You are on page 1of 10

เรื่อง การเพาะเห็ด

นางสาวจิรภิญญา สิงห์ จันทร์ เลขที่ 4


นางสาวแพรวา แพงเพ็ง เลขที่ 17
นาย วชิรวิทย์ เทพนอก เลขที่ 20

ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/3

การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เสนอเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิชา
IS
โรงเรี ยนพุทไธสง อําเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์
สํานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
สารบัญ
เรื่ อง หน้ า
บทคัดย่ อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทที่ 1 บทนำ
- ความเป็ นของการเพาะเห็ด 1
ในประเทศไทย
บทที่ 2 ขัน้ ตอนการเพาะเห็ด
- ขัน้ ตอนการเพาะเห็ด 2-4
- แหล่ งผลิตเห็ดฟางที่สำคัญของไทย 5
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการ 6
-ขอบเขตการวิจัย
-กำหนดรูปแบบการประเมินงานวิจัย
-ขัน้ ตอนการดำเนินงาน
-วิธีการเก็บข้ อมูล
-วิเคราะห์ ข้อมูล
ชื่อเรื่ อง การเพาะเห็ด
ผู้ศึกษาค้ นคว้ า นางสาวจิรภิญญา สิงห์ จันทร์ ชัน้ ม. 5/3 เลขที่ 4
นางสาวแพรวา แพงเพ็ง ชัน้ ม. 5/3 เลขที่17
นายวชิรวิทย์ เทพนอก ชัน้ ม. 5/3 เลขที่20
ครู ท่ปี รึกษาโครงงาน ครู สีอำพร สอนไธสง
ปี การศึกษา 2564

บทคัดย่ อ
ไม่ ว่าจะเป็ นยุคใดสมัยใด ผู้คนมักให้ ความสำคัญกับการรั กษา
สุขภาพของตนเองเป็ นอันดับต้ นๆ จึงทำให้ มีการหันมาพึ่งพา
ธรรมชาติมากขึน้ หันมาปลูกผักสวนครั วแทนการปลูกไม้ ดอก เพราะ
รู้ สึกมั่นใจว่ าร่ างกายจะไม่ รับสารเคมี นอกจากผักสวนครั วที่สามารถ
ปลูกได้ ในครั วเรื อนแล้ ว ยังสามารถเพาะเห็ดไว้ รับประทานได้ อีกด้ วย

ไม่ ใช่ ส่ งิ ที่น่าเหลือเชื่อ เพราะผู้คนส่ วนใหญ่ มักจะคิดว่ าการเพาะเห็ดจะ


ต้ องทำโรงเรื อนใหญ่ โต แต่ ขณะนีเ้ ราไม่ จำเป็ นต้ องใช้ พนื ้ ที่มากในการ
เพาะเห็ด เพียงแค่ มีตะกร้ า 1 ใบ ก็สามารถเพาะเห็ดนำมารั บประทาน
ในครั วเรื อนได้ แล้ ว
กิตติกรรมประกาศ
การศึกษาค้ นคว้ าบทเรี ยนสําเร็จรูปเล่ มนีส้ าํ เร็จได้ ดวี ยความกรุ ณาจาก
อาจารย์ ทุกท่ านที่ให้ คาํ แนะนํา ปรึกษา ให้ ความรู้ เรื่ องการทําวิจัย แก้ ไขข้ อ
บกพร่ องต่ าง ๆ จนการศึกษาค้ นคว้ าบทเรียนสําเร็จรูปนีส้ าํ เร็จ สมบูรณ์
ผู้วจิ ัยขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ ทุกท่ านที่ได้ ให้ ความช่ วยเหลือ ให้
ความรู้ ความคิดให้ คาํ แนะนํา คําปรึกษาตลอดจนการตรวจแก้ ไขข้ อบกพร่ องต่ าง
ๆ เป็ นอย่ างดี จนการศึกษาวิจยั ในครั ง้ นีเ้ สร็จสมบูรณ์ ผู้วจิ ัยขอขอบพระคุณเป็ น
อย่ างสูงไว้ ณ ที่นี ้

ขอขอบพระคุณ คุณครู สีอำพร สอนไธสง ที่กรุ ณาให้ ความอนุเคราะ


ให้ คาํ แนะนํา ให้ ความรู้ ความคิดที่มีประโยชน์ และอํานวยความสะดวกในการ
ศึกษาวิจัยในครั ง้ นีเ้ ป็ นอย่ างดี
คณะ
ผู้จัดทำ
บทที่ 1
บทนำ

ความเป็ นมาของการเพาะเห็ดฟางในประเทศไทย
การเพาะเห็ดในประเทศไทยเริ่มต้ นจากการค้ นคว้ าทดลองของ
อาจารย์ ก่าน ชลวิจารณ์ เมื่อปี พ.ศ. 2480 ซึ่งท่ านผู้นีส้ ำเร็จการ
ศึกษามาจากมหาวิทยาลัยเกษตรแห่ งฟิ ลิปปิ นส์ แนวความคิดในการ
เพาะเห็ดของท่ านเกิดขึน้ ครั ง้ แรกเมื่อได้ ไปศึกษาดูงานที่ Bureau
of Plant Industry ที่กรุ งมะนิลา เพราะระหว่ างการดูงานนัน้ ได้
พบกับ ดร. คลาร่ า (Dr. F.M. Clara) ซึ่งเป็ นนักโรคพืชวิทยา
กำลังทดลองเพาะเห็ดฟาง โดยการใช้ เศษและก้ านใบยาสูบ เศษต้ น
ป่ านมนิลา ต้ นกล้ วย กาบกล้ วย รวมทัง้ กระสอบป่ านเก่ า ๆ จากการที่
ได้ พบเห็นการทดลองดังกล่ าวประกอบกับได้ มีโอกาสไปดูงานที่
ประเทศญี่ปุ่นพบว่ าการเพาะเห็ดเป็ นอุตสาหกรรมที่ประเทศญี่ปุ่น
สามารถท่ ารายได้ ให้ ประเทศปี ละหลายร้ อยล้ านบาท จาก
ประสบการณ์ ดังกล่ าวเมื่ออาจารย์ ก่าน ชลวิจารณ์ กลับมาประเทศไทย
จึงได้ บุกเบิก ริเริ่มการทดลองการเพาะเห็ดตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2480
เป็ นต้ นมา ซึ่งขณะนัน้ เห็ดที่คนไทยนิยมบริโภคกันมากคือ เห็ดฟาง
หรื อเห็ดบัว เห็ดโคน เห็ดหูหนู และเห็ดหิ่งห้ อย จึงได้ ศึกษาทดลองวิธี
การเพาะเห็ดดังกล่ าว ในสมัยนัน้ มีคนจีนบริเวณตำบลซังอี ้
กรุ งเทพมหานครได้ เพาะเห็ดบัว โดยอาศัยกองขยะมูลฝอย คือนำฟาง
ข้ าวมาปูทบั กองขยะแล้ ววางลังไม้ ฉำฉาซึ่งไม่ มีก้นลงบนกองฟาง บาง
ครั ง้ เห็ดก็ขนึ ้ แต่ ท่ ใี ดที่เห็ดเคยขึน้ แล้ วเห็ดจะไม่ ขนึ ้ อีก นับว่ าเป็ นการ
เห็ดโดยอาศัยธรรมชาติ แสดงให้ เห็นว่ า เปลือกบัว ฟางข้ าว และกอง
ขยะซึ่งให้ ความร้ อนเป็ นสิ่งที่เห็ดบัวชอบ และอาจารย์ ก่าน ชลวิจารณ์
ก็ได้ อาศัยข้ อสังเกตดังกล่ าวมาใช้ ในการค้ นคว้ าวิธีเพาะเห็ด ท่ านได้ ด่า
เนินการทดลองเพาะเห็ด
บทที่ 2
ขัน้ ตอนการเพาะเห็ด
ขัน้ ตอนทัง้ หมดมี 3 ขัน้ ตอน คือ
1. การทดลองเลีย้ งเชือ้ เห็ดบริสุทธิ์ (Pure Culture) จากเมล็ดหรื อจาก
เยื่อของดอกเห็ดในอาหารวุ้นชนิดต่ าง ๆ และศึกษาว่ าเชือ้ เห็ดต้ องการอาหาร
ชนิดใด ระดับ pH ของอาหารและอุณหภูมิท่ เี หมาะสมควรจะเป็ นเท่ าไร เห็ดจึง
จะเจริญเติบโตได้ ดีท่ สี ุด
2. การทดลองทำเชือ้ เห็ด (Spawn) เพื่อให้ ได้ เห็ดปริมาณมากขึน้ ส่ าหรับ
ใช้ ในการเพาะโดยใช้ วัสดุชนิดต่ าง ๆ ที่เห็นว่ าเหมาะสมส่ าหรั บเป็ นอาหารของ
เชือ้ เห็ด เช่ น เปลือกบัว ฟางข้ าว เมล็ดฝ้าย ใบก้ ามปู หญ้ าแห้ ง ผักตบชวาแห้ ง
มูลม้ าสด และวัสดุอ่ นื ๆ เท่ าที่จะหาได้ และมีราคาถูก จากการทดลองนีพ้ บว่ า เชือ้
เห็ดเจริญเติบโตได้ ดีท่ สี ุดในมูลม้ าสดผสมเปลือกบัวหรือฟางข้ าวสับและหมักไว้
จนได้ ท่ ี

3. การทดลองวิธีการเพาะ โดยทำการเพาะเห็ดสองแบบ คือ การเพาะเห็ดใน


ลังไม้ และการเพาะเห็ดโดยท่ าแปลงบนพืน้ ที่ดนิ ในร่ วมและกลางแจ้ งโดยใช้ ฟาง
ข้ าว ซึ่งวิธีการเพาะเห็ดแบบสร้ างแปลงเห็ดด้ วยฟางข้ าวเป็ นวิธีท่ ไี ด้ ผลดีท่ สี ุด เมื่อ
การทดลองทำเชือ้ เห็ดและการเพาะเห็ดฟางได้ ผลแน่ นอนเป็ นที่พอใจแล้ ว จึงได้
นำเอาออกส่ งเสริมและเผยแพร่ ให้ แก่ เกษตรกรและประชาชนทั่วไปท่ าเชือ้ เห็ด
หรื อเพาะเห็ดเป็ นอุตสาหกรรมภายในครอบครั ว จากความสำเร็จครั ง้ นีน้ อกจาก
จะได้ รับความสนใจจากประชาชนทั่วไปแล้ ว ชาวต่ างประเทศจำนวนมากได้ ตดิ ต่ อ
ขอค่ าแนะน่ าและขอซือ้ เชือ้ เห็ดจากประเทศไทย จนต้ องจัดพิมพ์ เอกสารเผยแพร่
เป็ นภาษาอังกฤษขึน้ เมื่อปี พ.ศ. 2493 ชื่อว่ า “Culture of Mushroom
in Thailand”
3. การทดลองวิธีการเพาะ โดยทำการเพาะเห็ดสองแบบ คือ การเพาะเห็ดใน
ลังไม้ และการเพาะเห็ดโดยท่ าแปลงบนพืน้ ที่ดนิ ในร่ วมและกลางแจ้ งโดยใช้ ฟาง
ข้ าว ซึ่งวิธีการเพาะเห็ดแบบสร้ างแปลงเห็ดด้ วยฟางข้ าวเป็ นวิธีท่ ไี ด้ ผลดีท่ สี ุด เมื่อ
การทดลองทำเชือ้ เห็ดและการเพาะเห็ดฟางได้ ผลแน่ นอนเป็ นที่พอใจแล้ ว จึงได้
นำเอาออกส่ งเสริมและเผยแพร่ ให้ แก่ เกษตรกรและประชาชนทั่วไปท่ าเชือ้ เห็ด
หรื อเพาะเห็ดเป็ นอุตสาหกรรมภายในครอบครั ว จากความสำเร็จครั ง้ นีน้ อกจาก
จะได้ รับความสนใจจากประชาชนทั่วไปแล้ ว ชาวต่ างประเทศจำนวนมากได้ ตดิ ต่ อ
ขอค่ าแนะน่ าและขอซือ้ เชือ้ เห็ดจากประเทศไทย จนต้ องจัดพิมพ์ เอกสารเผยแพร่
เป็ นภาษาอังกฤษขึน้ เมื่อปี พ.ศ. 2493 ชื่อว่ า “Culture of Mushroom
in Thailand”ตัง้ แต่ นัน้ เป็ นต้ นมาเห็ดฟางหรื อเห็ดบัวกลายเป็ นเห็ดที่นิยม
เพาะกันมากในหมู่เกษตรกรและในขณะเดียวกันความต้ องการทางด้ านการตลาด
ก็นับวันจะเพิ่มมากขึน้ ดังนัน้ อาจารย์ ก่าน ชลวิจารณ์ จึงได้ รับการยอมรับว่ าเป็ น
บุคคลแรกที่ท่าการบุกเบิกและพัฒนาการเพาะเห็ดฟางจนประสบผลสำเร็จในปี
พ.ศ. 2505 แผนกโรคพืช

กรมวิชาการเกษตร ได้ ทดลองเพาะเห็ดนางรม โดย อาจารย์ พันธุ์ทวี ภักดีแดนดิน


โดยความร่ วมมือช่ วยเหลือของ ดร. บล็อก (Dr. S.S. Block) ปรากฏว่ า
ประสบผลสำเร็จและได้ มีการพยายามปรับปรุ งพันธุ์เห็ดนางรมในระยะเวลาต่ อมา
จนประเทศไทยสามารถเพาะเห็ดนางรมได้ ตลอดทัง้ ปี หลังจากนัน้ ก็ได้ ท่าการ
อบรมเผยแพร่ แก่ เกษตรกร จนกระทั่งปี พ.ศ. 2515 จึงได้ จัดตัง้ ชมรมเห็ดขึน้ ใน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ท่าให้ การเพาะเห็ดใน
ประเทศไทยตื่นตัวมากขึน้ ปี พ.ศ. 2507 มีผ้ ูน่าเอาเห็ดหูหนูจากไต้ หวันมาทดล
องเพาะที่จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็ นผลสำเร็จ กรมวิชาการเกษตรโดย ดร. วนิดา แจ้ ง
ศรี ได้ ท่าการศึกษาและทดลองจนสามารถเพาะและให้ ผลผลิตเต็มที่ จึงได้ มีการ
เผยแพร่ วธิ ีการเพาะเห็ดหูหนูแก่ เกษตรกร ปี พ.ศ. 2514 บริษัทฟาร์ มเอกชนที่
จังหวัดล่ าปางได้ ทดลองเพาะเห็ดแชมปิ ญองหรื อเห็ดฝรั่ งจนเป็ นผลสำเร็จ หลัง
จากนัน้ อีกประมาณ 2 ปี ต่ อมาอาจารย์ นุชนารถ จงเลขา ได้ ท่าการวิจัยและเผย
แพร่ ผลการวิจัยไปสู่ เกษตรกรจนเป็ นที่แพร่ หลายกันในเวลาต่ อมา ปี พ.ศ.
2515 บริษัทสากลได้ น่าเห็ดเป๋าฮือ้ มาทดลองเพาะเพื่อแปรรูปเป็ นเห็ดกระป๋อง
แต่ ไม่ ได้ เผยแพร่ เทคนิคการเพาะ แต่ ในที่สุดชมรมเห็ด มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ ได้ ศึกษาทดลองเพาะเห็ดเป๋าฮือ้ จนเป็ นผลสำเร็จ และส่ งเสริมให้
เกษตรกรท่ าการเพาะเลีย้ ง จากอดีตที่ผ่านมาพบว่ า ประเทศไทยได้ พยายาม
ปรับปรุ งและพัฒนาการเพาะเห็ดมานาน ถึง 52 ปี ซึ่งถ้ าเปรี ยบเทียบความ
ก้ าวหน้ าทางการเพาะเห็ดระหว่ างประเทศต่ าง ๆ ในเอเชียด้ วยกันแล้ ว
ประเทศไทยจะเป็ นรองเฉพาะประเทศญี่ปุ่นเท่ านัน้ เนื่องจากเทคโนโลยีท่ ี
เกษตรกรใช้ อยู่

นัน้ เป็ นเทคโนโลยีขัน้ พืน้ ฐานที่เรี ยนรู้ และยอมรับได้ ง่ายเหมาะแก่ การถ่ ายทอด
และน่ าไปใช้ ซึ่งมักจะมีข้อจ่ ากัดที่ผลผลิตจะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพดินฟ้า
อากาศทัง้ ทางด้ านปริมาณและคุณภาพ จึงท่ าให้ เกิดปั ญหาทางการตลาด เพราะ
แม้ ว่าตลาดเห็ดของไทยจะกว้ างขวางมากเพียงใดก็ตาม แต่ ในขณะเดียวกันตลาด
ทุกประเภทต้ องการเห็ดที่มีคุณภาพสูงมากด้ วยเช่ นกัน

แหล่ งผลิตเห็ดที่สำคัญของไทย
จากการรวบรวมสถิตเิ กี่ยวกับผลผลิตของเห็ดทุกชนิดในประเทศไทยจาก
แหล่ งต่ าง ๆ ทั่วประเทศพบว่ าเห็ดที่ผลิตส่ วนใหญ่ เป็ นการผลิตเห็ดฟางมากที่สุด
รองลงมาได้ แก่ เห็ดนางรม เห็ดเป๋าฮือ้ เห็ดนางฟ้า เห็ดหูหนู ซึ่งสามารถจำแนก
แหล่ งผลิตเห็ดที่สำคัญออกได้ ดังนี ้ คือ

1. เห็ดฟาง เห็ดฟางมีแหล่ งผลิตอยู่ท่ วั ประเทศ แต่ แหล่ งผลิตที่สำคัญที่


สามารถผลิตเห็ดฟางได้ จำนวนมากที่สุดก็คือ บริเวณพืน้ ที่ชานเมืองและจังหวัด
รอบนอกของกรุ งเทพมหานคร เช่ น เขตหนองแขม เขตตลิ่งชัน อำเภอ
กระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม อำเภอ
ลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี อำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรี อยุธยา และจังหวัด
ฉะเชิงเทรา ซึ่งทุกแหล่ งดังกล่ าวจัดได้ ว่าเป็ นตลาดผู้ผลิตเห็ดฟางที่ใหญ่ ท่ สี ุดของ
ไทยโดยมีกรุ งเทพมหานครเป็ นตลาดกลาง และเป็ นเมืองท่ าส่ งเห็ดฟางไปจ่ า
หน่ ายยังต่ างประเทศ
2. เห็ดนางรม เห็ดนางฟ้า และเห็ดนางนวล แหล่ งเพาะที่สำคัญส่ วนใหญ่ อยู่
ในบริเวณเดียวกับการเพาะเห็ดฟาง
3. เห็ดเป๋าฮือ้ แหล่ งผลิตเห็ดเป๋าฮือ้ ที่สำคัญ คือ จังหวัดทางภาคเหนือ ได้ แก่
จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ล่ าปาง และจังหวัดรอบนอกกรุ งเทพมหานคร เช่ น
อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร เป็ นต้ น
4. เห็ดแชมปิ ญอง หรื ออาจเรียกได้ อกี 2 ชื่อว่ า เห็ดฝรั่ งหรื อเห็ดกระดุม มี
แหล่ งผลิตที่สำคัญ คือ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดล่ าปาง และกรุ งเทพมหานคร
5. เห็ดหูหนู แหล่ งผลิตกระจายอยู่ท่ วั ทุกภาคของประเทศไทย แต่ ส่วนใหญ่
ผลิตเป็ นรายย่ อยเท่ านัน้
6. เห็ดหอม เป็ นเห็ดที่มีราคาแพงและชอบอากาศหนาวเย็น แหล่ งเพาะเห็ด
หอมที่สำคัญ คือ จังหวัดทางภาคเหนือ โดยเฉพาะอย่ างยิ่งจังหวัดเชียงใหม่ และ
จังหวัดล่ าปาง แต่ ในปั จจุบนั มีผ้ นู ่ าเอามาปลูกในภาคกลางได้ สำเร็จโดยกำหนด
ระยะเวลาปลูกให้ เห็ดหอมออกดอกในช่ วงฤดูหนาว และได้ ดัดแปลงวัสดุท่ ใี ช้ ปลูก
บนไม้ ก่อ มาปลูกในถุงขีเ้ ลื่อยไม้ ยางซึ่งปรากฏว่ าได้ ผลผลิตดีใกล้ เคียงกับเห็ด
หอมที่ปลูกในภาคเหนือ

บทที่ 3
วิธีการดำเนินการ
ผู้วจิ ัยได้ จัดทำการวิจยั เรื่อง การเพาะเห็ด โดยสอบถามข้ อมูลความรู้ จาก
กลุ่มคนที่ทำการเพาะเห็ด หรื อทำอาชีพนีอ้ ยู่

ขอบเขตของการวิจัย
กลุ่มตัวอย่ างชาวบ้ านที่ทำอาชีพเพาะเห็ดในหมู่บ้าน จำนวนทัง้ หมด 5
คน
กำหนดรู ปแบบการประเมินงานวิจัย
ตอนที่ 1 ข้ อมูลทั่วไป
ตอนที่ 2 ระดับความรู้ ของชาวบ้ านว่ ามีความรู้ เรื่ องการเพาะเห็ดมาก
เท่ าไร

You might also like