You are on page 1of 9

สมุดคำแนะนำการรับประทานอาหาร

ด.ช.ชวกร อยูย
่ น

จัดทำโดย
์ รีนพคุณ
6029021 นศ.ทพ. วิธาดา วงศศ
สาเหตุ และการป้องก ันโรคฟันผุจากการร ับประทานอาหาร

สาเหตุของโรคฟั นผุเกิดจากหลายปั จจัยร่วมกัน เชน ่ โครงสร ้างของฟั น น้ำลาย แผ่นคราบ


จุลน
ิ ทรีย ์ (dental plaque) เป็ นต ้น อย่างไรก็ตาม อาหารกลุม ่ คาร์โบไฮเดรตทีถ ่ ก
ู หม ักได้
(fermentable carbohydrates) หรือเครือ ่ งดืม
่ ประเภททีม่ น ื เป็ นอีกหนึง่ ปั จจัยสำคัญ
ี ้ำตาล ก็ถอ
อันเป็ นสาเหตุทก ี่ อ ่ เดียวกัน
่ ให ้เกิดโรคฟั นผุเชน

ทุกวันนีอ ้ าหารสว่ นใหญ่ทรี่ ับประทานเข ้าไปมักมีสว่ นผสมของน้ำตาลอยู่ ไม่วา่ จะเป็ นน้ำตาลจาก


ธรรมชาติในตัวอาหาร หรือน้ำตาลทีถ ่ กู ปรุงแต่งเติมลงไป (added sugar) เมือ ่ รับประทานเข ้าไปแล ้ว เชอื้
แบคทีเรียในคราบจุลน ิ ทรียจ
์ ะย่อยน้ำตาลเหล่านัน ้ และผลิตกรดออกมา เปลีย ่ นสภาพชอ ่ งปากให ้เป็ นกรด
่ ึ ี
ซงฟั นจะสูญเสยแร่ธาตุจนเกิดเป็ นรอยฟันผุในทีส ่ ด
ุ ยิง่ บริโภค น้ำตาลในระหว่างมือ้ อาหารบ่อยครัง้ กรด
จะยิง่ ละลายชน ั ้ เคลือบฟั นอย่างต่อเนือ ่ ง

ดังนัน
้ การร ับประทานขนมหรือน้ำตาลระหว่างมือ ้ อาหารจึงเป็นสงื่ ทีค ่ วรหลีกเลีย่ งเพือ
่ ให ้
สภาพชอ ่ งปากได ้มีระยะเวลาในการฟื้ นคืนสูส
่ ภาพปกติ และลดโอกาสการเกิดโรคฟั นผุ นอกจากนี้
อาหารทีม ่ ล
ี ักษณะเหนียวหรือติดฟัน เชน ่ เยลลี่ เป็ นอีกหนึง่ ปั จจัยทีเ่ สยี่ งให ้เกิดฟั นผุมากขึน

เนือ
่ งจากมีการติดฟั นในชอ ่ งปากเป็ นเวลานานจึงทำให ้เกิดกรดมากในชอ ่ งปาก

ยิง่ ไปกว่านัน
้ การได ้รับสารอาหารและโภชนาการทีค ่ รบถ ้วนเหมาะสมกับเด็กวัยเรียน เพือ ่ การ
เจริญเติบโตและเสริมพัฒนาการทางกายและจิตใจทีด ่ ี และลดการเกิดโรคฟั นผุ จึงเป็ นสงิ่ สำคัญโดย
สามารถวิเคราะห์ได ้จากการบันทึกตารางรับประทานอาหาร เพือ ่ ให ้คำแนะนำ ในการรับประทานอาหารได ้
อย่างถูกต ้อง

การดูแลสุขภาพชอ ่ งปากให ้มีประสท ิ ธิภาพไม่ได ้เกิดขึน


้ เพียงจากการรับประทานอาหารทีถ ่ ก
ู ต ้อง
่ งจากการแปรงฟั นก็เป็ นอีกสว่ นหนึง่ ทีช
เนือ ่ ว่ ยให ้สุขภาพชอ ่ งปากสะอาดมากขึน ้ น ้องพินทุควรที่ จะแปรง
ฟั นด ้วยตนเองโดยใชยาส้ ฟี ั นทีม ี วามเข ้มข ้นของฟลูออไรด์ท ี่ 1,500 สว่ นในล ้านสว่ น (ppm) อย่างน ้อย
่ ค
วันละสองครัง้ หลังมือ
้ อาหาร หลังการแปรงฟั นควรบ ้วนน้ำแต่น ้อยและไม่ควรดืม ่ น้ำตาม ภายหลังการ
แปรงฟั นอย่างน ้อย 30 นาที และใชไหมขั ้ ดฟั นเป็ นประจำทุกวันหลังแปรงฟั น ภายใต ้การดูแลของผู ้
ปกครอง พร ้อมทัง้ มีการตรวจสุขภาพฟั นทุกๆ 6 เดือน โดยทันตแพทย์
คำแนะนำเรือ
่ งอาหารและโภชนาการ

HN: 65-28068 ชอ ื่ เด็กชาย ชวกร อยูย


่ น
ื (น ้องพินทุ) อายุ 7 ปี 3 เดือน

น้ำหนัก 21.0 กิโลกรัม สวนสูง 122 เซนติเมตร

ผลการวิเคราะห์ข ้อมูล
จากกราฟแสดงเกณฑ์อ ้างอิงการเจริญเติบโตของเด็กเพศชายอายุ 6-19 ปี จากสำนัก
โภชนาการ กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ด.ช. ชวกร อยูย ่ น
ื อายุ 7 ปี 3 เดือน น้ำหนัก
21.0 กก. สว่ นสูง 122 ซม. มีน้ำหนักตามเกณฑ์สว่ นสูงในระดับ “สมสว ่ น” และมีสว่ นสูงตาม
เกณฑ์อายุในระดับ “สูงตามเกณฑ์”
ตารางบ ันทึกการร ับประทานอาหารใน 3 ว ัน

HN: 65-28068 ชอ ื่ เด็กชาย ชวกร อยูย ่ น


ื (น ้องพินทุ) อายุ 7 ปี 3 เดือน
น้ำหนัก 21.0 กิโลกรัม สว่ นสูง 122 เซนติเมตร
วันทีบ
่ น ั ทึกเริม
่ 30 ธ.ค. 2565 ถึง 1 ม.ค. 2566

ว ันที่ 1 ว ันที่ 2 ว ันที่ 3

อาหารว่าง 6.15 น. เชา้ 7.30 น. เชา้ 7.30 น.


นมโอวัลติน 1 กล่อง (165 ข ้าวเหนียว 1 ห่อ ข ้าว 1 ทัพพี
มล.) ไก่ทอด 2 ชน ิ้ เนือ ิ้
้ ขาหมู 4 ชน
เยลลี่ 1 ห่อ (20 กรัม)
เชา้ 8.15 น. อาหารว่าง 8.00 น.
ขนมปั งแซนวิชแฮมชส ี 1 อาหารว่าง 9.50 น. นมโอวัลติน 1 กล่อง (165
แผ่น ไอศกรีมโบราณ 1 แท่ง มล.)
ข ้าวเกรียบกุ ้ง 1 ห่อ (30 กรัม) น้ำเขียว 1 แก ้ว
เครือ ่ วิตามินซ ี 1 ขวด
่ งดืม อาหารว่าง 8.15 น.
(250 มล.) อาหารว่าง 13.10 น. เยลลี่ ½ ห่อ (10 กรัม)
น้ำอัดลม 1 แก ้ว (50 มล.)
อาหารว่าง
-

กลางว ัน 12.30 น. กลางว ัน 13.40 น. กลางว ัน 11.15 น.


ก๋วยเตีย๋ ว (ก๋วยเตีย๋ ว 1 ถ ้วย ก๋วยเตีย๋ วน้ำ (ก๋วยเตีย๋ ว1 ก๋วยเตีย๋ วน้ำ (ก๋วยเตีย
๋ ว1

เสนใหญ่ 1 ทัพพี หมูตนุ๋ 3 ้
ถ ้วย เสนใหญ่ ิ้
1 ทัพพี ลูกชน ้
ถ ้วย เสนใหญ่ ิ้
1 ทัพพี ลูกชน
ชนิ้ ลูกชนิ้ หมู 2 ลูก) ปลา 2 ลูก) 5 ลูก)
ปูอดั 1 ชน ิ้
อาหารว่าง แคปหมู 20 กรัม อาหารว่าง 11.30 น.
- ขนมถ ้วย 2 ชน ิ้ ขนมขบเคีย้ ว 1 ถุง

อาหารว่าง 14.10 น. อาหารว่าง 13.00 น.


ขนมจาก 1 ชน ิ้ (150 กรัม) นมโอวัลติน 1 กล่อง (165
มล.)
อาหารว่าง 17.30 น.
ิ้ (28 กรัม)
โอริโอ ้ 3 ชน

เย็น 19.00 น. เย็น 18.45 น. เย็น 18.00 น.


ข ้าวเกรียบกุ ้ง 1ห่อ (20 กรัม) พิซซา่ ½ ชนิ้ สุกน ิ้
ี้ ้ำ 1 ชาม (หมู 3 ชน
ข ้าว 1 ทัพพี ชสี ทอด 4 ชน ิ้ ผักกะหล่ำปลี 1/4 ทัพพี)
ไข่นกกระทาทอด 4 ฟอง
เยลลี่ 1 ห่อ (30 กรัม) อาหารว่าง 19.30 น. อาหารว่าง 18.30 น.
สายไหม 1 แก ้ว ขนมชอ ็ กโกแลต 20 กรัม
อาหารว่าง 20.30 น. ขนมขบเคีย ้ ว 1 ถุง
นมโอวัลติน 1 กล่อง (165 อาหารว่าง 22.00 น. เยลลี่ ½ ห่อ (10 กรัม)
มล.) นมไมโล 1 กล่อง (165 มล.) องุน
่ 5 ผล
ผู ้บันทึก นางนวพร อยูย
่ น
ื เกีย่ วข ้องเป็ น มารดา ของเด็ก
สแี ดง แสดงถึงอาหารทีม ่ ค
ี วามเสย ี่ งต่อการเกิดโรคฟั นผุ
ตารางวิเคราะห์และสรุปอาหารทีเ่ ด็กร ับประทานใน 3 ว ัน

ประเภท เฉลีย
่ ควรได้ร ับ
ว ันที่ 1 ว ันที่ 2 ว ันที่ 3
อาหาร ต่อว ัน ต่อว ัน*

ข ้าว แป้ ง ขนมปั งแซนวิชแฮมชี ข ้าวเหนียว ข ้าว 3.28 8 ทัพพี


ส 1 ทัพพี 1 ทัพพี ทัพพี
1 แผ่น
เส ้นก๋วยเตีย
๋ ว เส ้นก๋วยเตีย
๋ ว
ข ้าวเกรียบกุ ้ง 1 ทัพพี 1 ทัพพี
0.83 ทัพพี
พิซซ่า
เส ้นก๋วยเตีย
๋ ว 2 ทัพพี
1 ทัพพี

ข ้าว
1 ทัพพี

ผัก - - ผักกะหล่ำปลี 0.08 4 ทัพพี


0.25 ทัพพี ทัพพี

ผลไม ้ - - องุน
่ 0.167 3 ส่วน
½ ส่วน ส่วน

เนือ
้ สัตว์ หมูตน ุ๋ ไก่ทอด หมู 6.8 6 ช ้อนโต๊ะ
1 ช ้อนโต๊ะ 8 ช ้อนโต๊ะ 3.5 ช ้อนโต๊ะ ช ้อน
โต๊ะ

ลูกชิน ้
ลูกชิน ลูกชิน้
0.67 ช ้อนโต๊ะ 0.67 ช ้อนโต๊ะ 2 ช ้อนโต๊ะ

ไข่นกกระทาทอด ปูอด

2.4 ช ้อนโต๊ะ 0.83 ช ้อนโต๊ะ

แคบหมู
1.33 ช ้อนโต๊ะ

นมและ - ชีสทอด - 0.89 3 แก ้ว


ผลิตภัณฑ์ 2.68 แก ้ว แก ้ว

ไขมัน นมโอวัลติน เยลลี่ นมโอวัลติน ≥4 ช ้อน น้ำตาล ≤


น้ำตาล 2 กล่อง 1 ห่อ 2 กล่อง ชา 4 ช ้อนชา
เกลือ
และอืน
่ ๆ เครือ
่ งดืม
่ วิตามินซี ไอศกรีมโบราณ เยลลี่
1 ขวด 1 แท่ง 1 ห่อ

เยลลี่ น้ำเขียว ขนมขบเคีย


้ ว
1 ห่อ 1 แก ้ว 2 ถุง

น้ำอัดลม ขนมช็อกโกแลต
1 แก ้ว 20 กรัม

ขนมถ ้วย

2 ชิน

ขนมจาก

1 ชิน

โอริโอ ้

3 ชิน
สายไหม
1 แก ้ว

นมไมโล
1 กล่อง
*คูม
่ อ
ื การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพด ้านโภชนาการในเด็กวัยเรียนสำหรับบุคลากรสาธารณสุข ตารางที่ หน ้าที่ 11
คำแนะนำในด้านโภชนาการของ เด็กชาย ชวกร อยูย
่ น
ื (น้องพินทุ)

อาหารของเด็กในวัยเรียน (6-12ปี ) จำเป็ นทีต ่ ้องรับประทานอาหารให ้ครบทัง้ 5 หมู่


รับประทานอาหารให ้ครบทัง้ 3 มือ ้ และตรงเวลา (ไม่ควรเว ้นมือ
้ ใดมือ
้ หนึง่ โดยเฉพาะอาหารมือ

้ เพือ
เชา) ่ พัฒนาการทีด
่ ท
ี งั ้ ร่างกาย สติปัญญาและจิตใจ

จากตารางวิเคราะห์และสรุปอาหารทีเ่ ด็กรับประทานอาหารภายใน 3 วัน พบว่า โดยเฉลีย ่


แล ้วเด็กชาย ชวกร อยูย่ น
ื ร ับประทานอาหารครบทงั้ 3 มือ ้ แต่ไม่ครบทงั้ 5 หมู่ โดยขาดหมู่
แป้ง ผ ัก ผลไม้ นมและผลิตภ ัณฑ์ และร ับประทานอาหารไม่ตรงเวลาอีกด้วย แนะนำให ้ผู ้
ปกครองเพิม ่ ปริมาณแป้ง 1 ท ัพพี ผ ัก 1.5 ท ัพพี ผลไม้ 1 สว ่ นและนมรสจืด 1 แก้วทุกมือ้
อาหาร และให ้ความรู ้แก่น ้องถึงประโยชน์และโทษของการไม่รับประทานอาหารให ้ครบ 5 หมู่ มิ
ฉะนัน้ ปริมาณสารอาหารทีน ่ ้องได ้รับในแต่ละวันจะไม่เพียงพอ และจะสง่ ผลกระทบต่อการเจริญ
เติบโตทัง้ ทางกาย สติปัญญา และจิตใจได ้ในอนาคต

ตารางสรุปจำนวนครงที
ั้ ร่ ับประทาน Fermentable Carbohydrate*
จำนวนครงที
ั้ ฟ
่ น

เวลา รูปแบบ ว ันที่ 1 ว ันที่ 2 ว ันที่ 3
ั ัสอาหารหวาน
สมผ


ในมือ อาหารเหลว
1 - - 1
อาหาร (x1)

อาหารแข็ง
3x2 = 6 3 - 9
เหนียว (x2)

ระหว่าง อาหารเหลว
2 3 2 7

มือ (x1)

อาหารแข็ง
- 4x2 = 8 5x2 = 10 18
เหนียว (x2)

จำนวนครงที ้ รวม 3 ว ัน
ั้ ร่ ับประทานอาหารหวานระหว่างมือ 35

จำนวนครงที ้ เฉลีย
ั้ ร่ ับประทานอาหารหวานระหว่างมือ ่ ต่อว ัน 11.67
*คาร์โบไฮเดรตทีย
่ อ
่ ยผ่านการหมักได ้หรือ Fermentable Carbohydrate หมายถึง
คาร์โบไฮเดรตโมเลกุลเล็ก คาร์โบไฮเดรตจำพวกนีจ ้ ล ุ น ่ งปากสามารถนำมาใชเป็
ิ ทรียใ์ นชอ ้ น
อาหารและผลิตกรดมาทำร ้ายเคลือบฟั นและเนือ ้ ฟั นได ้ สว่ นใหญ่จะมาในรูปแบบของน้ำตาลที่
ผ่านขบวนวิธก
ี ารทางอุตสาหกรรมมาแล ้วเชน ่ น้ำเชอ ื่ ม น้ำตาลทรายขาว ฯลฯ
ี่ งต่อการเกิดฟันผุ
ความเสย

ต่ำ รับประทานอาหารในมือ
้ อาหาร

ปานกลาง รับประทานอาหารระหว่างมือ
้ อาหาร 1-2 ครงต่
ั้ อว ัน

✔ สูง รับประทานอาหารระหว่างมือ
้ อาหาร 3 ครงต่ ้ ไป
ั้ อว ันขึน

จากตารางสรุปจำนวนครัง้ ทีร่ ับประทาน Fermentable Carbohydrate พบว่า ด.ช. ชวกร


อยูย
่ นื รับประทานอาหารหวานระหว่างมือ ้ อาหารเฉลีย ่ 11.67 ครัง้ ต่อวัน ทำให ้น ้องจัดเป็ นใน
กลุม่ ความเสย ี่ งสูงต่อการเกิดโรคในฟันผุ จากการบริโภคอาหารว่างจึงขอแนะนำให ้
1. งดทานอาหารว่างหรือเครือ ่ งดืม ่ ทีม่ น
ี ้ำตาลทัง้ ในมือ
้ และระหว่างมือ ้ อาหาร
2. ลดปริมาณการรับประทานอาหารว่างทัง้ ในมือ ้ และระหว่างมือ ้ อาหาร
3. ให ้ทดแทนอาหารว่างด ้วยซาลาเปาขนมจีบหรือแซนด์วช ิ เพือ่ เพิม
่ คุณค่าทางโภชนาการ
หรือจะเป็ นผลไม ้สดทีน
่ ้องชน ื่ ชอบ โดยเฉพาะผลไม ้ทีม ่ กี ากใยหรือไฟเบอร์สงู ซงึ่ จะชว่ ย
ในเรือ
่ งของระบบขับถ่ายอีกด ้วย
4. หากจะรับประทานอาหารว่างให ้ทานหลังมือ ้ อาหารหลักทันทีเพือ ่ ทีจ่ ะได ้ลดความถีข
่ อง
การบริโภคน้ำตาล ทัง้ นีก
้ เ็ พือ
่ เพิม ่ ระยะเวลา ให ้สภาพชอ ่ งปากฟื้ นคืนสูส ่ ภาวะสมดุล
5. สามารถทานอาหารว่างร่วมกับนมรสจืดได ้

ต ัวอย่างอาหารว่างทีท
่ ำให้เกิดฟันผุ ต ัวอย่างอาหารว่างทีไ่ ม่ทำให้เกิดฟันผุ

ของว่างทีม ่ น
ี ้ำตาล ไขมัน เกลือสูง และ ่
ของว่างทีเ่ ป็ นโปรติน หรือผลไม ้สด เชน
ของว่างทีเ่ หนียวติดฟั น เชน ่ ● ผลไม ้สดตามฤดูกาล เชน ่ แอปเปิ้ ล
● นมหรือขนมรสชอ ็ กโกแล็ต สม้ ฝรั่ง สป ั ปะรด
● ขนมขบเคีย ้ ว เชน่ ข ้าวเกรียบกุ ้ง ● นมรสจืด
● ของทอด เชน ่ แคปหมู ● ขนมแครกเกอร์และชส ี
● ขนมหวาน ลูกอม เยลลี่ ● ถัว่ ต ้ม ข ้าวโพดต ้ม
● ไอศกรีม
● น้ำอัดลม เครือ ่ งดืม่ รสหวาน

สรุปคำแนะนำการร ับประทานอาหารของด.ข.ชวกร อยูย


่ น

ควรทำ แนะนำให้ทำ

งดทานอาหารหรือเครือ ่ งดืม
่ ทีม
่ น
ี ้ำตาลทุก 1. ทดแทนอาหารว่างเหล่านัน ้ ด ้วย แซน
่ เยลลี่ น้ำอัดลม น้ำหวาน ไอศกรีม
ชนิด เชน ด์วช
ิ ขนมจีบ ซาลาเปาเพือ ่ เพิม ่ คุณค่า
โอริโอ ทางโภชนาการ หรือจะเป็ นผลไม ้
ธัญพืชทีน ื่ ชอบยิง่ ดี
่ ้องชน
2. สามารถทานอาหารว่างทีม ่ ป ี ระโยชน์
ร่วมกับนมรสจืดได ้

ลดการทานอาหารทอดและอาหารแปรรูป แนะนำให ้เปลีย


่ นจากการทานอาหารทอดเป็ น
่ พิซซา่ ชส
เชน ี ทอด อาหารต ้มแทน เชน ่ จากไก่ทอดเป็ นไก่ต ้ม

ลดปริมาณการรับประทานอาหารว่างระหว่าง ทานอาหารว่างหลังมือ
้ อาหารหลักทันที
มือ
้ เพือ ี่ งของโรคฟั นผุ
่ ลดความเสย
ควรจัดอาหารหลักให ้ครบ 5 หมู่ โดยเพิม่ 1. เพิม ่ ปริมาณของข ้าว 1 ทัพพี ทุกมือ ้
ปริมาณหมูแ่ ป้ ง ผัก ผลไม ้ และนมและ 2. ใสผ ่ ักทีน ่ ้องชนื่ ชอบในแกงจืด หรือจะ
ผลิตภัณฑ์ หัน
่ ผักเป็ นลูกเต๋าเล็กๆซอ ่ นไว ้ในเม
นูทน ี่ ้องทานได ้ตามปกติเชน ่ ไข่เจียว
เป็ นต ้น
3. สามารถทดแทนอาหารว่างด ้วยผลไม ้
ทีเ่ ป็ นผล ไม่แนะนำให ้ดืม ่ น้ำผลไม ้
จากการปั่ น นอกจากผลไม ้จะสูญเสย ี
กากใยแล ้วสว่ นใหญ่มก ั จะเพิม ่ น้ำตาล
เข ้าไปอีกด ้วย ดังนัน ิ้
้ หากตงการดื ม
่ น้ำ
ผลไม ้ ให ้คัน ้ สดๆเอง

แหล่งอ้างอิง
Department of Health : Ministry of Public Health. (n.d.). สำนักโภชนาการ. สำนัก
โภชนาการ | กราฟแสดงเกณฑ์อ ้างอิงการเจริญเติบโตเด็ก. Retrieved January 29, 2023,
from https://nutrition2.anamai.moph.go.th/th/kidgraph

The Government Public Relations Department. (2022, March 31). อันตราย


จากฟลูออไรด์ เกิดขึน ้ ได ้น ้อยมาก แนะใชยาส้ ฟี ั นผสมฟลูออไรด์ตามชว่ งวัยทีเ่ หมาะสม ไม่ม ี
อันตราย ป้ องกันฟั นผุ. กรมประชาสม ั พันธ์. Retrieved January 29, 2023, from
https://www.prd.go.th/th/content/category/detail/id/33/iid/85848

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ( อย. ). (2023, January 4). น้ำตาลกับภาวะฟั นผุ.


Oryor. Retrieved January 29, 2023, from
https://oryor.com/media/kids/media_printing/2085

สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2556, March). คูม ่ อ


ื การดำเนินงาน
สง่ เสริมสุขภาพด ้านโภชนาการในเด็กวัยเรียนสำหรับบุคลากรสาธารณสุข. Nutrition Anamai
Moph . Retrieved January 29, 2023, from
http://203.157.71.139/group_sr/allfile/1611217268.pdf

สุธโี รจน์ตระกูล อรภา. (n.d.). อาหารกับโรคฟั นผุ (Diet and Dental Caries). ภาควิชากุมาร
เวชศาสตร์. Retrieved January 29, 2023, from
https://ped.md.chula.ac.th/wp-content/uploads/2021/09/39_CUPA2021-ebook.pdf

อาชานานุภาพ สุรเกียรติ. (2022, February 10). ปวดฟั น ฟั นผุ (dental caries/tooth decay)
ข ้อมูลโรค พร ้อมโปรแกรมตรวจอาการเบือ
้ งต ้น. หน ้าแรก. Retrieved January 29, 2023,
from https://doctorathome.com/disease-conditions/208

You might also like