You are on page 1of 26

ฐานที่ 3

การส้ารวจและก้าจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย
การส้ารวจและก้าจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย
วัตถุประสงค์
• เพื่อตรวจสอบแหล่งที่อยู่ของลูกน้า
• เพื่อพิจารณาว่าความชุกชุมของลูกน้าเปลี่ยนแปลงไปหรือไม่หลังจากด้าเนินการควบคุมแล้ว
• เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการวางแผนเกี่ยวกับวิธีด้าเนินการ การเลือกใช้สารเคมีที่เหมาะสม
• เพื่อลดปริมาณยุงให้น้อยที่สุด ป้องกันการเกิดโรคและการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
อุปกรณ์ที่ใช้
• ไฟฉาย
• แบบส้ารวจลูกน้ายุงลาย
ค้าจ้ากัดความที่เกี่ยวข้องกับการส้ารวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย
ศัพท์ ความหมาย หมายเหตุ
ภาชนะส้ารวจ ภาชนะที่มนุษย์สร้างขึนหรือภาชนะธรรมชาติที่บรรจุน้าไว้ กรณี หากภาชนะส้ารวจมีชันน้าหรือตัวน้าที่เป็นกลุ่มก้อนหรืออยู่
ทังน้าที่มีลักษณะน้าสะอาดหรือไม่สะอาด รวมตัวกัน ให้นับเป็น 1 ภาชนะส้ารวจ เช่น น้าพุที่มีหลายชัน
ทังนี ภาชนะส้ารวจที่มีปลา, ทรายทีมีฟอส ให้นับรวมด้วย ลานเปลือกหอย ถาดท้าน้าแข็ง เป็นต้น
ภาชนะที่พบลูกน้ายุงลาย ภาชนะส้ารวจที่พบลูกน้ายุงลายระยะใดก็ตาม รวมทังตัว นับเฉพาะภาชนะที่พบลูกน้ายุงลาย ไม่รวมลูกน้ายุงชนิดอื่น
โม่ง เพียง 1 ตัว
ภาชนะในอาคาร ภาชนะที่มนุษย์สร้างขึน หรือภาชนะธรรมชาติใดก็ตามที่อยู่
ใต้หลังคาบ้าน/ชายคาบ้าน
ภาชนะนอกอาคาร ภาชนะที่มนุษย์สร้างขึน หรือภาชนะธรรมชาติใดก็ตามที่
ไม่ได้อยู่ใต้หลังคาบ้าน/ชายคาบ้าน
กาบใบพืช ใบพืชหรือวัสดุธรรมชาติที่มีสามารถกักเก็บ และขังน้าได้ หากเป็น ต้น/ก้อนเดียวกัน ให้นับเป็นภาชนะส้ารวจ 1 ภาชนะ
ประเด็นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. หากบ้านปิด แต่สามารถเข้าไปส้ารวจบ้าน/อาคารนันได้ ให้นับเป็นบ้าน/อาคารที่ส้ารวจ
2. หากบ้านปิด ไม่สามารถเข้าไปส้ารวจทังในบ้าน/อาคาร และบริเวณบ้าน/อาคารได้ ไม่ต้องนับเป็นบ้านที่ถูกส้ารวจ และหากบ้าน/อาคารนัน ๆ มีภาชนะน้าอยู่นอกรัวบ้าน
ไม่ต้องนับเป็นภาชนะส้ารวจ แต่ให้เจ้าหน้าที่ด้าเนินการกับภาชนะนันๆ ทันที หากพบลูกน้ายุงลายหรือป้องกันตามสมควร
3. กรณีเข้าส้ารวจในบ้าน/อาคารได้ แต่ในบ้าน/อาคารนันไม่มีภาชนะขังน้าใดๆ ให้นับบ้าน/อาคารนันเป็นบ้าน/อาคารที่ถูกส้ารวจ
ค่าดัชนีลูกน้ายุงลาย

House Index (HI) คือ ร้อยละของบ้านที่ส้ารวจพบลูกน้ายุงลาย


HI = จ้านวนบ้านที่พบลูกน้ายุงลายแม้เพียงภาชนะเดียว x 100
จ้านวนบ้านที่ท้าการส้ารวจทังหมด

Container Index (CI) คือ ร้อยละของภาชนะขังน้าที่พบลูกน้ายุงลาย


CI = จ้านวนภาชนะที่พบลูกน้ายุงลาย x 100
จ้านวนภาชนะที่ท้าการส้ารวจทังหมด
ค่าดัชนีลูกน้ายุงลาย
โดยกระทรวงสาธารณสุข กาหนดภาวะความเสี่ยงต่อการเกิดการแพร่โรคไข้เลือดออก ดังนี้

ภาวะความเสี่ยงต่อการเกิดการแพร่โรค
ค่า HI ค่า CI
ไข้เลือดออก

ปลอดภัย 0 0

เสี่ยงต่้า < 10 <5

เสี่ยงสูง 10 - 50 5-9

เสี่ยงสูงมาก > 50 > 10


การนับจ้านวนภาชนะในการส้ารวจค่าดัชนีลูกน้ายุงลาย
แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย
ยุงลายชอบวางไข่ในภาชนะเก็บน้าที่เป็นน้านิ่งและน้าใส
✓ น้าจืดและสะอาดยุงลายชอบ
✓ น้าสกปรกก็วางไข่ได้
(น้าสกปรก หมายถึง น้าทีไ่ ม่สะอาด ดื่มกินไม่ได้)
แม้ว่าด้านล่างจะมีตะไคร่น้าเกาะอยู่ แต่ด้านบน น้านิ่งและใส
จึงมีลูกน้าและตัวโม่งของยุงลายอยู่จ้านวนมาก
แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย
แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย
แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย

ลูกน้า
แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย

ลูกน้า
แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย
มีไข่ยุงลายติดอยู่

ไม่ปิดฝาที่ถังน้า

ลูกน้า
แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย
มีลูกน้า
หลังคารั่ว

รองรับ
น้าฝน
การก้าจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย

1. วิธีทางกายภาพ
• ใช้ขันตัก
• ใช้กระชอนหรือตะกร้าผลไม้บุด้วยตาข่าย
• ใช้ตาข่ายหรือฝาปิดภาชนะเก็บน้า
• ขัดล้างและเปลี่ยนน้าทุก 7 วัน
• ระวังอย่าเทภาชนะที่พบลูกน้า ลงสู่แหล่งน้า
การก้าจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย

2. วิธีทางชีวภาพ
• ปลาหางนกยูง
• ปลากัด
• ปลาสอด
• ลูกน้ายุงยักษ์
การก้าจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลาย

3. วิธีทางเคมี
• สารเคมีก้าจัดลูกน้ายุงลาย
- ทีมีฟอสชนิดเคลือบทราย
- ทีมีฟอสชนิดเม็ด
• จุลินทรีย์
• สารยับยังการเจริญเติบโต
อัตราการใช้ทรายก้าจัดลูกน้า

สารเคมีก้าจัดลูกน้ายุงลาย
(ทรายเคลือบสารทีมีฟอส
1%)
ผลิตภัณฑ์ก้าจัดลูกน้ามีความเป็นพิษต่อคนน้อย

ต้องบริโภคทรายก้าจัดลูกน้าชนิด 1%
ต้องบริโภคทรายก้าจัดลูกน้าชนิด 1% จ้านวน 10.3 กิโลกรัม จึงจะเสียชีวิต
จ้านวน 3.4 กิโลกรัม จึงจะเสียชีวิต เนื่องจากพิษของสารเคมี
เนื่องจากพิษของสารเคมี
น้าหนักตัว 4 กิโลกรัม
น้าหนักตัว 12 กิโลกรัม

ต้องบริโภคทรายก้าจัดลูกน้าชนิด 1% ต้องบริโภคทรายก้าจัดลูกน้าชนิด 1%
จ้านวน 21.5 กิโลกรัม จึงจะเสียชีวิต จ้านวน 43 กิโลกรัม จึงจะเสียชีวิต
เนื่องจากพิษของสารเคมี เนื่องจากพิษของสารเคมี

น้าหนักตัว 25 กิโลกรัม
น้าหนักตัว 50 กิโลกรัม
ค้าแนะน้าประชาชน กรณีป่วยเป็นโรคติดต่อน้าโดยยุงลาย

1. แนะน้าผู้ป่วยและผู้อาศัยร่วมบ้าน ทาโลชั่นกันยุง

2. ส้ารวจและก้าจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ายุงลายภายในและภายนอกบ้าน

3. ใช้สเปรย์กระป๋องฉีดพ่นก้าจัดยุงตัวเต็มวัยภายในบ้าน และปิดอบไว้ 30 นาที

4. เฝ้าระวังอาการป่วย หากมีไข้สูงเกิน 2 วัน ควรไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาล แนะน้าให้ทานยาพาราเซตามอล เพื่อลดไข้ และ


ให้หลีกเลี่ยงยาประเภท NSAIDs เช่น ไอบรูโพรเฟน แอสไพริน ไดโครฟีแนค เป็นต้น
Thank You
ด้วยความห่วงใย จากสานักอนามัย กรุงเทพมหานคร

You might also like