเมนต์จะท�ำความสะอาดได้งา่ ยและควรปูเปลือกข้าว 40 ตัว/ตร.ม.
สีดำ� อยูก่ ลางหัว ปากสีชมพู เท้าสีเหลืองอ่อน ใบหน้าสีชมพูมผี วิ ขรุขระ หรือแกลบเป็นวัสดุรองพืน้ ข้อควรระวัง เนือ่ งจากลูกเป็ดเนือ้ มีอตั ราเจริญเติบโตเร็วมากและ
นู น เด่ น ไม่ มี ข น แรกเกิ ด มี ข นสี ข าว การเลีย้ งเป็ดเนือ้ แบ่งออกตามวัตถุประสงค์ของการเลีย้ งได้ ดังนี้ ตืน่ ตกใจง่าย เมือ่ ตกใจก็จะวิง่ ไปสุมรวมกันและอาจจะทับกันตายและ
อมเหลือง มีจดุ ด�ำอยูก่ ลางหัว ปากสีชมพู 1. เลีย้ งเพือ่ บริโภคในครัวเรือน ไม่คอ่ ย ขาบาดเจ็บจนเดินไม่ได้
แข้งสีเหลือง เริม่ ไข่เมือ่ อายุ 28 สัปดาห์ ค�ำนึงถึงผลก�ำไร เช่น การเลี้ยงเป็ดไข่ตัวผู้ การดู แ ลเป็ ด ระยะรุ ่ น -ใหญ่
โตเต็มที่ตัวผู้หนัก 5-6 กิโลกรัม ตัวเมีย เป็ดเทศ และเป็ดปัว๊ ฉ่าย อาหารทีใ่ ช้เลีย้ งเป็ด (7 วัน - จับขาย) ภายในโรงเรือน
หนัก 2.5-3.5 กิโลกรัม ผลผลิตไข่ปีละ จะเป็นวัตถุดบิ ในท้องถิน่ ควรจะใช้ตาข่ายกั้นแบ่งเป็นห้องๆ
150-158 ฟอง/แม่ ฟักไข่เองได้ดี 2. การเลีย้ งเชิงธุรกิจหรือเลีย้ งเพือ่ การค้า การเลีย้ งในลักษณะนี้ โดยเลีย้ งเป็ด 500 ตัว/ห้อง การให้นำ�้
2) พันธุก์ บินทร์บรุ ี (Kabinburi) ขนสีขาวตลอดล�ำตัว และมีขน ผู้เลี้ยงจะต้องเลี้ยงเป็ดในปริมาณมาก มีตลาดรองรับที่แน่นอนและ ควรจะย้ายออกไปอยู่ด้านข้างของ
สีดำ� อยูก่ ลางหัว ปากสีชมพู เท้าสีเหลืองอ่อน ใบหน้ามีสชี มพูผวิ ขรุขระ สม�ำ่ เสมอ สามารถแบ่งออกตามรูปแบบการเลีย้ งได้ ดังนี้ โรงเรือน ซึง่ จะท�ำเป็นพืน้ สแลท เพือ่
นูนเด่น ไม่มขี น เริม่ ไข่เมือ่ อายุ 6 – 7 เดือน 2.1 การเลี้ยงแบบไล่ทุ่ง โดยการไล่ฝูงเป็ดไปตามแหล่งที่ ให้น�้ำที่หกไหลออกไปนอกโรงเรือน
ผลผลิตไข่ปลี ะ 160 - 180 ฟอง/แม่ โตเต็ม มีอาหาร ให้อาหารเสริมตอนเช้าหรือตอนเย็นวันละมื้อ และต้อง หรืออาจวางไว้บริเวณลาน
ทีเ่ พศผูห้ นัก 4.5 - 5.1 กิโลกรัม เพศเมีย กกลูกเป็ดให้แข็งแรงเสียก่อนประมาณ 1-2
หนัก 2.8 - 3.2 กิโลกรัม สามารถเลีย้ งขุน สัปดาห์ เมื่อถึงระยะก่อนส่งตลาด 1-2 การบันทึกข้อมูล
โดยใช้เวลา 10 – 12 สัปดาห์ สัปดาห์ อาจจะน�ำมาขุนด้วยปลายข้าวหรือ ในการเลีย้ งเป็ดเทศ ผูเ้ ลีย้ งควรจดบันทึกข้อมูล ดังนี้
3) พันธุ์ท่าพระ (Tha pra) ขนเป็นสีด�ำมีขนสีขาวแซมที่ปีก อาหารข้น (ปัจจุบนั ไม่คอ่ ยนิยมเสีย่ งเกิดโรค 1. วันรับลูกเป็ด อายุลกู เป็ด ราคา/ตัว
และหน้าอก หน้าเป็นปุ่ม หนังย่นสีแดง ปากสีด�ำแซมชมพู แข้งสีด�ำ ไข้หวัดนกระบาด) 2. ชนิดอาหาร จ�ำนวน ราคา/กก.
ตาสีดำ� เริม่ ไข่เมือ่ อายุ 210 วัน ผลผลิตไข่ 2.2 การเลี้ยงแบบปล่อย 3. ก�ำหนดการท�ำวัคซีนป้องกันโรค บันทึกวันทีท่ ำ� ชนิดวัคซีน
ปีละ 98 ฟอง/แม่ น�้ำหนักเพศผู้เมื่ออายุ ลาน โดยการเลีย้ งในโรงเรือนและมี 4. บันทึกการไข่ตงั้ แต่ฟองแรกจนถึงแสดงอาการฟักไข่ จ�ำนวน
12 สัปดาห์ 3,184 กรัม เพศเมีย 1,915 กรัม ลานดินหรือแหล่งน�ำ้ ใกล้กบั โรงเรือน วันทีฟ่ กั
โตเต็มที่เพศผู้หนัก 4.1 - 4.5 กิโลกรัม เป็ดจะถูกปล่อยออกมากินอาหาร
เพศเมียหนัก 2.5 - 3.2 กิโลกรัม และน�ำ้ ภายนอกโรงเรือน
2.3 การเลี้ ย งเป็ ด ภายใน
โรงเรือน โดยให้เป็ดอยู่ในโรงเรือน
ให้กนิ น�ำ้ อาหารตลอดเวลา

You might also like