You are on page 1of 30

บทที่ 13

กรณีศกึ ษาธุรกิจการทาฟาร์ ม

ธุรกิจการทาฟาร์ ม ปั จจุบนั มีผ้ ทู ี่มีความรู้ความสามารถที่ให้ ความสนใจกับธุรกิจการทา


ฟาร์ มมากขึ ้น ซึง่ มีทงผู
ั ้ ้ ที่เคยมีประสบการณ์ในศาสตร์ ในสาขาการเกษตร และมีทงผู ั ้ ้ ที่ไม่เคยทา
การเกษตรแต่ผนั วิถีชีวิตตนเองมาเป็ นเกษตรกร บุคคลที่ผนั ตัวเองมาเป็ นเกษตรกรยุคใหม่ มี
ความรู้ทางด้ านการจัดการและรู้จกั นาเทคโนโลยีใหม่ๆมาใช้ บุคคลเหล่าแม้ จะประกอบอาชีพ
ทางการเกษตรต่างกิจการต่างชนิดกัน แต่พวกเขาเหล่านี ้ก็มีนี ้มีลกั ษณะบางอย่างที่เหมือนกันที่
จะนาธุรกิจของตนไปสู่ความสาเร็จ ทาให้ ธุรกิจอยูร่ อดและโดดเด่นมีชื่อเสียงได้ คือความมุง่ มัน่
และตังใจจริ
้ ง ทุม่ เทกับธุรกิจ และรู้จกั การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีตา่ งๆมาปรับใช้ ให้ เข้ ากับธุรกิจ
ของตนเอง อีกทังเข้ ้ าใจตลาดหรื อความต้ องการของผู้บริโภค และนาเสนอสินค้ าและบริการที่
ผู้บริโภคต้ องการ ในบทต่อไปนี ้เราจะได้ ศกึ ษากรณีเกษตรกรตัวอย่าง ที่ถือได้ วา่ ประสบ
ความสาเร็จกับการประกอบอาชีพธุรกิจฟาร์ ม ดังจะกล่าวต่อไปนี ้

สวนส้ มธนาธร

บัณฑูร จิระวัฒนานุกูล หรื อ คุณเป็ งฮวด แห่ งสวนส้ ม “ธนาธร” ผู้เปิ ดตานาน
ส้ มสายน ้าผึ ้ง จังหวัดเชียงใหม่ อายุ 60 ปี จบการศึกษาชันประถมศึ
้ กษาปี ที่ 3 เดิมเป็ นพ่อค้ า
ส้ มและปลาทูมาก่อน เริ่ มปลูกส้ มเป็ นอาชีพในปี 2519 โดยที่ไม่มีประสบการณ์ในการทาสวน
ส้ มมาก่อน เริ่ มจากการเช่าที่ดิน 40 ไร่ในบริ เวณอาเภอฝาง ปั จจุบนั มีพื ้นที่สวน 2,600 ไร่
ผลผลิตส้ มที่เคยได้ สงู สุด 500,000-700,000 กิโลกรัม เฉลี่ยไร่ละ 7-8 ตัน และเป็ นผู้ริเริ่ ม
พัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ที่หีบห่อส้ มในรูปแบบใหม่ คือ บรรจุกล่องสวยงามพร้ อมติดยี่ห้อ "ธนาธร"
412

คุณบัณฑูร จิระวัฒนานุกูล

รู ปภาพที่ 41 แสดงภาพเจ้ าของสวนส้ มธนาธร

ที่มา: (โฆษิต เปี่ ยมรัษฎ์, 2548, หน้ า 37)

บัณฑูร จิระวัฒนานุกลู หรื อ “คุณเป็ งฮวด” เกษตรกรผู้ประสบความสาเร็ จในเรื่ องของ


“ส้ ม” ผู้ทาให้ ส้มสายน ้าผึ ้งจากสวนธนาธรเป็ นที่ร้ ูจกั กันแพร่หลายทังในประเทศและก
้ าลังก้ าวเลย
ไปสูต่ ลาดต่างประเทศ และยังเป็ นผู้ที่ทาให้ อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ กลายเป็ นแหล่งปลูกส้ ม
สายนา้ ผึ ้งที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ โดยรายได้ จากสวนส้ มในแต่ละปี จะมีมูลค่าไม่ต่ากว่า 100
ล้ านบาท เจ้ าของสวนส้ มธนาธรผู้นี ้มีการพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตส้ มอย่างครบวงจร ตังแต่ ้
การพัฒนาสายพันธุ์ส้มซึ่งเริ่ มจากการแสวงหาสายพันธุ์ที่ดี และนามาทดลองจนแน่ใจว่าพันธุ์
ดังกล่าวคุ้มค่าต่อการผลิตเพื่อการค้ า การบริ หารจัดการสวนส้ มก็เพื่อให้ มีการใช้ ป๋ ยและยาอย่
ุ าง
มีประสิทธิ ภาพและให้ ผลผลิตส้ มที่มีคุณภาพที่ดี ตลอดจนการพัฒนาการจัดการหลังการเก็บ
เกี่ยวเพื่อให้ ส้มคงความสดอยู่นาน ความสาเร็ จของคุณบัณฑูรในการปลูกส้ มกลายเป็ นต้ นแบบ
ให้ กบั ชาวสวนส้ มจานวนมาก แต่ทา่ นก็ยงั ไม่หยุดยังที ้ ่จะพัฒนาความรู้ของตนเอง หลายคนเรี ยก
คุณบัณฑูรว่าเป็ น “ปรมาจารย์ด้านส้ ม” ของเมืองไทย ผู้ร้ ูจริ งทังเรื้ ่ องการผลิตและการตลาด จน
ได้ รับเชิญไปเป็ นวิทยากรบรรยายเรื่ องส้ มหลายครัง้ หลายครา จากความสาเร็ จดังกล่าวจึงได้ รับ
ปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาพืชศาสตร์ (ไม้ ผล) จากมหาวิทยาลัยแม่โจ้
413

จุดเริ่มต้ น

เส้ นทางชีวิตของ “คุณเป็ งฮวด” แปลกกว่าเกษตรกรก้ าวหน้ าท่านอื่นตรงที่มิใช่เป็ นผู้ที่มี


ประสบการณ์ทางการเกษตรมาก่อน แต่อาชีพดังเดิ ้ มคือพ่อค้ าผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งหาก
มิใช่เป็ นเพราะประสบปั ญหาทางการค้ าแล้ ว วันนี ้ตานานสวนส้ มสายน ้าผึ ้งก็คงไม่มีคนชื่อ “คุณ
เป็ งฮวด” การเปลี่ยนอาชีพจากพ่อค้ ามาเป็ นเกษตรกรสวนส้ ม เกิดจากการที่โชคชะตาได้ เล่นตลก
กับคุณเป็ งฮวด เพราะในขณะนันซึ ้ ่งเป็ นปี 2518 คุณบัณฑูรทาการค้ าปลาทูแขก ขายดีมาก
จนถึงขนาดว่านับเงินไม่ทนั ต้ องขยายห้ องเย็นออกไปทุกภูมิภาคเพื่อเก็บปลาทูจาหน่าย แต่เมื่อมี
ข่าวลือว่าปลาทูแขกมีพยาธิกินแล้ วเกิดโรคจู๋เท่านัน้ ปลาทูตามห้ องเย็นต่าง ๆ ขายไม่ออก และ
ทาให้ ประสบปั ญหาขาดทุนแทบล้ มละลาย ไม่มีเงินพอใช้ หนี ้แม้ ว่าจะขายสมบัติทุกชิ ้นที่มีอยู่ใ น
ขณะนัน้ โชคดีที่ไ ด้ รับความช่วยเหลือจากเจ้ าของสวนส้ ม สุวิมลหรื อดอยทอง ซึ่งได้ ให้ ความ
ช่วยเหลือโดยออกเงินให้ ก่อนในการลงทุนปลูกส้ มในพื ้นที่เช่าประมาณ 40 ไร่ แม้ ว่าก่อนที่จะ
เริ่มทาสวนส้ มในปี 2519 นัน้ คุณเป็ งฮวดไม่เคยทาการเกษตรมาก่อนก็จริ ง แต่ก็เคยเป็ นพ่ อค้ า
ส้ มมาก่อนตังแต่ ้ ปี 2506 การที่ต้องซื ้อส้ มมาขายทาให้ ต้องเดินทางไปสวนส้ มที่มีชื่อเสียงใน
ขณะนัน้ ได้ แก่ สวนส้ มวังน ้าค้ างของอาจารย์พนั ธ์เลิศ บูรณะศิลปิ น และสวนส้ มไร่กานันจุล ซึ่ง
ในครัง้ นันแม้
้ ไม่ได้ คิดจะก้ าวมาปลูกส้ ม แต่ด้วยความเป็ นคนช่างคิดช่างสัง เกตก็พบว่า สวนส้ ม
แต่ละแห่งมีคณ ุ ภาพและประสิทธิภาพผลผลิตที่ตา่ งกันไป จึงได้ สงั เกตว่าเป็ นเพราะสาเหตุใด สิ่ง
ที่ ไ ด้ พ บก็ คื อ สวนส้ ม แต่ล ะแห่ ง มี วิ ธี ก ารจัด การสวนตัง้ แต่ก ารใส่ ป๋ ุยและยาก าจัด ศัต รู พื ช
ตลอดจนการให้ น ้าไม่เหมือนกัน ความช่างสังเกตได้ สร้ างประสบการณ์ เรื่ องส้ มให้ อย่างไม่ร้ ู ตวั
เมื่อมาลงมือปลูกส้ มเองในปี 2519 ซึง่ เป็ นพันธุ์ส้มเขียวหวานที่เริ่ มให้ ผลผลิตในปี 2522 ซึ่งโชค
ดีที่วา่ ส้ มในช่วงดังกล่าวได้ ราคาดี ประกอบกับผลผลิตต่อไร่สงู ทาให้ มีเงินพอที่จะผ่อนชาระหนี ้

สังเกตและบันทึก: คุณสมบัตขิ องเกษตรกรก้ าวหน้ า

ความสาเร็ จในการปลูกส้ มของคุณเป็ งฮวดมาจากการเป็ นคนช่างคิด วิเคราะห์ ช่าง


สังเกต และช่างทดลอง โดยจะมีการบันทึกข้ อมูลต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ จากการทดลองของตัวเอง
โดยการบันทึกได้ เริ่ มทาตังแต่
้ ทาสวนส้ มใหม่ ๆ ในปี 2519 การบันทึกเน้ นใน 2 เรื่ องคือ ผลที่
เกิดขึน้ จากการใส่ป๋ ยและยาฆ่
ุ าแมลงและวงจรชีวิตของแมลง เพราะส้ มจัดว่ามีโรคหลายอย่าง
การปลูกส้ มจึงควรเข้ าใจวงจรชีวิตแมลง จึงบันทึกเพื่อให้ เข้ าใจเหตุเข้ าใจผลว่าทาไมจึงเกิดสิ่งนัน้
แล้ วเตรี ยมป้องกันล่วงหน้ า และเพื่อลดค่าใช้ จ่ายด้ านยาฆ่าแมลง เช่น ในเรื่ องของปุ๋ยและยาก็
จะวิเคราะห์ผลของการที่คณ ุ ภาพส้ มออกมาเป็ นอย่างนี ้เนื่องจากการใช้ ป๋ ยและยาอย่
ุ างไรในปี ที่
414

ผ่านมา และปี นี ้เดือนไหนแมลงชนิดไหนจะมา หนอนซอนใบจะมาเดือนไหน เพลีย้ ไฟจะมา


เดือนไหน ข้ อมูลที่มีการบันทึกไว้ นนั ้ คุณเป็ งฮวดเล่าว่าได้ มีการนามาใช้ ประโยชน์ได้ หมด เช่น
ในช่วงที่ต้นส้ มเริ่ มแตกใบอ่อนก็คาดการณ์แล้ วว่าแมลงจะต้ องมา ก็จะทาการป้องกันก่อน และ
ในเดือนมีนาคมหนอนซอนใบจะมีมาก ก็จะทาการฉี ดยาป้องกัน การสังเกตการเปลี่ยนแปลง
ของส้ มเป็ นอีกสิ่งหนึง่ ที่จะต้ องทา ถ้ าพบว่าใบผิดปกติไป 20% ก็ร้ ูแล้ วว่าต้ องมีอะไรผิดปกติ

ใฝ่ หาความรู้ ตลอดเวลา

แม้ จะผ่านประสบการณ์ทาสวนส้ มมา 23 ปี แล้ ว คุณเป็ งฮวดยังถือว่าตนเองรู้ ไม่หมด


และจะต้ องหาความรู้ใหม่ ๆ ตลอดเวลา และยังชอบที่จะไปดูงานสวนส้ มทังต่ ้ างประเทศและใน
ประเทศ สาหรับต่างประเทศจะให้ ความสนใจประเทศที่มีชื่อเสียงในการปลูกส้ ม เป็ นพิเศษ เช่น
อิสราเอลและสเปน ซึง่ เป็ นผู้สง่ ออกส้ มไปยุโรปรายใหญ่ที่สดุ และแม้ ว่าจะพูดภาษาอังกฤษไม่ได้
คุณเป็ งฮวดก็ยงั ไปร่ วมประชุมเรื่ องส้ มที่จดั ขึ ้นในต่างประเทศเป็ นประจา คุณเป็ งฮวดเล่าว่า ใน
ประเทศไทยตนเป็ นคนเดียวที่เป็ นสมาชิกการวิจยั เรื่ องส้ ม ซึ่งมีก ารประชุมทุก 4 ปี ซึ่งต้ องไป
ด้ วยตนเองทุกครัง้ เพื่อหาความรู้ใหม่ ๆ วิธีการคือ ฟั งและซักถาม และยังชอบเดินทางไปดูงาน
แสดงสินค้ าเกี่ยวกับเทคโนโลยีส้มที่จดั ขึ ้นไม่ว่าจะจัดในประเทศใด ไปทุกปี บางเทคโนโลยีก็ได้
นามาดัดแปลงใช้ มาทดลอง บางเทคโนโลยีก็ใช้ ไม่ได้

ทดลองให้ ร้ ู จริง

เมื่อได้ ความรู้ใหม่ ๆ มาแล้ วจะไม่นามาใช้ ทนั ที แต่จะใช้ วิธีทดลองดูก่อนโดยเฉพาะใน


เรื่ องของพันธุ์ส้ม ซึ่งคุณเป็ งฮวดให้ ความสาคัญเป็ นอันดับ 1 โดยจะเดินทางไปหาพันธุ์ใหม่ ๆ
จากต่างประเทศมาทาการทดลองตลอดเวลา ซึ่งขณะนี ้กาลังทดลองปลูกส้ มกว่า 70 พันธุ์ ถ้ า
ได้ เพียง 2-3 ชนิดก็ถือว่าคุ้มแล้ ว ในการทดลองจะไม่ใช้ พื ้นที่มาก แต่จะทดลองเป็ นแปลง ๆ
เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างต้ นที่ทดลองและไม่ได้ ทดลอง และใช้ เวลาทดลอง 5 ปี ขึ ้นไป
เพื่อให้ แน่ใจว่าให้ ผลดีทงคุ
ั ้ ณภาพและผลผลิต เพราะหากเพียงคุณ ภาพดีเด่นแต่ผลผลิตไม่ดีก็ไม่
คุ้มค่าที่จะปลูกขาย ปริ มาณผลผลิตต้ องเพิ่มตลอดเวลาจึงจะมีสิทธิ์ ขยายพันธุ์ จากการทดลอง
บางครัง้ พบว่า พันธุ์ส้มที่จดั ว่าเป็ นอันดับ 1 ของบางประเทศ แต่เมื่อมาปลูกที่ประเทศไทย
อาจไม่ไ ด้ ผ ล เช่น ที่ ประเทศสเปนมีส้มไร้ เมล็ดที่ มีชื่ อ เสียงมาก แต่เมื่ อนามาทดลองปลูกใน
เมืองไทยกลับพบว่า ผลผลิตไม่ดี ซึ่งอาจเนื่องมากจากสภาพดินฟ้าอากาศของเมืองไทยที่ร้อน
กว่า สาหรับพันธุ์ “ธนาธร เบอร์ 1” ที่มีเปลือกหนา คือ พันธุ์ผสมระหว่างส้ มเปลือกล่อน
415

(พันธุ์ Mandarins) และพันธุ์ Tangerin ซึง่ คุณเป็ งฮวดซื ้อลิขสิทธิ์มาจากประเทศอิสราเอลพร้ อม


กับเจ้ าของสวนส้ ม พวงทองที่ อยู่ภ าคกลาง และทาการทดลองอยู่หลายปี พันธุ์ ที่ทดลองอยู่
ขณะนี ้คือส้ มพันธุ์ไร้ เมล็ดซึ่งทดลองมา 8 ปี แล้ ว ได้ ผลเป็ นที่น่าพอใจแต่ยงั ไม่สามารถจาหน่าย
ได้ เ นื่ องจากปั ญ หาลิ ขสิ ทธิ์ แม้ ว่าจะชื่นชอบความก้ าวหน้ าในด้ านเทคโนโลยี การปลูกส้ ม ของ
อิสราเอลและนามาประยุกต์ใช้ แต่ในเรื่ องของระบบนา้ คุณเป็ งฮวดกลับเห็นว่าระบบสปริ ง
เกลอร์ และระบบน ้าหยด ตลอดจนการให้ ป๋ ยพร้ ุ อมน ้าซึ่งที่ประเทศอิสราเอลใช้ อยู่นนแม้
ั ้ จะดีแต่ก็
ไม่เหมาะกับสวนส้ มที่ฝาง โดยเหตุผลว่าสภาพดินไม่ เหมือนกับของอิสราเอล ซึ่งเป็ นดินทราย
แต่ที่ฝางเป็ นดินเหนียว และประเทศไทยมีฝนตกหนักปี ละกว่า 1,000 มิลลิเมตร ในขณะที่
อิสราเอลตกปี ละกว่า 100 มิลลิเมตร เมื่อส้ มเคยได้ รับน ้าปริ มาณมากมีผลทาให้ รากขยายไปหา
น ้า การที่จะเปลี่ยนความเคยชินของรากให้ รับนา้ น้ อยลงจึงไม่พอกับความต้ องการ การให้ ป๋ ยุ
พร้ อมน ้าก็ไม่เหมาะกับส้ มเช่นกัน เพราะการให้ ป๋ ยปริุ มาณน้ อยหากสวนมีหญ้ ารกหญ้ าจะกินปุ๋ย
ก่อนส้ ม แต่ปัจจุบนั คุณเป็ งฮวดใช้ การหว่านปุ๋ย แม้ หญ้ าจะเอาไปใช้ บางส่วนก็ยงั มีเหลือให้ ต้น
ส้ ม แต่ถ้าจะเอาหญ้ าออกก็ ทาไม่ไ ด้ เพราะหญ้ าช่วยไม่ให้ ดินแข็ง ที่ สวนส้ ม ธนาธรจะใช้ ป๋ ุย
อินทรี ย์คือขี ้วัวอย่างเดียว ร่วมกับปุ๋ยที่ตนเองเป็ นตัวแทนจาหน่ายคือตราเรื อใบ
การปลูกส้ มของสวนธนาธรใช้ ระบบปลูกชิด เนื่องจากไม่อยากให้ ต้นใหญ่เกินไป ทังนี ้ ้ถ้ า
ปลูกห่าง 1 ไร่ จะปลูกได้ 55 ต้ น ปลูกชิดไร่ละ 90 ต้ น สายน ้าผึ ้งปลูกห่างระยะ 6 x 3 เมตร
เพราะทรงพุ่มจะไม่ใหญ่เท่าส้ มเขียวหวานซึ่งต้ องปลูกห่างระยะ 7 x 4 เมตร ต้ นทุนตกไร่ ละ
130,000 บาท และขายมีรายได้ 180,000 บาทต่อไร่

บริหารต้ นทุนไม่ ใช่ ลดต้ นทุน

คุณเป็ งฮวดยังได้ ให้ ข้อคิดเรื่ องการลดต้ นทุนการผลิตว่า นักวิชาการมักจะพูดเสมอว่า


“ลดต้ นทุน เพิ่มผลผลิต” แต่เห็นว่าไม่ถกู ต้ อง ตัวอย่างเช่น ถ้ าเราลงทุนไร่ละ 60,000 บาท ได้
ผลผลิต 6 ตัน คิดเป็ นกิโลกรัมละ 10 บาท ถ้ าให้ เกิดต้ นทุนคือ ให้ เหลือค่าใช้ จ่าย 40,000-
50,000 บาท แต่ผลผลิตเหลือ 3 ตันครึ่ง กลายเป็ นกิโลกรัมละ 15 บาท จึงกลายเป็ นเพิ่ม
ต้ นทุนต่อกิโลกรัม ถ้ ามองอีกแง่หนึ่ง ถ้ าเพิ่มค่าใช้ จ่ายเป็ น 65,000 บาท ได้ 7 ตัน ถือว่าลด
ต้ นทุน แต่ถ้าเพิ่มเป็ น 65,000 บาทต่อไร่แล้ วได้ ผลผลิตเท่าเดิม ถือว่าการให้ ผลของต้ นไม้ เต็มที่
แล้ ว ให้ ปัจจัยการผลิตเพิ่ มอย่างไรก็รับไม่ได้ เราก็ไม่ควรเพิ่มเราจึงควรทาทุกอย่างให้ ได้ ดุลย
ภาพสูงสุด เกษตรกรที่จะทาของได้ มาก ได้ ดี อยู่ที่การสังเกตให้ น ้า ให้ ป๋ ยุ และให้ ยาให้ ถกู ต้ อง
การรักษาคุณภาพอยูท่ ี่การจัดการ ทุกอย่างต้ องสมดุล
416

การตลาดเน้ นความซื่อสัตย์

ความสาเร็ จอีกอย่างหนึ่งของสวนส้ มธนาธร คือ ความสามารถในการตลาด คุณเป็ ง


ฮวดใช้ ก ลยุท ธ์ ใ นการตลาดทัง้ เน้ น คุณภาพโดยการทาแบรนด์รั บ รองคุณภาพ การหี บ ห่อ ที่
สวยงาม และการจัดเกรดสินค้ าโดยใช้ เครื่ องคัดส้ ม นอกจากเป็ นผู้จาหน่ายส้ มสายนา้ ผึง้ ราย
ใหญ่ที่สดุ ของประเทศแล้ ว ยังเป็ นผู้บกุ เบิกตลาดต่างประเทศ โดยเริ่มส่งออกตังแต่
้ ปี 2522

สิงคโปร์ เป็ นประเทศแรกที่ทาการส่งออกซึ่งขณะนันยั ้ งเป็ นส้ มเขียวหวาน แต่การส่งออก


ขณะนันคุ ้ ณเป็ งฮวดเล่าว่าไม่ใช่เรื่ องง่ายดายเลย เนื่องจากชื่อเสียงของผลไม้ ไทยในช่วงนันคื้ อ
ประมาณปี 2522 ยังไม่เป็ นที่ไว้ วางใจของผู้นาเข้ าในเรื่ องความสม่าเสมอของคุณภาพ โดนผู้ซื ้อ
กล่าวหาว่าพ่อค้ าคนไทยไม่ซื่อสัตย์ เที่ยวนี ้มาดี เที่ยวหน้ าไม่สวย ในปี แรกที่ส่งออกนันพ่้ อค้ า
สิงคโปร์ ยอมขายให้ แต่ห้ามไม่ให้ ติดชื่อประเทศไทยโดยให้ พิมพ์เป็ นภาษาจีนว่ามาจากไต้ หวัน 2
ปี แรกคุณเป็ งฮวดยอมทุกอย่าง แต่พอปี ที่ 3 คุณเป็ งฮวดแอบพิมพ์ตวั หนังสือไทยตัวเล็ก ๆ เข้ า
ไป พอมาปี ที่ 4 พิมพ์ตวั ใหญ่ขึ ้น พอปี ที่ 5 ใส่ภาษาไทยอย่างเดียว ในที่สดุ สิงคโปร์ ก็ยอมรับ
โดยเหตุที่ยอมรับคุณเป็ งฮวดเล่าว่า เป็ นเพราะส้ มที่ส่งออกคัดเกรดเอจึงสวยทุกลูก หลังจากนัน้
ชื่อส้ มธนาธรก็เริ่ มติดตลาดสิงคโปร์ เหตุผลที่ทาให้ สวนส้ มธนาธรติดตลาดทังในและต่
้ างประเทศ
หลักการสาคัญคือ ความซื่อสัตย์ มัน่ คง และความเสมอต้ นเสมอปลาย ปั จจุบนั ส้ มธนาธรได้ มี
การส่ ง ออกไปในหลายประเทศ ได้ แ ก่ สิ ง คโปร์ แคนาดา มาเลเซี ย ที่ ซ าราวัก และกูชิ ง
อินโดนีเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ และเริ่มทดลองตลาดที่ฟลอริดาดินแดนแห่งสวนส้ มของสหรัฐอเมริ กา
การที่ต้องส่งออกทัง้ ๆ ที่จะไม่ได้ ราคาดีเสมอไป เนื่องจากการส่งออกที่ได้ ราคาสม่าเสมอจะทาให้
มีความมั่นคงและทาให้ ขยายสวนได้ ในขณะที่ราคาส้ มในประเทศผันผวนมากบางปี ขึ ้นสูงสุด
และบางปี ลงต่าสุด แต่โอกาสในการส่งออกยังมีอีกมาก เพราะขณะนี ้มีหลายประเทศให้ ความ
สนใจที่จะนาเข้ า เช่น ผู้นาเข้ าเกาหลีต้องการที่จะนาเข้ าอย่างมาก แต่ติดปั ญหาที่ต้องให้ กรม
วิชาการเกษตรรับรองเรื่ องแมลงวันทองจึงจะเข้ าประเทศได้ แต่ทางกรมวิชาการเกษตรยังไม่ทา
การรับรองให้ สาหรับส้ ม ถ้ าสามารถส่งส้ มไปเกาหลีได้ จะมีกาลังซื ้อมหาศาล ยุโรปก็มีโอกาสที่จะ
ทาตลาดโดยให้ เ หลื่อมฤดูกับสเปนซึ่งเป็ นประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่ แต่ปัญหาคือการกี ดกัน
การค้ า คุณบัณฑูรมองว่าการส่งออกนันจ ้ าเป็ น เนื่องจากพื ้นที่ปลูกส้ มของไทยขยายตัวไปมาก
จึงคาดว่าในปี 2548 จะมีผลผลิตออกมามากและเกิดปั ญหาราคาส้ มตกต่า
417

มูลค่าการส่งออกของสวนส้ มธนาธรในปี 2544 มีประมาณ 10 ล้ านบาท ตลาด


ต่างประเทศนันคุ ้ ณเป็ งฮวดจะดาเนินการด้ วยตนเอง ซึ่งพบว่า มีการเติบโตในอัตราที่น่าพอใจ
ส้ มธนาธร เบอร์ 1 ในปี 2543 มีปริ มาณส่งออก 6-7 ตู้คอนเทรนเนอ์ ในปี 2544 เพิ่มเป็ น
40 ตู้คอนเทรนเนอร์ ผู้เชี่ยวชาญของประเทศอิสราเอลมาเห็นเราปลูกส้ มแล้ วตกใจ พันธุ์เบอร์ 1
เขาปลูก 8 ปี ได้ 7 ตันต่อไร่ ประสิทธิภาพเท่ากับสวนส้ มธนาธรปลูก 4 ปี แต่ตอนนี ้อิสราเอล
กาลังจะมาลงทุนปลูกส้ มที่จงั หวัดเชียงราย 1,000 ไร่ คุณเป็ งฮวดให้ ความเห็นว่า การปลูกส้ มมี
องค์ประกอบสาคัญคือ นา้ ดิน อากาศ และเงินทุน ทัง้ นีอ้ ากาศเป็ นปั จจัยสาคัญอันดับ 1
เพราะไม่ส ามารถปรั บได้ เงิ นทุนเป็ นปั จจัยสุดท้ าย สวนส้ ม ขนาดใหญ่อาจไม่มี คุณภาพและ
ต้ นทุนที่ดีกว่าสวนส้ มขนาดเล็ก ซึ่งมีเจ้ าของดูแลทัว่ ถึง สิ่งที่เจ้ าของสวนส้ มธนาธรคาดหวังไม่ใช่
อยู่ที่การเป็ นสวนส้ มที่ใหญ่ที่สดุ ในประเทศ เพียงแค่ติด 1 ใน 3 ก็พอแล้ ว แต่ที่ต้องการ
มากกว่าคือ การเป็ นสวนส้ ม ที่ มี คุณภาพ ชื่ อเสี ยงของสวนส้ ม ธนาธรในต่างประเทศดัง กว่า
เมืองไทย โดยเฉพาะที่ประเทศมาเลเซีย สาหรับประเทศจีนปลูกส้ มมากกว่าประเทศไทยหลาย
เท่าและจาหน่ายในราคาถูกมาก แต่คณ ุ ภาพและรสชาติส้ ขู องเราไม่ได้
418

ผักด๊ อกเตอร์

ดร.กิตติ วิทูรวิทย์ ลักษณ์ ผู้บกุ เบิกการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อการค้ า ภายใต้ ยี่ห้อ


“ผักด๊ อกเตอร์ ” เรี ยนจบระดับปริ ญญาตรี ทางด้ านเกษตรจากมหาวิทยาลัยขอนแก่น และจบ
ปริญญาเอกเรื่ องการผสมพันธุ์ผกั ที่สหรัฐอเมริกา ทางานกับบริษัทเมล็ดพันธุ์ผกั ที่รัฐแคลิฟอร์ เนีย
ก่อนที่จะผันตนเองมาเป็ นเกษตรกรผู้บกุ เบิกทาการทดลองปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อป้อนตลาด
มากว่า 10 ปี จึงนับว่าเป็ นผู้ที่มีทงความรู
ั้ ้ และประสบการณ์ในการปลูกผักปลอดสารพิษ

ดร.กิตติ วิทูรวิทย์ ลักษณ์

รู ปภาพที่ 42 แสดงภาพเจ้ าของธุรกิจผักปลอดสารพิษ ยี่ห้อ “ผักดอกเตอร์ ”

ที่มา: (โฆษิต เปี่ ยมรัษฎ์, 2548, หน้ า 53)

ผักเป็ นผลผลิตการเกษตรที่ขาดไม่ได้ ในการบริ โภคประจาวัน คนไทยเราบริ โภคผัก 50


กิโลกรัมต่อปี หรื อมีมลู ค่าประมาณ 100,000 ล้ านบาทต่อปี ซึ่งนับว่ายังน้ อยมากเมื่อเทียบกับ
อีกหลายประเทศ ความตื่นตัวในเรื่ องผักปลอดสารพิษในบ้ านเราเพิ่งเกิดขึ ้นไม่นานนัก เมื่อมีการ
ตรวจพบว่าผักที่วางขายในท้ องตลาดมีส ารพิษตกค้ างอย่างน่ากลัวจนเริ่ มที่จะมีการรณรงค์ใน
เรื่ องนี ้ แต่สาหรับตลาดโลกโดยเฉพาะในประเทศที่พฒ ั นาแล้ ว ความต้ องการผลผลิตการเกษตร
419

ที่ปลอดสารพิษโดยเฉพาะในระดับที่เรี ยกว่า เกษตรอินทรี ย์ (Organic Farm) มีการขยายตัวสูง


มาก
ในสหรัฐอเมริกา ปี 2543 ผลผลิตเกษตรอินทรี ย์อย่างเดียวคิดเป็ นมูลค่า 10,000 ล้ าน
เหรี ยญสหรัฐฯ หรื อประมาณ 430,000 ล้ านบาท และมีแนวโน้ มกาลังขยายตัวเร็ ว การค้ า
สินค้ าเกษตรอินทรี ย์ในแคนาดามี มูลค่า 1,000 ล้ านเหรี ยญแคนาดา และโตปี ละ 20%
ทางด้ านรัฐบาลของประเทศออสเตรเลียก็ได้ ประกาศเมื่อปี 2542 ว่า 20% ของผลผลิตทาง
การเกษตรของประเทศต้ องไร้ สารพิษ และยังกาหนดว่าอีก 6 ปี ข้ างหน้ า 50% ของผลผลิต
การเกษตรต้ องเป็ นเกษตรอินทรี ย์ โดยทางรัฐ บาลจะช่วยอุดหนุนในด้ านวัสดุ เป็ นต้ นว่าถ้ า
เกษตรกรทาเกษตรในพื ้นที่ 10 ไร่ และต้ องการจะทาเกษตรอินทรี ย์จานวน 2 ไร่ จะต้ องใช้ ป๋ ยุ
คอกจานวนเท่าไรรัฐบาลก็จะจัดให้ ดร.กิตติ วิทรู วิทย์ลกั ษณ์ ผู้เรี ยกตนเองว่าเป็ น “เกษตรกรรุ่น
ใหม่” เนื่องจากเป็ นผู้บกุ เบิกการปลูกผักไร้ สารพิษเมื่อ 10 กว่าปี มาแล้ ว ด้ วยการทดลองวิธี
ต่าง ๆ ด้ วยตนเองและยังให้ ข้อคิดในเรื่ องการทาเกษตรที่เป็ นประโยชน์ตอ่ เกษตรกรเป็ นอย่างยิ่ง
ดร.กิตติได้ อธิ บายว่า คาว่า “ผักปลอดสารพิษ” ที่วางจาหน่ายในท้ องตลาดมีหลายระดับ
ได้ แก่

- ผักอนามัย หมายถึง ผักที่ปลอดภัยจากสารพิษ คือ อนุญาตให้ มีการใช้ สารเคมีได้


แต่ต้องไม่มีสารพิษตกค้ างหลังการเก็บเกี่ยว ผักชนิ ดนี ้ทาได้ ไม่ยากและเป็ นผลผลิตส่วนใหญ่ที่
ขายกันอยูใ่ นขณะนี ้
- ผักอินทรี ย์ คาจากัดความคือ ห้ามใช้สารเคมี สงั เคราะห์ ยกเว้ นสารเคมีที่เกิดตาม
ธรรมชาติ เช่น น ้า ปูน ซึง่ ก็เป็ นสารเคมีเหมือนกันแต่ให้ ใช้ ได้ นอกจากนี ้ดินที่จะทาการปลูกยัง
ต้ องปลอดภัยจากสารเคมี โดยก่อนที่เกษตรกรจะเริ่ มทาการปลูกต้ องมีเจ้ าหน้ าที่มาทาการตรวจ
ดินกรวดน ้าก่อนว่าระดับสารเคมีตกค้ างเป็ นเท่าไร อีก 2 ปี จึงมาตรวจอีกครัง้ ซึ่งจากการตรวจ
ครัง้ หลังนี ้ ปริ มาณสารเคมีที่อยู่ในดินต้ องลดลง ถ้ าผ่านการตรวจสอบแล้ วจึงเรี ยกว่าผักอินทรี ย์
หรื อผักไร้ สารพิษ ซึง่ เป็ นสิค้าที่ทวั่ โลกต้ องการมหาศาล

จุดเริ่มต้ นของการบุกเบิกผักไร้ สารพิษ

ก่อนที่ จ ะหันมาปลูกผักปลอดสารพิษเมื่ อ 10 ปี ที่ แล้ วนัน้ ดร.กิ ตติทางานกับบริ ษัท


การเกษตรที่สหรัฐอเมริ กา แต่เหตุจงู ใจที่ทาให้ หนั มาปลูกผักไร้ สารพิษในเมืองไทยมาจากการที่
ไปพบเห็นว่าที่สหรัฐอเมริ กานัน้ การที่เกษตรกรจะซื ้อสารเคมีมาใช้ จะมีข้อกาหนดที่เข้ มงวดมาก
แต่เมื่อมาเห็นที่เมืองไทยซึ่งบริ ษัทที่ทางานอยู่ได้ ส่งมาดูงานที่เมืองไทย กลับพบว่าเกษตรกรไทย
420

มีการใช้ สารเคมีอย่างฟุ่ มเฟื อย จึงคิดว่าคนไทยรวยขึ ้นแต่อาจต้ องตายเร็ ว ทาไมคนไทยจะกิ นผัก


ดีๆ คือ ผักที่ มี ส ารเคมี น้อยไม่ไ ด้ ถามว่า ถ้ ามี ผักปลอดสารพิษขายคนจะซื อ้ บริ โภคหรื อไม่
คาตอบก็คือ น่าจะซ้ อ แต่คาถามต่อมาคือจะเอาอะไรไปยืนยันว่าผักนันปลอดภั ้ ยจริง
จากความสนใจที่จะเริ่มต้ นปลูกผักปลอดสารพิษ ในที่สดุ ก็ได้ ตดั สินใจลาออกจากบริ ษัท
เพื่อทาการปลูกผักปลอดสารพิษ แต่ปัญหาก็คือ เมื่อ 10 ปี ที่แล้ วในช่วงที่ ดร.กิตติเริ่ มปลูกผัก
ไม่มีใครมาสอนว่าวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษควรทาอย่างไร ยังไม่มีตาราในเรื่ องนี ้ออกมา จึง
ต้ องทุม่ เททาทุกอย่างโดยทาตัวเป็ นสถานีทดลองค้ นคว้ าในเรื่ องนี ้ โดยทดลองปลูกในที่ดิน ที่รังสิต
จานวนกว่า 100 ไร่ ผลปรากฏว่า ผักรุ่ นแรกที่ปลูกนันตายหมด ้ สาเหตุมาจากสภาพดินที่
เปรี ย้ วมาก ความเป็ นกรด-ด่าว (pH) ไม่เหมาะสม คือมีคา่ pH อยู่ที่ 3 สิ่งที่ค้นพบคือ ถ้ าดิน
ไม่อุดมสมบูรณ์ทาอะไรก็ไม่สาเร็ จ หัวใจอยู่ตรงนัน้ เพราะธาตุอาหารในดิ นมีความสาคัญ แต่
ดินที่ทาการเกษตรมานานจะขาดความอุดมสมบูรณ์ เพราะมีการนาเอาธาตุอาหารจากดินมาใช้
ผลิตโดยไม่ได้ ให้ ความอุดมสมบูรณ์คืนให้ กับดิน เพราะตลอดเวลาเกษตรกรให้ แต่ของปลอมคือ
ให้ สารเคมี ปุ๋ยเคมี และปุ๋ยวิทยาศาสตร์ แต่ป๋ ยธรรมชาติ
ุ ก็คือปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมั ก หรื อปุ๋ยพืชสด
ใส่ลงไปน้ อยมาก และพบว่าบางแห่งก็ไม่มีการใส่ปนู ขายปรับค่า pH ดังนันจุ ้ ดเริ่ มต้ นของการ
ทาเกษตรคือทาอย่างไรก็ได้ ให้ ดินอุดมสมบูรณ์ ซึ่งพืชก็เป็ นสิ่งมีชีวิตที่ต้องการสิ่งแวดล้ อมที่ดี
หลักการในการปลูกพืชคือ (1) ดินต้ องอุดมสมบูรณ์ (2) การใช้ เทคนิคต่าง ๆ ได้ แก่ การปลูก
พืชหมุนเวียน กติกาคือ การไม่ปลูกผักซ ้าชนิดในร่องเดียวกันภายใน 2 ปี โดยให้ ทาการจด
บันทึกว่าร่องไหนปลูกผักชนิดอะไร เนื่องจากการปลูกพืชซ ้าชนิดจะทาให้ ดนิ โทรม

โรคและแมลงเป็ นปั ญหาสาคัญ

สิ่งที่ยากในการทาผักปลอดสารพิษที่จะไม่ใช้ สารเคมี คือ การควบคุมโรคและแมลง ซึ่ง


ขึน้ อยู่กับ ความอุด มสมบูร ณ์ ข องดิน การปลูก พื ช หมุน เวี ย นจะไม่มี ก ารหมัก หมม เป็ นการ
ปรั บปรุ ง สภาพดินอยู่เ รื่ อย ๆ ถ้ าสภาพแวดล้ อมไม่มีเชื อ้ โรคซึ่งเชือ้ โรคจะมากับอากาศ ถ้ า
อากาศเหมาะสม ดินเปรี ย้ วดี แมลงก็จะมาลง
ดร.กิตติได้ เคยทดลองควบคุมแมลงหลายวิธี ตังแต่ ้ การลงทุนทามุ้งในพืน้ ที่ 50 ไร่ ใช้
เงินลงทุนถึง 5,000,000 บาท นับว่าแพงมากเพราะต้ นทุนตกตารางเมตรละ 150 บาท ให้ ลอง
คิดดูว่าจะต้ องปลูกคะน้ ากี่ รุ่นจึง จะได้ ทุนคืน การใช้ ม้ ุง จึง ไม่ใช่คาตอบสุดท้ าย เป็ นเพียงวิธี
เบื ้องต้ นว่าเป็ นแนวทางที่ช่วย นอกจากนี ้ยังเคยใช้ ผ้าคลุมแปลงผักที่เป็ นผ้ าใยสังเคราะห์ซึ่งใช้
คลุมผักเพื่อป้องกันแมลงแต่สามารถให้ อากาศและน ้าผ่านได้ (Nonwoven Fiber) แต่พบว่าเพื่อ
ความร้ อนให้ แปลงผัก จึงไม่ได้ ผล ในเรื่ องของโรค เชื ้อโรคส่วนใหญ่ที่พบในผักคือโรคเชื อ้ รา ซึ่ง
421

การจะทาอะไรต้ องศึกษาให้ ร้ ูแน่ก่อนว่าโรคพืชแต่ละอย่างเกิดได้ อย่างไร เติบโตได้ อย่างไร เช่น


ระดับ pH ที่เชื ้อโรคต้ องการมกที่สดุ ในการเติบโตคือน้ อยกว่า 5 ถ้ ามากกว่า 5 เมื่อไรก็จะไม่
สามารถสร้ างสปอร์ ได้ วิธีแก้ ปัญหาคือ ทาอย่างไรให้ สภาพแวดล้ อมทังหมดเป็ ้ นด่างอยู่เสมอเพื่อ
ไม่ให้ เป็ นกรด ในส่วนของดินก็ให้ ใส่ปนู ขาวหรื อปูนมาร์ ล ในส่วนของน ้าก็ใส่ปนู เวลาที่จะใส่ป๋ ยก็

ต้ องตรวจสอบความเป็ นกรด-ด่าง ว่าทาอย่างไรจะปรับสภาพแวดล้ อมให้ เหมาะสมกับพืชแต่ไม่
เหมาะสมกับโรคพืชและแมลง สารชีวภาพที่จะกาจัดโรคนัน้ ในอดีตเราต้ องนาเข้ ากากไม้ มาจาก
แอฟริกาใต้ ซึง่ ทัว่ โลกยอมรับว่าได้ ผลในการปราบศัตรูพืช เพราะใส่อะไรก็ตายหมดซึ่งเป็ นสิ่งที่ดี
มาก อย่างไรก็ดี ที่ขอแนะนาคือ โรติ๊ น ที่เมืองไทยเคยปลูกกันมากที่อาเภอพนัสนิคมและมีการ
ส่งออกด้ วย แต่ขณะนี ้กลับหายาก โรติ๊นมีประสิ ทธิภาพดีเนื่องจากใส่ลงไปแล้ วไม่ว่าหนอนชนิด
ไหนก็จะตายหมด และมีสารพิษตกค้ างน้ อยจนแทบจะบริ โภคได้ เลย สาหรับน ้าหนักจุลินทรี ย์
(Effective Microorganism : EM) ยังไม่ได้ พิสจู น์
ปั จจุบนั มียากาจัดศัตรูพืชที่ทามาจากสารชีวภาพหลายตัว ล่าสุดพบว่ามีเชื ้อราชนิดหนึ่ง
ที่ เ มื่อฉี ดแล้ วจะสร้ างสปอร์ สามารถฆ่าหนอนได้ ทันที ที่อยู่ใกล้ ตัวคือ ยาชี วบี ที ซึ่ง มีขายใน
ท้ องตลาด แต่เกษตรกรจะบอกว่าใส่ไม่ได้ ผล ทังนี ้ ้เนื่องจากว่าการใช้ ไม่ถูกวิธีโดยฉี ดขณะที่มี
แดดจัด แต่ที่ถกู คือ ให้ ฉีดขณะที่แดดไม่จดั ดร.กิตติให้ ความเห็นว่า “ที่ผมเคยทาที่จงั หวัดตาก
ตอนสองทุ่ม ฉี ดยาฆ่าเชื ้อพบว่าหนอนไก่ไม่มีเหลือ เราสามารถกินได้ ทนั ทีทั่วโลกยอมรับ แต่
ปั ญหาคือ เราใช้ สารชีวเคมีไม่เป็ นแล้ วไปด่วนสรุปว่าไม่ได้ เรื่ อง ไม่ได้ ผล ของแพงไม่จาเป็ นต้ อง
ได้ ผลเสมอไป หลายอย่างที่เราใช้ สิ ้นเปลืองมาก 70% ของค่าใช้ จ่ายที่ฟาร์ มเป็ นค่าแรง แต่บาง
ฟาร์ มเป็ นค่ายาปราบศัตรูพืช ผมคิดว่าเทคนิคในการปลูกผักปลอดสารพิษ การดูแลโรคแมลงไม่
ยาก สิ่งที่คิดว่ายากที่สดุ คือตัวเกษตรกรเองที่ทาใจไม่ได้ ผมเองมีประสบการณ์ว่าเคยเจอหนอน
กระทู้ ผักที่ปลูกไม่เหลือเลย แต่เมื่อเชื่อว่าเราจะทาอย่างไร ตังใจว่
้ าจะเป็ นเกษตรกรก้ าวหน้ าก็ไม่
ใช้ ยา”

แนวทางการทาเกษตรไร้ สารพิษ

การทาเกษตรไร้ สารพิษหรื อเกษตรอินทรี ย์ในระยะแรกจะมีต้นทุนที่สงู กว่าการทาเกษตร


ทัว่ ไป เป้าหมายของเกษตรไร้ สารพิษของไทยขณะนี ้จึงต้ องส่งออก ที่พบคือ ทุกวันนี ้มีเกษตรกร
ปลูกผักไร้ สารพิษจริ ง ๆ โดยฝรั่งเอาเงินมาให้ แล้ วส่งออกคะน้ าราคา 220 บาทต่อกิโลกรัมจาก
สวน ซึ่งเกษตรกรจะหวังให้ ตลาดในเมืองไทยซื ้อคะน้ าในราคาดังกล่าวนี ้คงไม่ได้ สิ่งที่ต้องทาคือ
ต้ องมีจุดหมาย ต้ องรู้ว่าทาเพื่ออะไร ระบบเก่า ๆ ต้ องลืม ต้ องสร้ างทีมสัก 5 คนที่ร้ ูเรื่ องเงิน
เรื่ องผลิต มีทีมที่ปรึกษาเรื่ องโรค เรื่ องแมลง เรื่ องปุ๋ย อย่าไปทาคนเดียว ให้ มีทีมก่อนจึงลงมือ
422

ทา เพื่อให้ เป็ นระบบ “ระบบบัญชีและการเงิน” เป็ นหัวใจสาคัญและเป็ นสิ่งที่เกษตรกร 99%


ไม่เ คยรู้ และควรปรั บปรุ ง ที่ พ บมานัน้ ไม่มี บัณ ฑิต เกษตรคนไหนรู้ งบดุล แต่ห วัง เป็ นเกษตร
ก้ าวหน้ า หน้ าที่ของเราคือต้ องรู้ระบบการเงินและบัญชี นี่คือจุดที่ทาให้ เราพลาด เ ราไม่เคยคิด
ต้ นทุนจริง ๆ ว่าเป็ นเท่าไร เราคิดแค่ว่ารุ่นนี ้ลงเท่าไร จะได้ เงินเท่าไร ลบกันเหลือเท่าไร นัน่ ก็คือ
ผลกาไรหรื อขาดทุน ระบบเกษตรกรรมไทยต้ องมีระบบบัญชี และการเงินเป็ นพื ้นฐาน นี่คือสิ่งที่
เราพลาดมาตลอด การเกษตรในอนาคตต้ องทาในรู ปแบบทีเรี ยกว่า ซัพ พลายเชน (Supply
Chain) เรี ยกว่า เป็ นเกษตรลูกโซ่หรื อเครื อข่ายเกษตรกร ปั จจุบนั เราคิดแต่ว่ามีหน้ าที่ปลูกและ
ขายไปก็จบหน้ าที่ซึ่งไม่ถูกต้ อง เราต้ องรู้ ทงหมดว่
ั้ าในส่วนของระบบผักทังหมดที
้ ่เราปลูกเราอยู่
ตรงไหนของระบบ เรามีส่วนอย่างไรในระบบและใครทาหน้ าที่ในส่วนที่เหลือ ตัวอย่างที่พบมา
เมื่อ 3 ปี ก่อน เกษตรกรภาคเหนือมีการปลูกแครอทในปริ มาณมากเพื่อป้อนโรงงานอาหาร
กระป๋ องที่เชียงใหม่ ปรากฎว่ามีลกู ค้ าจากประเทศเยอรมนีมาสร้ างระบบติดตามดูว่าแครอทใน
กระป๋ องที่ส่งไปขายในประเทศเขานันปลู ้ กที่ไหน เมื่อไร เก็บเกี่ยวเมื่อไร ซึ่งตามกฎหมายของ
ประเทศเขา เจ้ าหน้ าที่ต้องตามย้ อนกลับไปดู
เกษตรกรในเมืองไทยแทบจะไม่มีการจดบันทึกว่าทาอะไรบ้ าง ซือ้ เมล็ดพันธุ์จากไหน
กระป๋ องเท่าไร ราคาเท่าไร เตรี ยมแปลงวันไหน ใส่ป๋ ยเมื ุ ่อไร เก็บเกี่ยวเมื่อไร เนื่องจากเราไม่
เคยถูกสอนให้ จด ในขณะที่คนซื ้อขายต้ องการข้ อมูล จึงขอให้ เริ่ มจดบันทึก ในสหรัฐอเมริ กา
เกษตรกรในสหรัฐอเมริ กาจะทาอะไรก็จะมีนักดาราศาสตร์ สาหรับเกษตรกร (Astrology for
Farmers) บอกว่าวันนี ด้ าวนี ้อยู่ตรงนี ้ควรทาอะไร การหว่านผักช่วงขึ ้น 15 ค่ากับช่วงแรม 15
ค่าจะไม่เหมือนกัน เกษตรกรควรต้ องมีการเรี ยนรู้อยูเ่ สมอ

การตลาดเป็ นหัวใจสาคัญ

แม้ ว่ า การผลิ ต จะดี เ พี ย งไรแต่ถ้ า ท าแล้ ว ไม่ มี ก ารตลาดก็ ไ ปไม่ร อด การตลาดไม่ไ ด้


หมายถึงการขาย การตลาดและการขายต่ างกันอย่างไร พวกเราไม่มีใครรู้ตลาด เราต้ องหามือ
อาชีพที่ทาตลาดจริง ๆ มาทาแผนตลาด ถ้ าเป็ นเกษตรกรก้ าวหน้ าต้ องมืออาชีพ หมายถึง คนที่ร้ ู
จริงในเรื่ องตลาด ตรงต่อเวลา และมีระบบทางาน

สรุ ปแล้ วสิ่งที่เกษตรกรก้ าวหน้ าควรปฏิบัตใิ นการปลูกผักปลอดสารพิษคือ


- รักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน ดินต้ องอุดมสมบูรณ์ ต้ องปลูกพืชหมุนเวียน 2 ปี
และดูโรคพืช
- มีเทคนิคการผลิต
423

- ตัวเราเองต้ องแน่วแน่ที่จะทาเกษตรปลอดสารพิษ
- ต้ องทาอย่างมืออาชีพ มีระบบจัดการคือ มีระบบบัญชีและการเงิน
วีพี ฟาร์ ม (ฟาร์ มหมูครบวงจร)

ยุทธพงศ์ จีรประภาพงศ์ หรื อที่ในวงการผู้เลี ้ยงหมูเรี ยกว่า “เฮียปึ ง้ ” อายุ 50 ปี


เริ่ มต้ นเลี ้ยงหมูในปี 2516 โดยเริ่ มจากแม่หมู 4 ตัว และพ่อหมู 1 ตัว ปั จจุบนั วีพี ฟาร์ ม
จัดเป็ นฟาร์ มเลี ้ยงหมูที่ใหญ่เป็ นอันดับที่ 3 ของจังหวัดเชียงใหม่ รองจาบริ ษัท ซีพี และบริ ษั ท
ชัยพัฒนา โดยมีแม่พนั ธุ์ 4,618 ตัว พ่อพันธุ์ 105 ตัว อนุบาล 22,030 ตัว และหมูขุน
40,000 ตัว ผลผลิตหมูป้อนให้ ตลาดเฉลี่ยวันละ 240 ตัว และเป็ นฟาร์ มที่มีโรงเรื อนเลี ้ยงสัตว์
ถึง 40 โรง โดยมีการเลี ้ยงสัตว์ที่ครบวงจรตังแต่ ้ เลี ้ยงพ่อพันธุ์ แม่ พนั ธุ์และอนุบาล ไปจนถึงหมู
ขุน โรงชาแหละ และโรงอาหารสัตว์

คุณยุทธพงศ์ จีรประภาพงศ์

รู ปภาพที่ 43 แสดงภาพเจ้ าของฟาร์ มหมูครบวงจร “วีพี ฟาร์ ม”

ที่มา: (โฆษิต เปี่ ยมรัษฎ์, 2548, หน้ า 61)

ผู้เลี ้ยงหมูรายใดที่มีฟาร์ มอยู่ในเขตชุมชนและยังคงใช้ ระบบฟาร์ มเปิ ดอยู่ อาจจะสร้ าง


ปั ญ หามลภาวะให้ กับ ชุม ชน ซึ่ ง ในที่ สุด แล้ ว ฟาร์ ม หมูนัน้ จะอยู่ไ ม่ ไ ด้ จากการจัด สนทนา
424

เทคโนโลยีการเกษตรเรื่ องการเลี ้ยงหมูโดยใช้ เทคโนโลยีชีวภาพ (ไบไอแก๊ ส) และโรงเรื อนปิ ด


(Evaporative Cooling System) หรื อที่เรี ยกกันทัว่ ๆ ไปว่า ระบบอี แวป ที่ธนาคารกรุงเทพนจัด
ขึ ้นหลายจังหวัด พบว่ามีผ้ เู ลี ้ยงหมูหลายรายที่ให้ ความสนใจทัง้ 2 ระบบอย่างมาก แต่ก็หวัน่
เกรงในเรื่ องของต้ นทุนการผลิตที่จะเพิ่มขึ ้น เนื่องจากทัง้ 2 ระบบนันมี ้ การลงทุนค่อนข้ างสูง
ในขณะที่ผลตอบแทนคือราคาหมูยงั มีความผันผวนมาก คุณยุทธพงศ์แห่งวีพี ฟาร์ ม เป็ นผู้ที่ได้
เอาเทคโนโลยีทงั ้ 2 มาดัดแปลงใช้ กับฟาร์ มของตน ทาให้ มีต้นทุนต่า จึงนับเป็ นเกษตรกร
ตัวอย่างที่น่าสนใจ คุณยุทธพงศ์เป็ นวิทยากรบรรยายให้ ความรู้ กับเกษตรกรผู้เลีย้ งหมูในการ
สนทนาเทคโนโลยี การเกษตรที่ ธ นาคารกรุ ง เทพจัด ขึน้ ทุก ภาค เนื่ อ งจากมี คุณ สมบัติที่ เ ป็ น
เกษตรกรก้ าวหน้ าอย่ า งเต็ ม ภาคภู มิ คื อ เป็ นผู้ แสวงหาความรู้ และเมื่ อ รู้ แล้ วก็ ไ ม่ ไ ด้
ลอกเลียนแบบ แต่มีการประยุกต์ความรู้ที่ได้ มานันมาใช้ ้ ให้ เหมาะสมกับฟาร์ มของตนเอง
วีพี ฟาร์ ม ปั จจุบนั ทาธุรกิจเกี่ยวกับหมูที่ครบวงจร โดยมีบริ ษัท วีพีเ อฟ กรุ๊ ป จากัด
อยูท่ ี่อาเภอแม่ริม ทาการเลี ้ยงหมูพอ่ พันธุ์แม่พนั ธุ์เพื่อผลิตลูกหมูและยังมีโรงงานผสมอาหารสัตว์
มีบริ ษัทแม่ทา วีพี จากัด อยู่ที่อาเภอแม่ทา จังหวัดลาพูน เป็ นฟาร์ มอนุบาลและเลี ้ยงหมูขุน
และยังมีบริษัท วีแอนด์พี เฟรชฟูดส์ จากัด ทาโรงงานชาแหละหมูที่จงั หวัดลาพูน

ความจาเป็ นที่ต้องแสวงหาเทคโนโลยีควบคุมอุณหภูมิ

ถ้ าพิจารณาจากจานวนสุกรที่มีจานวนมาก เกษตรกรหลายท่านอาจคิดว่า วีพี ฟาร์ ม


เป็ นฟาร์ มขนาดใหญ่ จึงสามารถที่จะพัฒนาเทคโนโลยีเป็ นของตนเอง แต่หากมองย้ อนกลับไป
วีพี ฟาร์ ม ก็เริ่ มมาจากฟาร์ มขนาดเล็กมาก่อน โดยเริ่ มจากแม่หมูเพียง 4 ตัว แต่ได้ ขยาย
กิจการก้ าวหน้ ามาตามลาดับ นอกจากนีก้ ่อนที่จะหันมาเลีย้ งหมูในระบบโรงเรื อนและบ่อแก๊ ส
ชีวภาพ โดยเริ่มในปี 2541 วีพี ฟาร์ ม ก็มีรูปแบบการเลี ้ยงแบบฟาร์ มทัว่ ไป คือเลี ้ยงในระบบเปิ ด
แต่ตอ่ มาเมื่อปั ญหามลภาวะในฟาร์ มมีความรุนแรงขึ ้น การเลี ้ยงหมูในระบบโรงเรื อนเปิ ดซึ่งสร้ าง
ปั ญหากลิ่นและแมลงวันให้ กบั ชุมชนเป็ นเรื่ องที่ วีพี ฟาร์ ม จาเป็ นต้ องปรับตัว มิฉะนันอาจจะ

ต้ องปิ ดกิจการ นอกจากนี ้การเลี ้ยงหมูยงั เผชิญกับปั ญหาเรื่ องอุณหภูมิ เนื่องจากพ่อพันธุ์หมูจะ
นาเข้ ามาจากประเทศที่มีอากาศหนาวเย็น เมื่อเผชิญกับสภาวะอากาศร้ อน ประสิทธิภาพในการ
ผลิตน ้าเชื ้อก็จะลดลง ประกอบกับสภาพอุณหภูมิของจังหวัดเชียงใหม่เองจะมีความแตกต่างกัน
มากระหว่างเวลากลางวันและกลางคืนซึง่ ไม่เป็ นผลดีตอ่ การเลี ้ยงหมู

หาความรู้ และวิเคราะห์ ข้อดีข้อเสียของทางเลือก


425

ในปี 2541 คุณยุทธพงศ์ ได้ เริ่ มแสวงหาวิธีแก้ ปัญหาฟาร์ มหมูทงในเรื ั ้ ่ องของอุณหภูมิ


และสิ่งแวดล้ อม โดยเริ่ มจากการเดินทางไปศึกษาดูงานยังประเทศที่มีการเลี ้ยงหมูจานวนมาก
เช่น เม็กซิโก สหรัฐอเมริ กา ยุโรป และออสเตรเลีย เพื่อแสวงหาวิธีการที่เหมาะสมที่จะนามา
ปรับใช้ กบั ฟาร์ มของตนเองพบว่า ในประเทศเม็กซิโกซึง่ เป็ นประเทศที่มีอากาศร้ อน ได้ มีการเลี ้ยง
หมูในระบบเปิ ดก็จริง แต่ก็ได้ พฒ ั นาให้ มีการสร้ างอ่างน ้าให้ หมูลงไปนอนแช่เพื่อระบายความร้ อน
สาหรับระบบนี ้ คุณยุทธพงศ์วิเคราะห์วา่ เป็ นระบบกลาง ๆ สาหรับผู้ลงทุนคือ เป็ นการลงทุนที่ใช้
เงินไม่มาก แต่สามารถทาให้ ประสิทธิ ภาพการผลิตดีขึน้ กลิ่นน้ อยลงไปบ้ าง แต่ก็ยังไม่หมด
ทีเดียว และยังมีปัญหาเรื่ องน ้าเสียที่ต้องมีระบบบาบัด เพราะต้ องเติมน ้าเข้ าไปและปล่อยน ้าที่
สกปรกออกมา ทังนี ้ ้ถ้ าเป็ นหมูที่ยงั เล็กจะต้ องเปลี่ ยนน ้าสัปดาห์ละ 1 ครัง้ แต่หากเป็ นหมูขุน
แล้ วก็ต้องเปลี่ยนน ้า 3 วันต่อครัง้ ซึ่งน ้าเสียเหล่านี ้ถ้ าปล่อยไปโดยไม่มีระบบบาบัดน ้าเสียก็จะ
สร้ างปั ญหาให้ กบั ชุมชน ระบบนี ้จึงไม่เหมาะสาหรับฟาร์ มที่อยูใ่ กล้ ชมุ ชน เช่น วีพี ฟาร์ ม
ในด้ านระบบโรงเรื อนปิ ดแบบอีแวปนัน้ พบจากการไปดูงานระบบผสมผสานระหว่าง
ยุโรปและสหรัฐอเมริกา พบว่าเป็ นระบบที่ต้องอาศัยการลงทุนสูงมาก แต่สามารถช่วยแก้ ปัญหา
เรื่ องของกลิ่นได้ ถึง 90% และต้ องลงทุนสร้ างระบบบาบัดน ้าเสียเช่นกัน ซึ่งการที่ระบบนี ้ต้ องใช้
เงินลงทุนสูงเนื่องจากค่าเยื่อกระดาษซึ่งในช่วงดังกล่าวต้ องนาเข้ าจากสหรัฐอเมริ กามีราคาถึง
ตารางเมตรละ 3,000 บาท คิดเป็ นค่าใช้ จ่ายในส่วนนี ้ถึง 200,000 บาทต่อโรงเรื อน และยังมี
อายุการใช้ งานเพียง 3 ปี ก็ต้องเปลี่ยน แต่ก็ถือเป็ นระบบโรงเรื อนปิ ดที่สมบูรณ์แบบคือไม่ได้
ดัดแปลงเพื่อให้ ร้ ูจริ ง คุณยุทธพงศ์ได้ ทดลองนาระบบนี ้มาใช้ กบั โรงเรื อน 2 หลัง พบว่า ใช้ ได้ ดี
แต่มีปัญหาเรื่ องตะไคร่ น ้าและหนูอยู่บ้าง และเนื่องจากต้ นทุนสูงจึงทดลองดัดแปลงใช้ เป็ นอิฐ
บล็อกเจาะรู ให้ น ้าไหลผ่านแทนเพื่อลดต้ นทุน การใช้ อิฐบล็อกมีต้นทุนอยู่ที่ 200-300 บาทต่อ
ตารางเมตร ถูกกว่าเยื่ อกระดาษกว่า 10 เท่าตัว แต่ต้องใช้ เนื ้อที่ในโรงเรื อนเพิ่มมากกว่าการใช้
เยื่อกระดาษซึง่ มีความบางกว่าถึง 3-4 เท่าตัว สาหรับประสิทธิภาพในด้ านการปรับอุณหภูมิจะมี
ระดับความเย็นที่ใกล้ เคียงกัน เช่น หากอุณหภูมิข้างนอกโรงเรื อนอยู่ที่ 37 oC โรงเรื อนที่ใช้ เยื่อ
กระดาษจะมีอณ ุ หภูมิ 23 oC ขณะที่โรงเรื อนที่ใช้ อิฐบล็อกจะมีอณ ุ หภูมิ 25 oC คุณยุทธพงศ์ได้
ยา้ ว่าการที่ เ กษตรกรจะไปศึกษาดูง านที่ ใดนัน้ ขอให้ ผ้ ูที่ ไ ปดูง านถามเพื่ อ ให้ ร้ ู จริ ง ให้ ไ ด้ ครบ
100% เพราะถ้ าได้ ความรู้มาไม่ครบ การนามาปฏิบตั ิก็จะไม่ร้ ู จริ ง วีพี ฟาร์ ม ได้ ตดั สินใจนา
ระบบอีแวปที่ได้ ดดั แปลงขึ ้นนี ้มาใช้ ในฟาร์ มทังพ่ ้ อพันธุ์แม่พนั ธุ์ อนุบาล และหมูขนุ โดยคุณยุทธ
พงศ์ได้ ศึกษาความต้ องการของหมูทงในเรื ั ้ ่ องอาหาร น ้า อุณหภูมิและแสงในหมูรุ่นต่าง ๆ กัน
เช่น ในเรื่ องระบบแสง พ่อพันธุ์ต้องการแสงเพียง 8 ชัว่ โมงต่อวัน ถ้ ามากกว่านันความหนาแน่้ น
ของเชื ้อจะลดลง ส่วนแม่พนั ธุ์ต้องการแสงที่ 16 ชัว่ โมง สาหรับความต้ องการระดับความเย็นจะ
426

ต่างกัน โดยพ่อพันธุ์ถ้าอุณหภูมิเกิน 25 oC น ้าเชื ้อจะตายมาก ถ้ าจะทาอะไรต้ องศึกษาให้ ลึก


โดยที่มาของเทคโนโลยีมาจากการศึกษาดูงานยังที่ต่าง ๆ แล้ วนามาดัดแปลงเอง ได้ แก่ การใช้
ระบบคอมพิวเตอร์ ควบคุมการให้ อาหารและน ้า มีการผสมสูตรอาหารสัตว์เอง และผสมเทียม
เอง เพื่อลดการนาเข้ าหมูพนั ธุ์จากต่างประเทศ
ผลที่ได้ พบว่า หมูไม่ประสบปั ญหาการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ทาให้ การเจริ ญเติบโต
ดีขึ ้น สามารถกินอาหารได้ ดี เนื่องจากหมูขนุ ต้ องการอุณหภูมิที่ 18-20 oC จึงจะกินอาหารได้ ดี
ถ้ าเกินกว่านี ้การเจริ ญเติบโตจะลดลง ปั ญหายุง เหลือบ และแมลงวันจะหมดสิ ้นไป ปั ญหา
กลิ่นหายไป รอบการเลี ้ยงมากขึ ้น 3.5-4 รอบ เทียบกับปกติได้ 2.5 รอบ น ้าเชื ้อพ่อพันธุ์เข้ มข้ น
ขึ ้น 1 : 75 ความหนาแน่นของสัตว์ตอ่ ตารางเมตรเพิ่มขึ ้น อย่างไรก็ตาม ถ้ าเทียบเงินลงทุน
การใช้ ระบบอ่างน ้าจะถูกกว่ามาก วีพี ฟาร์ ม ได้ คิดเป็ นต้ นทุนในการลงทุนทังระบบอี ้ แวป (ไม่
รวมค่าที่ดิน) ตกตัวละ 2,000 บาท แต่ถ้าเป็ นระบบอ่างน ้าจะตกตัวละ 500-800 บาท ดังนัน้
เพื่ อลดต้ นทุนต่อกิ โลกรั ม ของหมู จึง จ าเป็ นต้ องให้ รอบการเลี ย้ งหมูเร็ วขึน้ โดยให้ กินมากขึน้
เปรี ยบกับคนเราซึง่ ถ้ าทานอาหารในห้ องติดแอร์ ก็จะทานได้ มากกว่าห้ องที่มีอากาศร้ อน

การจัดการที่ดีมีความจาเป็ น

อย่างไรก็ดี คุณยุทธพงศ์ย ้าว่าทุกอย่างไม่ใช่สตู รสาเร็ จ การที่ฟาร์ มหมูมีการติดตังระบบ ้


อี แวปแล้ วไม่ไ ด้ หมายความว่าจะได้ ประสิทธิ ภ าพที่ ดี ขึน้ ทัง้ นี ข้ ึน้ อยู่กับวัตถุดิบ ที่ ป้อนเข้ าไป
หมายถึงหมูเล็กที่จะเข้ าไปขุนมีสขุ ภาพดีหรื อไม่ดี ก็เปรี ยบเหมือนกับการที่เราใช้ วตั ถุดิบคุณภาพ
ไม่ดีป้อนเข้ าไปในเครื่ องจักรที่แม้ จะมีประสิทธิภาพเพียงไร ผลที่ได้ ก็คงไม่ดี การจัดการฟาร์ มจึงมี
ความสาคัญเพื่อให้ หมูเล็กมีสขุ ภาพดี การนาหมูเข้ าในเล้ าอนุบาลจะต้ องใช้ วิธีเข้ าหมดออกหมด
โดยให้ ออกภายใน 3 วันให้ หมดและต้ องให้ หมูที่อายุเท่ากันเข้ าพร้ อมกัน เพราะถ้ านาหมูต่าง
อายุกันเข้ าพร้ อมกันจะเกิดปั ญหาว่ารุ่ นพี่จะถ่ายเชื ้อให้ รุ่นน้ อง การจัดการฟาร์ มหมูนนั ้ การให้
อาหาร การจัดการ และการดูแลหมูต้องสัมพันธ์กนั ระบบอีแวปจึงจะส่งผลที่ดีในส่วนของ วีพี
ฟาร์ ม จะส่ง พนักงานไปฝึ กอบรมและดุง าน และการจัด การฟาร์ ม จะใช้ ร ะบบคอมพิวเตอร์
ควบคุม โดยมีการจัดทาระบบข้ อมูลที่สามารถติดตามและเรี ยกดูได้ ตลอดเวลาที่เรี ยกว่าระบบ
ข้ อมูลเพื่อการจัดการ (Management Information System : MIS)
427

การดัดแปลงเทคโนโลยีชีวภาพหรือไบโอแก๊ ส

ในส่วนของเทคโนโลยี ชีวภาพหรื อไบโอแก๊ สซึ่งมีความจาเป็ นมากในจังหวัดเชียงใหม่


เนื่องจากถ้ าฟาร์ มไม่มีการติดตังระบบไบโอแก๊
้ สแล้ ว ทาง อบต. จะไม่ต่อใบอนุญาตให้ โดย
ปริมาณน ้าเสียในโรงวานต้ องไม่เกิน 60 BOD (Biochemical Oxygen Demand : เป็ นหน่วยวัด
ปริมาณออกซิเจนในน ้า) ก่อนที่ทาง วีพี ฟาร์ ม จะติดตังได้ ้ เดินทางไปดูงานที่จงั หวัดราชบุรี ซึ่งมี
ฟาร์ มหมูขนาดใหญ่ที่ได้ มีการลงทุนติดตังไบโอแก๊้ สไปแล้ ว โดยใช้ เวลาเดินทางไปกลับดูงาน
หลายเดือนเพื่อให้ ชดั เจนในเรื่ องของแนวทางการทางานของไบโอแก๊ ส ในที่สดุ เมื่อคิดว่ามีความรู้
เพียงพอแล้ วก็ได้ คิดลงทุนติดตังระบบไบโอแก๊
้ สในฟาร์ มหมูที่อาเภอแม่ริมซึ่งเป็ นฟาร์ มหมูขุน
โดยเลือกขนาดบ่อความจุขนาด 2,000 ลูกบาศก์ เมตรโดยใช้ วิธีการดัดแปลงเช่นกัน โดย
ดัดแปลงจาก 3 ระบบ ได้ แก่ ระบบของหน่วยก๊ าซชีวภาพของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระบบ
ของลอสแอนเจลิ ส เรี ยกว่า เทคโนโลยี ซิ ลค์โร้ ด (Silkroad) และระบบของกรมส่งเสริ ม
การเกษตร โดยใช้ แบบฟิ กส์โดม และใช้ เครื่ องปั่ นไฟฟ้า 6 ชุดเล็ก ซึ่งพัฒนาเองจากเครื่ องของ
ญี่ ปนโดยพั
ุ่ ฒนาเครื่ องปั่ นไฟมอเตอร์ ให้ ใหญ่ขึ ้น ทาให้ สามารถลดต้ นทุนโดยใช้ เงินเพียง 30%
คือ 4.70 ล้ านบาทในการลงทุน เทียบกับถ้ าหากว่าใช้ ระบบของหน่วยก๊ าซชีวภาพเต็มรูปแบบ
จะต้ องใช้ เงินลงทุนกว่า 10 ล้ านบาท ซึง่ เมื่อเทียบในด้ านประสิทธิภาพการทางานแล้ วไม่ตา่ งกัน
สาหรับเครื่ องปั่ นไฟฟ้า (Generator Set) ที่ดดั แปลงเองทาให้ สามารถประหยัดค่าใช้ จ่ายได้ จาก
6,000,000 บาทเหลือ 1,000,000 บาท
ในเรื่ องไบโอแก๊ สนีค้ ณ
ุ ยุทธพงศ์ย ้าว่า เกษตรกรที่จะพัฒนาไปใช้ ต้องมีความรู้ พื ้นฐาน
เกี่ ยวกับไบโอแก๊ สให้ ดีพอก่อนที่จะไปพัฒนา ไม่ใช่ว่านึกอยากจะทาก็ทาทันที เนื่องจากถ้ ามี
ปั ญหาแล้ วจะแก้ ไขยาก เป็ นเรื่ องที่ต้องระวังมาก นอกจากนี ้ก็ต้องดูพื ้นฐานของฟาร์ มก่อนว่า
เป็ นอย่างไร สิ่งที่ได้ จากระบบนี ้นอกจากเรื่ องลดปั ญหาสิ่งแวดล้ อมที่ดีขึ ้นอย่างเห็นได้ ชดั แล้ วก็คือ
การประหยัดค่ากระแสไฟฟ้า ซึ่งปกติแล้ วฟาร์ มที่แม่ริมจะเสียค่าไฟฟ้าเดือนละ 250,000 บาท
และถ้ าอี กระยะหนึ่งที่ โครงการขยายสร้ างเสร็ จ ความต้ องการใช้ ไฟฟ้าจะเพิ่ม เป็ น 400,000
บาทต่อเดือน แต่ถ้าทาระบบไบโอแก๊ ส เสร็ จสิน้ ลง ในแต่ละวันคาดว่าจะผลิตกระแสไฟฟ้าได้
8,000 หน่วย หรื อเดือนละ 500,000 บาท ซึ่งจะมีมลู ค่ากระแสไฟฟ้าส่วนเกินอีก 100,000
บาท ซึ่ง กาลัง มองหากิ จ กรรมอื่ นมาทาเพิ่ม เพื่ อไม่ให้ ไ ฟฟ้ าสูญเปล่า ส าหรั บฟาร์ ม หมูที่ไ ม่มี
โรงงานอาหารสัตว์ด้วยนัน้ การลงทุนไบโอแก๊ สอาจไม่ค้ มุ หรื อใช้ เวลานานที่จะถึงจุดคุ้มทุน แต่ใน
ส่วนของฟาร์ มเองถื อว่าคุ้มค่า เพราะเป็ นระบบฟาร์ มเลีย้ งสัตว์แบบครบวงจรและยังมีการติด
428

ระบบอีแวปซึง่ ต้ องการใช้ ไฟฟ้ามากในทุกโรงเรื อน และมองไปข้ างหน้ าแล้ วปั ญหาสิ่งแวดล้ อมจะ


ทาให้ ผ้ ปู ระกอบการหนีไม่พ้นทีจะต้ อ งติดตังระบบไบโอแก๊
้ ส ผลที่ได้ จากการนาเทคโนโลยีอีแวป
และไบโอแก๊ ส มาใช้ นัน้ คุ้ม ค่า มากในด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ช่ว ยแก้ ปั ญ หาอุณ หภูมิ เปลี่ ย นแปลง
แก้ ปัญหาเรื่ องยุง กลิ่น ทาให้ อัตราการอดตายของลูกหมูในห้ องคลอดสูงขึน้ โดยมีอัตรา 88%
จากเฉลี่ยของค่ามาตรฐานที่ 80-85% น ้าเชื ้อพ่อพันธุ์ 1 : 75 อัตราแลกเนื ้อ (ที่น ้าหนัก 50
กิโลกรัม หย่านมที่ 21 วัน เข้ าขุนที่ 70 วัน) จานวนรอบการผลิต 3.5-4 รอบ ต้ นทุนเลี ้ยงหมู
ต่อกิโลกรัม 31 บาท ในด้ านการตลาดยังส่งผลดีทาให้ ราคาเนื ้อหมูของ วีพี ฟาร์ ม มีราคาสูง
กว่าท้ องตลาดเนื่องจากเนื ้อหมูมีคณ ุ ภาพดี ซึ่งจากการเลี ้ยงแบบเล้ าปิ ดจะทาให้ ผิวของหมูดีขึ ้น
เพราะไม่โดนยุงกัด คุณยุทธพงศ์เห็นว่า การเลี ้ยงสุกรในยุคนี ้จะต้ องเป็ นมืออาชีพเท่านัน้ เนื่อง
จามาร์ จิ ้นค่อนข้ างต่า ฟาร์ มไหนต้ นทุนต่าก็อยู่รอด ตนเองจะบอกกับลูก ๆ อยู่เสมอว่าให้ ไปทา
อาชีพอื่น ไม่ต้องคิดว่าพ่อแม่ทาอะไร เพราะฟาร์ มหมูต้องอาศัยมืออาชีพจึงจะไปรอด วีพี ฟาร์ ม
เคยทาแคบหมูขายยี่ห้อวีพี ซึ่งได้ รับความนิยมมาก แต่ตดั สินใจเลิกไปเพราะคิดว่าควรเลือกทา
ในสิ่งที่ถนัด ไม่ควรไปแข่งขันกับลูกค้ า ปั จจุบนั คุณยุทธพงศ์ดารงตาแหน่งกรรมการสมาคมผู้
เลี ้ยงสุกรแห่งประเทศไทย และมีเครื อข่ายเกษตรกรผู้เลี ้ยงหมูชนน ั ้ าของประเทศเพื่อแลกเปลี่ยน
ข้ อมูลกันอยูเ่ สมอ
429

เอ เอส ฟาร์ ม (มะม่ วงพันธุ์มหาชนก)

สมาน ศิ ริ ภั ท ร อายุ 65 ปี จบการศึ ก ษาระดั บ ปริ ญญาตรี ภาควิ ช าพื ช ไร่


มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ส่วนคุณอัชณาผู้เป็ นภรรยาจบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี คณะ
เศรษฐศาสตร์ เกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คุณสมานเคยทางานในบริ ษัทอุตสาหกรรม
เกษตรหลายแห่ง และเคยเป็ นกรรมการผู้จดั การของบริษัท ไซโก้ ซึง่ เป็ นบริษัทผู้ผลิตและส่งออก
สับปะรด ปั จจุบนั ดารงตาแหน่งเป็ นกรรมการอานวยการฝ่ ายปฏิบตั ิการเกษตรบริ ษัท ไซโก้ คุณ
สมานได้ ทดลองปลูกมะเฟื องเมื่อ 17 ปี ที่แล้ ว ในพื ้นที่ 10 ไร่ ในบริ เวณอาเภอนิคมพัฒนา
จังหวัดระยอง และสามารถพัฒนาไปสู่การค้ าและได้ ขยายพื ้นที่เพาะปลูกผลไม้ ไปยังอาเภอโป่ ง
น ้าร้ อน จังหวัดจันทบุรี โดยปลูกผลไม้ ห ลายชนิดในระบบผสมผสานรวมทังมะม่ ้ วงพันธุ์ “มหา
ชนก” ปั จจุบนั สามารถผลิตมะเฟื องหวานได้ ปีละ 20-25 ตัน และเริ่มปลูกมะม่วงพันธุ์มหาชนก
300 ตัน โดยเริ่มให้ ผลผลิตและทาตลาดได้ เมื่อปี 2544

คุณสมาน ศิริภัทร

รู ปภาพที่ 44 แสดงภาพเจ้ าของธุรกิจมะม่วงพันธุ์มหาชนก “เอ เอส ฟาร์ ม”


430

ที่มา: (โฆษิต เปี่ ยมรัษฎ์, 2548, หน้ า 69)

เกษตรกรก้ าวหน้ าผู้นีม้ ีการวางแผนการผลิตแลการตลาดให้ เชื่อมโยงกัน โดยกาหนด


เป้ าหมายที่ ต้ อ งการเอาไว้ อย่ า งชัด เจน แล้ วจึ ง ท าการทดลองเพื่ อ ให้ บรรลุเ ป้ าหมายนัน้
คุณสมบัติเหล่านีย้ ากนักที่จะพบในเกษตรกรทั่วไป คาว่า ตลาดของคุณสมานเป้าหมายอยู่ที่
ตลาดบนและตลาดในต่างประเทศซึ่งทาจนประสบความสาเร็ จ โดยความสาเร็ จดังกล่าวเกิดขึ ้น
ภายในแนวคิดที่ ว่า “การผลิ ต โดยอาศั ยธรรมชาติเ พื่ อ ให้ ไ ด้ คุ ณ ภาพสู ง สุ ด ในต้ น ทุ น ที่
ต่าสุด”

บุกเบิกปลูกมะเฟื องหวาน

จากความรับผิดชอบที่ จะต้ องทาการวิจยั และพัฒนาสับปะรดให้ กับบริ ษัท ไซโก้ คุณ


สมานได้ เพิ่มเติมการศึกษาทดลองไปยังผลไม้ อื่นด้ วย ซึ่งประเภทผลไม้ ที่อยู่ในความสนใจนัน้
จะต้ องแปรรูปได้ คุณสมานเล่าว่า เมื่อประมาณ 17-18 ปี ที่แล้ ว ได้ เดินทางไปดูงานในหลาย
ประเทศพบว่า บริการของสายการบินแทบทุกแห่งไม่ว่าจะเป็ นแถบยุโรปหรื อเอเชีย เช่น ไต้ หวัน
ล้ วนมีการเสิร์ฟนา้ ให้ ลูกค้ าด้ วยนา้ ผลไม้ ทงั ้ สิน้ จึงฉุกคิดได้ ว่าประเทศไทยนัน้ เป็ นดินแดนแห่ง
ผลไม้ เรามี ผลไม้ หลากหลายชนิด แต่ทาไมยัง มีการทานา้ ผลไม้ ในรู ปแบบอุตสาหกรรมเพื่ อ
บริโภคน้ อยมาก นี่คือจุดเริ่ มต้ นที่คดิ จะทาน ้าผลไม้ ขึ ้นมา

“มะเฟื อง” เป็ นผลไม้ ประเภทแรกที่คณ


ุ สมานให้ ความสนใจ แม้ ว่าในขณะนันแทบจะไม่

มี ใครทาสวนมะเฟื องเลย เพราะมะเฟื องดูเหมื อนเป็ นผลไม้ ที่ขึน้ ตามธรรมชาติหลัง บ้ านเสี ย
มากกว่า แต่ในยุโรปกลับพบว่ามีมะเฟื องวางขายอย่างแพร่หลาย โดยมาจากประเทศมาเลเซีย
คุณสมานจึงให้ ความสนใจผลไม้ ชนิดนี ้มาก เนื่องจากเห็นว่าเป็ นผลไม้ ที่มีคณ
ุ สมบัตดิ ีหลายอย่าง

ประการแรก เป็ นผลไม้ ที่ มี รู ป ลั ก ษณ์ ที่ ส วยงาม เป็ นดาวห้ าแฉก จึ ง เรี ย กว่ า
“สตาร์ ฟรุ๊ค” และมีผิวสวยดึงดูดสายตาผู้บริโภค
ประการที่สอง มีรสชาติดี ซึ่งคาว่ารสชาติดีนี ้ไม่ใช่รสหวานจัดแบบที่คนไทยส่วนใหญ่
ชอบ แต่เป็ นรสชาติที่ฝรั่งชอบคือ ไม่หวานจัดแต่ต้องมีความสมดุลกันระหว่างค่าความหวานกับ
ความเป็ นกรดหรื อรสเปรี ย้ วที่เรี ยกว่าค่า B : A (อัตราส่วนระหว่างน ้าตาลและกรด Brix Scale :
Acid) ซึ่งควรอยู่ระหว่าง 22-28) สาหรับมะเฟื องจะมีคา่ B : A อยู่ระหว่าง 21-22 เทียบกับ
มะม่วงสุกของเราซึง่ ส่วนใหญ่จะมีคา่ นี ้อยู่ระหว่าง 40-50 แสดงว่าหวานจัด ผลไม้ ที่ไม่รสเปรี ย้ ว
431

หรื อมีกรดต่า ฝรั่งจะไม่ชอบทาน เพราะในความเข้ าใจของเขา ผลไม้ ที่จะมีคณ ุ ค่าทางโภชนาการ


ต้ องมีรสเปรี ย้ วคือมีวิตามินซี นอกจากนี ้ผลไม้ ที่มีกรดต่ายังมีข้อเสียคือ อายุผลไม้ จะสัน้ และมี
ปั ญหาโรคหัวเน่าหรื อแอนแทร็ กโนส ทาให้ ต้องมีการฉี ดพ่นยาซึ่งไม่เป็ นผลดีกับเกษตรกรคือ
นอกจากจะต้ นทุนสูงแข่งกับผู้ผลิตอื่นไม่ได้ แล้ ว ยังเกิดปั ญหาสารตกค้ างอีกด้ วย
ประการที่สาม ผลมะเฟื องมี ความสม่ าเสมอ มี ขนาดไล่เลี่ยกัน (หรื อเรี ยกว่า ยู นิ
ฟอร์ ม)
ประการที่ส่ ี มีวิตามินและเกลือแร่ มาก ในมะเฟื อง 1 ผลจะมี วิตามิ นซีมากกว่าส้ ม
นอกจากนี ้ยังสามารถนามาแปรรูปทาน ้าผลไม้ ได้ ดี

จากข้ อดีของมะเฟื องที่กล่าวมาแล้ ว คุณสมานจึงตัดสินใจที่จะปลูกมะเฟื อง โดยเริ่ มต้ น


จากการคัดเลือกสายพันธุ์ก่อน แต่หลังจากทาการรวบรวมทุกสายพันธุ์ของไทยมาทดลองปลูก ก็
พบว่าสายพันธุ์ของไทยยังมีปัญหาความสมดุลของค่า B : A ที่ไม่ได้ มาตรฐานคือ พันธุ์ที่หวาน
จัด ที่เปรี ย้ วก็เปรี ย้ วจัด แต่ในที่สุดแล้ วหลังจากนาพันธุ์มาเลเซียมาทดลองปลูก พบว่าได้ ค่า
B : A ตามที่ต้องการ การผลิตมะเฟื องของสวนนี ้จะเน้ นให้ ได้ คุณภาพสูงสุดที่ต้นทุนต่าสุด คุณ
สมานกล่าวว่า เหตุที่ต้องให้ ความสาคัญเรื่ องคุณภาพเพราะในปั จจุบนั นี ้คนมีรายได้ สงู ขึ ้น เมื่อมี
เงินมากขึ ้นก็จะเลือกสินค้ าที่มีคณ ุ ภาพดีขึ ้น ผู้ขายสินค้ าก็ต้องขายสิ่งที่เขาต้ องการ นอกจากนี ้
คนยังกลัวตาย อยากอยู่นาน ๆ ก็อยากกินผลไม้ ที่มีคุณภาพ มีคุณค่าทางโภชนาการ และมี
คามปลอดภัยจากสารเคมีตกค้ าง และสุดท้ ายแต่สาคัญมากคือในเรื่ องการแข่งขัน ซึ่งหากขาย
ผลไม้ ประเภทเดียวกันแต่ผลไม้ มีคณ ุ ภาพเด่นจะเป็ นจุดขาย ซึง่ ลูกค้ าจะเต็มใจให้ ราคา
สาหรับหลักการผลิตให้ มีต้นทุนต่าสุดนัน้ ข้อแรก คุณสมานอธิบายว่าต้ องมีเป้าหมายว่า
เราคาดหวังจะได้ คณ ุ ลักษณะอย่างไรจากผลไม้ นนั ้ แล้ วจึงคิดโดยใช้ เหตุและผลว่าทาอย่างไรจึง
จะได้ คณ ุ ลักษณะอย่างนัน้ เช่น อยากให้ ผลไม้ มีผิวเช่นนี ้ควรต้ องทาอย่างไร หลักการข้อที ่สอง
ในการปลูกผลไม้ เราต้ องเข้ าใจและรู้ธรรมชาติของผลไม้ แต่ละประเภท และทาการศึกษาทดลอง
ว่าเราจะเสริมธรรมชาติของเขาด้ วยวิธีการอะไร “การทาเกษตรถ้ าจะแข่งขันระยะยาวเพื่อให้ เกิด
ความยัง่ ยืนแล้ ว เราต้ องใช้ ธรรมชาติช่วย เพราะการสู้ด้วยปั จจัยธรรมชาติเท่านันเกษตรกรไทย

จึงจะสู้กบั เกษตรกรประเทศอื่นได้ สาหรับการแข่งด้ วยเทคโนโลยีเราจะแข่งขันลาบาก เราไม่มี
เทคโนโลยีอะไรที่เหนือกว่าประเทศที่พฒ ั นาแล้ ว เช่น สหรัฐอเมริ กา ออสเตรเลีย และอิสราเอล
บทบาทของเทคโนโลยีในความเห็นของผมจึงเป็ นเพียงตัวเสริ มไม่ใช่ตวั นา คือเสริ มธรรมชาติ
เพื่อให้ ได้ คณ
ุ สมบัตติ ามที่ต้องการเท่านัน” ้ คุณสมานกล่าว
432

นอกจากนี ก้ ารใช้ เทคโนโลยี ที่ ผิ ด ๆ ยั ง อั น ตราย เพราะจะไปท าลายสิ่ ง ที่ เ ป็ น


ลักษณะเฉพาะ (Unique) ของผลไม้ ชนิดนันอี ้ กด้ วย จึงไม่ควรฝื นธรรมชาติของผลไม้ โดยใช้
เทคโนโลยีเป็ นตัวนา ถ้ าเป็ นบริ ษัทขนาดใหญ่ที่มีทนุ มากอาจทาได้ แต่สาหรับเกษตรกรรายย่อย
ไม่ควรทา คุณสมานได้ ให้ ข้อคิดว่า สิ่งที่เกษตรกรควรทาคือการสังเกต หาเหตุและผล แล้ วทา
การทดลอง การสังเกตทาได้ อย่างไร สังเกตสิ่งที่จะเกิดขึ ้นกับต้ นไม้ ว่าถ้ าชาวสวนทาอย่างนี ้แล้ ว
ผลเป็ นอย่างไร หรื อถ้ าเปลี่ยนวิธีใหม่จะดีกว่าก็ควรปรับให้ ดีขึ ้น ถือเป็ นกระบวนการทดลองใน
สวน คุณสมานได้ ยกตัวอย่างของตนเองว่าในช่วงที่ทาสวนใหม่ ๆ คือ ได้ สงั เกตว่าทาไมมะเฟื อง
ในบางปี ไม่ตดิ ลูกหรื อติดลูกที่มีความผิดปกติ เมื่อพิจารณาความผิดปกติของผลอย่างใกล้ ชิดแล้ ว
ก็วิเคราะห์หาสาเหตุต่อไป การหาสาเหตุและการทดลองเป็ นสิ่งจาเป็ น เพราะจะทาให้ เห็นสิ่ง
ผิดปกติ คุณสมานจะเข้ าไปดูสวนทัง้ เช้ าและบ่าย เป็ นการเรี ยนรู้ โดยลงมือทาจริ ง ดังนันเมื ้ ่อ
สังเกตความผิดปกติของผลดังกล่าว ก็พบว่าเกิดจากการมีหนอนมาเจาะตังแต่ ้ ลกู ยังมีขนาดเล็ก
หรื อมีเพลี ้ยไฟเข้ ามากิน เมื่อพบสาเหตุก็พยายามทดลองหาทางแก้ ไข การทาสวนผลไม้ นนต้ ั ้ อง
อาศัยการเอาใจใส่จากเกษตรอย่างใกล้ ชิด เกษตรกรรายย่อยจึงมักจะทาสวนผลไม้ ได้ ดีกว่าการ
ทาเป็ นแปลงขนาดใหญ่ เพราะได้ อ ยู่ใ กล้ ชิ ด กับต้ นไม้ ถึง แม้ นักวิ ช าการเองก็ จ ะรู้ ไม่เ ท่า กับ
ชาวสวนในเรื่ องของมะเฟื อง ถึงแม้ จะเป็ นผลไม้ ที่ไม่มีฤดูกาล แต่ถ้าชาวสวนไม่เอาใจใส่ก็จะ
ไม่ได้ ผลผลิตที่ดีอย่างสม่าเสมอทังปี ้ ถ้ าไม่ดแู ลให้ ดีในฤดูแล้ งอาจจะไม่ออกผล แต่ถ้าเราดูแล
อย่างดีก็จะออกผลต่อเนื่อง และถ้ าจะเน้ นคุณภาพดีจริ ง ๆ นัน้ ต้ องไม่ให้ มะเฟื องมีลกู ดก คือให้
มีปริมาณประมาณไร่ละ 2 ตันต่อปี ถ้ าปล่อยให้ ลกู ดกผลผลิตจะสูงถึง 5-6 ตันต่อปี แต่ไม่ได้
คุณภาพ การจัดการไม่ให้ ลูกดกเพื่อให้ ได้ ผลผลิตที่มีคณ ุ ภาพจะอาศัยการตัดแต่งกิ่ง การปลูก
มะเฟื องจึงไม่แนะนาให้ ทาสวนแบบขยายพื ้นที่แต่ให้ เน้ นการเอาใจใส่มากกว่า
แนวคิดและหลักการปลูกผลไม้ ที่สวนของคุณสมานที่กล่าวมาแล้ วนี ้ไม่ได้ ใช้ เฉพาะกับ
มะเฟื องเท่านัน้ แต่ยงั ได้ นามาประยุกต์ใช้ กบั ผลไม้ ทกุ ประเภทคือ การให้มีคณ ุ ภาพสูงสุดตามที ่
ตลาดต้องการและทาให้ต้นทุนต่าสุด สาหรับมะม่วงที่สวนแห่งนี ้เพิ่งเริ่ มปลูกเมื่อไม่กี่ปีมานี ้ก็ได้
นาเอาหลักการนี ้มาใช้ ในเรื่ องของมะม่วงคุณสมานได้ ตงข้ ั ้ อสังเกตว่า ประเทศไทยปลูกมะม่วง
หลากหลายพันธุ์ และมี ผ ลผลิตมากในแต่ละปี แต่กลับมี การส่ง ออกน้ อยมาก เหตุผลสาคัญ
เนื่องจากคุณภาพไม่สอดคล้ องกับรสนิยมของตลาดและราคาที่ยงั สูง จึงแข่งขันยาก

มะม่ วงมหาชนกเหมาะสมต่ อการส่ งออก

ในเรื่ องของพันธุ์มะม่วงที่เราปลูกนันมี
้ รสชาติที่หวานจัดไปและมีผิวบางเก็บได้ ไม่นาน
เมื่อคิดจะปลูกมะม่วง คุณสมานจึงมองหาพันธุ์มะม่วงที่คิดว่ามีคณ ุ สมบัติเด่นและสามารถสร้ าง
433

ชื่อให้ ประเทศไทยในลักษณะเดียวกับมะม่วงคาราบาวของฟิ ลิปปิ นส์หรื ออัลฟองโซของอินเดีย


และสามารถผลิตโดยมีต้นทุนที่แข่งขันได้ คือ ผลิตได้ ง่าย และสามารถแปรรูปเป็ นน ้ามะม่วงได้ ดี
มาก ในที่สุดแล้ วจากที่ได้ ทาการทดลองจึงได้ พบว่า มะม่วงพันธุ์มหาชนกมีคณ ุ สมบัติเหมาะสม
ที่สุด ประการแรก เป็ นมะม่วงที่มีผิวและเนื ้อแน่นแข็งแรงและเรี ยบกว่ามะม่วงน ้าดอกไม้ และ
เมื่ อ สุก เต็ม ที่ แ ล้ ว จะมี ก ลิ่ น หอมและมี ผิ ว สวยคื อ จะมี สี เหลื อ งทองจนถึ ง ส้ ม ส่ว นหัว มี สี แ ดง
ทางด้ านรู ปร่ างก็ใช้ ได้ จะมีลักษณะยาวขนาดลูกจะไล่เลี่ยกันคือเรี ยกว่ามียูนิฟอร์ ม นา้ หนัก
เฉลี่ย 3-4 ลูกต่อกิโลกรัม มีเมล็ดลีบ และติดผลง่าย ค่า B : A อยู่ที่ 27-28 คุณสมานเชื่อว่า
สามารถทาต้ นทุนได้ เท่ากับมะม่วงแก้ วคือ 4-5 บาทต่อกิโลกรัม และคุณภาพดีกว่าพันธุ์ คารา
บาวของฟิ ลิปปิ นส์ซงึ่ ครองตลาดต่างประเทศอยู่ คุณสมานได้ ทดลองปลูกมะม่วงมหาชนกในสวน
ที่อาเภอโป่ งน ้าร้ อน จังหวัดจันทบุรี ซึ่งที่อาเภอนี ้มีคณ ุ ภาพดินเหมาะสมกับการปลูกผลไม้ มาก
เพราะมีคา่ pH ที่ 6.5 ซึ่งนับว่าหายากมากในประเทศไทย และดินยังมีการระบายน ้าได้ ดีด้วย
วิธีการปลูกมะม่วงพันธุ์นี ้ให้ ได้ คณ ุ สมบัติที่ต้องการและมีต้นทุนต่าคือในช่วงที่มะม่วงติดผลจะให้
น ้าน้ อยหรื อไม่ให้ เลย ถ้ าลูกโตจะหยุดให้ น ้าโดยจะปล่อยตามธรรมชาติ เพราะผลไม้ ถ้าให้ นา้
มากรสชาติจะจืดและเนื อ้ ไม่แน่น เพื่อให้ ได้ รสชาติของมะม่วงเองต้ องไม่ให้ นา้ การใส่ป๋ ยให้ ุ
ต้ นไม้ มากอาจจะได้ ลูกโตก็จริ งแต่จะทาให้ รสชาติเสียไป คุณสมานได้ คิดวิธีที่จะดูแลผิวมะม่วง
ไม่ให้ เป็ นคราบดาก็คิดได้ ว่า การที่มะม่วงผิ วไม่สวยมาจากสาเหตุอะไร คราบดาที่ผิวเกิดจาก
อะไร เมื่อทราบสาเหตุก็หาทางแก้ เช่น การป้องกันเพลีย้ กระโดดกับเชือ้ ราซึ่งจะเข้ าในช่วง
มะม่วงติดลูก โดยคุณสมานจะฉี ดยาตอนติดลูก 2 ครัง้ ครั้งแรก เมื่อเริ่ มติดลูก ครั้งที ่สอง
ก่อนเก็บมะม่วง 1 เดือน เพื่อกันเชื ้อราแอนแทร็กโนส
นอกจากนี ้การจะทาให้ มะม่วงมีผิวสวยตามที่ตลาดต้ องการคือมีสีแดง ทาได้ โดยให้ มีใบ
น้ อย เพื่อให้ แสงแดดส่องเข้ าไปถึง และเพื่อให้ ปริ มาณใบมีน้อยก็ทาได้ โดยการใส่ป๋ ยครั ุ ง้ เดียว
หลักตัดแต่งกิ่ง หลังจากนันจะไม่ ้ ทาอะไรอีก คุณสมานจะใช้ เทคโนโลยีเท่ าที่จาเป็ น โดยกล่าว
ว่า “ปลูกมะม่วงก็ต้องเป็ นมะม่วง ปลูกมะม่วงไม่ควรลงทุนมากมาย ไม่ต้องใส่ป๋ ยุ ใช้ ยา หรื อ
ใช้ น ้ามากมายแบบทุเรี ยน”

เกษตรกรรายย่ อยต้ องมีแนวคิดของตนเอง

คุณ สมานเห็น ว่า การปลูก ผลไม้ นัน้ เกษตรกรควรมี วิธี คิดของตนเอง ไม่ใ ช่ทาตามที่
กระทรวงการเกษตรฯ บอกหรื อทาตามโฆษณา หลักการคือ (1) ให้ ร้ ูว่าเราอยากได้ อะไรก็คิดถึง
เหตุและผลที่จะได้ ตามที่ต้องการ (2) ต้ องเข้ าใจธรรมชาติของผลไม้ และรู้ ว่าเราจะเสริ ม
ธรรมชาติของเขาด้ วยวิธีการอะไร อย่าฝื นธรรมชาติโดยใช้ เทคโนโลยีเข้ าไปนา การให้ ป๋ ยส
ุ าหรับ
434

มะม่วงพันธุ์นี ้ควรให้ เพียงปุ๋ยตัวกลางและตัวสูงคือ ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม ส่วนไนโตรเจน


ไม่ต้องเพราะมะม่วงมหาชนกไม่ต้องการใบมาก เป็ นมะม่วงที่มีเนือ้ แข็งซึ่งเป็ นที่ยืน (Gene)
ของมะม่วงเอง มีผิวหนาตามธรรมชาติ ถ้ าเราไม่ไปทาอะไรที่ผิดธรรมชาติก็จะได้ คณ ุ สมบัติที่
อยากได้ แต่ถ้าไปทาให้ ผิดธรรมชาติเร่ งให้ มะม่วงโตเร็ ว จะมีปัญหาและกลิ่นก็ไม่หอม และ
(3) เกษตรกรต้ องไม่ปลูกพืชชนิดเดียว ควรต้ องมีพืชอายุสนั ้ พืชที่มีอายุปานกลาง และพืชที่มี
อายุยาว เพื่ อรั กษาสภาพแวดล้ อม คุณสมานยังให้ ข้อคิดอี กว่า สาหรั บมะม่วงมหาชนกนัน้
เหมาะกับพื ้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากที่สดุ เหตุผลก็เพราะมีอากาศแห้ ง มะม่วงเป็ นพืชที่
ทนแล้ งและไม่ต้องการนา้ ในช่วงออกดอก ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือฝนจะตกช้ ากว่าภาคอื่ น
และมะม่วงจะออกผลเร็วกว่าภาคอื่น ฝนจะมาในช่วงที่มะม่วงแก่จดั ทาให้ ได้ คณ ุ ภาพดี

หลักการทาตลาด

แนวคิดในเรื่ องการตลาดนันเกษตรกรส่
้ วนใหญ่ยอมรับว่าเป็ นจุดอ่อน สาหรับคุณสมาน
เน้ นว่าจะไม่ทาอะไรที่ แข่งกับจีนคือ จะพยายามทาตลาดบนคือแข่ง ที่ราคาและคุณภาพ ใน
ปั จจุบนั ถ้ าเกษตรกรทาคุณภาพได้ ราคาก็จะตามมาเอง สาหรับมะเฟื องได้ ทาตลาดมาหลายปี
แล้ ว เริ่ มจากทดลองขายที่ห้างฟู้ดแลนด์ ซึ่งในระยะแรกปรากฏว่ามีแต่ชาวญี่ปนที ุ่ ่ซื ้อแต่คนไทย
ไม่ซื ้อ แต่หลังจากนันประมาณ
้ 2-3 ปี ก็เริ่ มมีคนไทยซื ้อ และคนที่ซื ้อไปแล้ วก็จะกลับมาซื ้ออีก
ปั จจุบนั นี ้นอกจากห้ างฟู้ดแลนด์แล้ วก็ยงั มีวางตลาดที่ห้างเดอะมอลล์ทกุ สาขา วิลล่าซุปเปอร์ มาร์
เก็ต และที่โกลเด้ นเพลส โดยปริ มาณจาหน่ายปี ละ 20-25 ตัน ในราคากิโลกรัมละ 50 บาท
ปั จจุบนั ยอดจาหน่ายเพิ่มขึ ้นเรื่ อย ๆ แต่คณ ุ สมานยอมรับว่าตลาดมะเฟื องไม่กว้ างนัก จึงไม่ควร
ขยายพื ้นที่ปลูกมาก แต่ให้ เน้ นความต่อเนื่องดีกว่า นอกจากจาหน่ายในตลาดซุปเปอร์ มาร็ เก็ต
แล้ ว ลูก ค้ า ส าคัญ ของมะเฟื องคื อ บริ ษั ท การบิน ไทยซึ่ง ท าสัญ ญาซื อ้ ไปจัด กระเช้ า ให้ กับ
ผู้โดยสารชันหนึ ้ ่ง เนื่องจากชอบรูปลักษณ์และผิวที่สวยงาม และปั จจุบนั ได้ มีการขยายตลาดลง
สู่ผ้ บู ริ โภคระดับกลางโดยมีผ้ รู ับไปจาหน่ายที่ตลาดน ้าลาพระยา จังหวัดนครปฐม ตลาด อตก.
(องค์การตลาดเพื่อการเกษตร) และมีแนวทางจะส่งออกไปจาหน่ายในตลาดโลก นอกจากนี ้คุณ
สมานยัง ได้ ท าการแปรรู ป ท าน า้ มะเฟื องเข้ ม ข้ น บรรจุข วดแก้ วจ าหน่า ยในซุ ป เปอร์ ม าร์ เ ก็ ต
โกลเด้ นเพลส เลมอนฟาร์ ม และที่อื่น ๆ สาหรับมะม่วงมหาชนกซึ่งเริ่ มให้ ผลผลิตได้ ไม่นานก็ได้ มี
การส่งไปจาหน่ายยังประเทศอังกฤษแล้ วในปริมาณ 3-4 ตัน หลักการในการส่งมะม่วงออก คุณ
สมานกล่าวว่า ต้ นทุนต้ องแข่งขันได้ เพราะถ้ าแพงจะสู้กับฟิ ลิปปิ นส์ไม่ได้ คุณสมานจึงได้ เน้ น
การปลูกโดยธรรมชาติ ไม่ใช้ ปัจจัยการผลิตเกินขอบเขตเพราะจะเป็ นการเพิ่มค่าใช้ จ่าย การผลิต
ต้ องง่าย สาหรับเอ เอส ฟาร์ ม ยืนยันว่าราคามะม่วงมหาชนกมีต้นทุนการผลิตต่าจนสามารถสู้
435

ราคามะม่วงแก้ วผลไม้ ราคาถูกได้ ในด้ านการตลาดผลไม้ คุณสมานให้ ความสนใจประเทศจีน


เนื่องจากเห็นว่าเป็ นตลาดใหญ่ที่มีการกาหนดสเปกไม่เข้ มงวด จึงน่าสนใจมาก

จากประสบการณ์ ที่อยู่กับบริ ษัทอุตสาหกรรมเกษตรมานาน คุณสมานยังให้ ข้อคิดว่า


สาหรับผลไม้ ที่ปลูกปริ มาณมากหรื อที่ซื ้อขายกัน (Commodity) เช่น สับปะรด ก็ยงั มีอนาคต
เพียงแต่ว่าจะทาอย่างไรให้ ไ ด้ ดี ยกตัวอย่างจากที่บริ ษัท ไซโก้ ได้ มาบุกเบิกปลูกสับปะรดที่
จังหวัดระยองซึ่งเดิมไม่มี โดยนาเอาวิธีการปลูกแบบใหม่ไปใช้ กบั เกษตรกรผู้รับช่วงการผลิตคือ
ให้ มีกรรมวิธีผลิตเหมือนกันเพื่อให้ ได้ คณ ุ ภาพและขนาดเท่ากัน จากการพัฒนาวิธีปลูกมาอย่าง
ต่อเนื่อง ปั จจุบนั สามารถส่งออกสับปะรดในรูปผลสดส่งไปยังตลาดในยุโรป ญี่ปนุ่ เกาหลี และ
ตะวันออกกลางโดยการแช่เย็นด้ วยอุณหภูมิ 10-15 oC ความต้ องการในตลาดต่างประเทศก็ยงั
เพิ่มขึ ้นเรื่ อย ๆ เกษตรกรที่ผลิตให้ บริ ษัทก็ได้ ราคาดีกว่าตลาดคือ ตลาดส่งออกรับซื ้อ 4 บาท
ขณะที่เกษตรกรส่งโรงงานได้ กิโลกรัมละ 3 บาท
หมายเหตุ มะม่วงมหาชนกเกิ ดจากการผสมข้ ามพันธุ์ตามธรรมชาติระหว่างมะม่วง
พันธุ์ซนั เซทกับมะม่วงพันธุ์หนังกลางวัน เป็ นมะม่วงที่เหมาะสมจะบริ โภคสดและควรบริ โภคเมื่อ
ผลสุกงอมเต็มที่ทงผล ั ้ โดยสีของเปลือกจะมีสีเหลืองอ่อนกึ่งเหลืองเข้ มทังผล
้ มีกลิ่นหอม เนื ้อมีสี
เหลืองจัดอมส้ ม รสหวานหอม มีเนื ้อต่อผลมาก เมล็ดลีบและบาง เมื่ อสุกแล้ วสามารถเก็บไว้ ได้
นาน 15-30 วัน เนื่องจากมีเปลือกหนาและทนทานกว่ามะม่วงพันธุ์อื่น ๆ
436

บริษัทไทยฮง จากัด

คุณ เกี ยรติศกั ดิ์ ตังเจริ


้ ญสุทธิ ชยั หรื อคุณไต๋ เป็ นเจ้ าของบริ ษัท ไทยฮง จากัด ผู้ส่งออก
ผลไม้ ไ ทย จากพ่อค้ า มาทาแปลงสาธิ ตสวนผลไม้ เกษตรกรศึกษา เพื่อพัฒ นาคุณภาพผลไม้
ส่งออก คุณเกียรติศกั ดิ์ อายุ 46 ปี เป็ นชาวอาเภอแกลง จังหวัดระยอง เป็ นผู้ค้าผลไม้ ส่งออกราย
ใหญ่ของประเทศ ซึ่งมีมลู ค่าการค้ าเฉลี่ย 1,000 กว่าล้ านบาท ส่งออกไม้ ผลปริ มาณมากในแต่ละ
ปี ทังทุ
้ เรี ยน กล้ วยไข่ มะละกอ ชมพูท่ บั ทิมจัน มังคุด และแม้ แต่ลาใยก็ถือเป็ นผู้ที่ส่งออกรายใหญ่
ที่สดุ แม้ เป็ นพ่อค้ า แต่ก็เป็ นพ่อค้ าที่มีความปรารถนาดีตอ่ เกษตรกร ทัศนะของคุณเกียรติศกั ดิ์จึง
เป็ นประโยชน์ ที่เ กษตรกรควรรับฟั ง เพราะเป็ นทัศนะของผู้เชี่ ยวชาญทางด้ านการตลาด คุณ
เกียรติศกั ดิไ์ ด้ อาศัยประสบการณ์ทางการตลาดสร้ างสวนผลไม้ เพื่อเป็ นแบบอย่างการทาสวน โดย
อาศัยความคิดด้ านการตลาด ในปั จจุบนั คุณเกี ยรติศกั ดิ์ทาสวนในพื ้นที่เพาะปลูก 900 ไร่ โดย
ปลูกทุเรี ยนต้ นเตี ้ย 5,000 ต้ น กล้ วยไข่ และแก้ วมังกร และมะละกอเพื่อส่งออก คุณเกี ยรติศกั ดิ์
มองการณ์ไกลว่า ในอนาคตข้ างหน้ าถ้ าชาวสวนผลไม้ ยงั ไม่ให้ ความสาคัญกับการผลิตผลไม้ ที่มี
คุณภาพตามที่ลกู ค้ าต้ องการแล้ ว การส่งออกผลไม้ ของไทยอาจประสบปั ญหา และเพื่อแสดงให้
เห็นว่าการทาสวนผลไม้ ที่มีคณ ุ ภาพดีสม่าเสมอและต้ นทุนต่อกิโลกรัมต่าเป็ นสิ่งที่เป็ นไปได้ จึงได้
ทาการทดลองทาสวนผลไม้ คณ ุ ภาพด้ วยตนเอง โดยนาเอาเทคโนโลยีการทาสวนผลไม้ แบบใหม่ที่
เรี ยกว่า "ต้ นเตี ้ย" มาใช้ จุดมุ่งหมายของเขาไม่ได้ ม่งุ หวังผลทางกาไร แต่เป็ นแปลงสาธิตเพื่อให้
ชาวสวนที่เรี ยกว่าเป็ น คูค่ ้ า ค้ าขายกับตนนันได้
้ มาศึกษา และได้ นาไปใช้ ในพื ้นที่ของตนเอง เพื่อ
มุง่ หวังเพิ่มส่วนแบ่งตลาดผลไม้ ไทยในตลาดโลก การทาทุเรี ยนต้ นเตี ้ยในสวนของคุณเกียรติศกั ดิ์
ได้ พิสจู น์ให้ เห็นว่าได้ ผลในเรื่ องของคุณภาพและต้ นทุน

บทบาทพ่ อค้ าส่ งออกเน้ นสร้ างเครือข่ ายการค้ า

มีคนจานวนมากที่พยายามจะตังตนเป็ ้ นพ่อค้ าส่งผลไม้ ออกต่างประเทศ แต่ก็มีไม่กี่คน


นักที่ประสบความสาเร็ จ คุณเกี ยรติศกั ดิ์เองนันได้ ้ เริ่ มทาธุรกิจส่งออกผลไม้ ไทย เมื่อ 15 ปี ที่แล้ ว
ซึ่งเป็ นการเริ่ มต้ นด้ วยมือเปล่า จากการชักชวนของเกษตรกรที่เป็ น คูค่ ้ า กับตนซึ่งเป็ นชาวฮ่องกง
ซึง่ คุณเกียรติศกั ดิเ์ รี ยกว่า "พาตเนอร์ " ของเขา เนื่องจากพาตเนอร์ ชาวฮ่องกงนี ้ได้ รับประสบการณ์
ที่ไม่ซื่อสัตย์ของเกษตรกรคู่ค้าที่เป็ นคนไทย คุณเกี ยรติศกั ดิ์ขณะนันเป็ ้ นเพี ยงลูกจ้ างของบริ ษัท
437

ส่งออกผลไม้ ไทยแห่งหนึ่ง เขาใช้ เวลาตัดสินในอยู่ 1 ปี กว่า แต่หลังจากได้ เห็นความจริ งใจของ


พาตเนอร์ คนนีท้ ี่พ าตนไปดูตลาดการค้ าของเขาที่ ประเทศฮ่องกง จึงตัดสินใจออกมาทาธุรกิ จ
ส่งออกผลไม้ ของตนเอง ในตอนเริ่ มต้ นปริ มาณการค้ ามีเพียง 4 ตันต่อปี ธุรกิจได้ ขยายตัวมาทุกปี
จนกระทัง่ ปั จจุบนั มีธุรกิจขนส่งสินค้ าทางเครื่ องบินของตนเอง และสามารถทาการส่งออกผลไม้ ไป
ทัว่ โลก มูลค่าการส่งออกในแต่ละปี มากกว่า 1,000 ล้ านบาท เฉพาะในส่วนของทุเรี ยนจะส่งออก
2,000 ตันต่อปี ไปทัว่ โลก ในปี ที่ราคาทุเรี ยนต่ามากจะทาการแช่แข็งดดยการแช่แข็งทุเรี ยนทังลู ้ ก
ซึ่งจะดาเนินการเมื่อราคาทุเรี ยนมีราคาอยู่ระหว่าง 10-14 บาท เนื่องจากผลตอบแทนทุเรี ยนแช่
แข็งจะต่ากว่าทุเรี ยนสด การแช่แข็งต้ องเสียค่าจัดการมาก ทังเป็ ้ นค่าเก็บรักษาและค่าตู้คอนเทน
เนอร์ จึงเป็ นทางเลือกสุดท้ ายเหมือนส่งผลไม้ เข้ าโรงงานกระป๋ อง ปั จจุบนั คุณเกี ยรติศกั ดิ์ส่งออก
กล้ วยไข่ มีรายได้ มากกว่าการส่งออกทุเรี ยน โดยจะส่งไปยังฮ่องกงและจีนประมาณ 10,000-
15,000 ตันต่อปี นอกจากนี ้ยังส่งออกชมพูท่ บั ทิมจันซึง่ มีแนวโน้ มอนาคตที่ดี ประมาณปี ละ 2,000
กล่อง ราคาจาหน่ายกิโลกรัมละ 100-300 บาท และยังมีข้อดีที่ระวางสายการบิน สาหรับชมพู่จะ
ถูกกว่า เนื่ องจากไม่มี กลิ่ นเหม็ น ส าหรั บ ล าใยก็ เป็ นผู้ส่ง ออกรายใหญ่ ที่ สุด เช่นกัน ปั จ จุบัน มี
เครื อข่ายเกษตรกรที่เป็ นลูกค้ าถึง 2,000 ราย เฉพาะรายที่ขายให้ คณ ุ เกียรติศกั ดิ์คนเดียว ไม่ส่งให้
คนอื่ น เลยก็ มี ถึ ง 500 ราย โดยทุก รายติด ต่อ กัน มานานและรู้ จัก ประวัติ กัน ดี ทุก คน การที่ มี
เครื อข่ายจานวนมากเนื่องจากจะให้ ราคาดีกว่าเจ้ าอื่นๆถึง 5 บาทต่อกิโลกรั ม เพราะต้ องการ
รักษาน ้าใจคนที่พยายามสร้ างคุณภาพ การที่ทาเช่นนี ้ได้ เนื่องจากตนเองสามารถขายได้ แพงกว่า
โดยได้ มีการลงทุนทาห้ องอบลาใยทังเปลื ้ อกให้ มีคณ ุ ภาพดีและลงทุนสร้ างห้ องเย็นเก็บลาใย ใน
ส่วนของเครื อข่ายนัน้ คุณเกี ยรติศกั ดิ์กล่าวว่า "คนเราจะเจริ ญได้ ต้องมีฐานลูกค้ าที่ดี เตาต้ องมี
ความสัมพันธ์กบั ลูกค้ า จะเลือกลูกค้ าที่จริ งใจกับเรา ลูกค้ าที่เป็ นลูกค้ าประจาต้ อ งขายเรา 100%
ถ้ าเขาจริงใจกับเรา เราก็จะให้ เทคโนโลยีการผลิตและการจัดการ และบอกแนวทางให้ ก้าวหน้ า

การสร้ างเครือข่ ายการค้ า

เครื อข่ายการค้ าสาหรับตลาดในประเทศกระจายไปทั่วประเทศ ครอบคลุมทังตลาดไท ้


ตลาดสี่มมุ เมือง มีจานวนกว่า 400-500 ราย ทังภาคใต้
้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การซื ้อขาย
จะทาด้ วยเงินสด ด้ วยเหตุผลนีเ้ ขาจึงไม่ส่ง เข้ าตลาดซูเปอร์ มาเก็ ตเพราะต้ องให้ เครดิต และมี
ผู้ขายมากราย สาหรับเครื อข่ายการค้ าต่างประเทศอยู่ที่ประเทศจีน ฮ่องกง สิงคโปร์ อินโดนีเซีย
และแคนาดา ตลาดรายย่อยในประเทศจีนจะมีชาวฮ่องกงเป็ นผู้บริ หาร และมีคนจางประเทศจีน
ดูแลให้ จะไม่ใช่บริ ษัทจากจีนเลย แต่เป็ นการขายเหมา เช่น ที่กวางเจามี 2-3 ตลาด ก็จะซือ้ ให้
เหมาไปเลย การจัดการในประเทศจีนมีการแบ่งแยกตลาดเป็ นเซ็กเม้ นต์ ซึ่งเครื อข่ายที่ฮ่องกงจะ
438

ส่งไปขายต่อที่ประเทศจีนอีกทีหนึ่ง ตลาดใหญ่อนั ดับที่สองอยู่ที่มาเลเซีย ที่สามที่สิงคโปร์ ที่สี่ที่


แคนาดา สาหรับประเทศอื่นๆ เช่น เยอรมนีจะผ่านตัวแทนจาหน่าย การขายทังตลาดในประเทศ ้
และต่างประเทศจะขายเป็ นเงินสด ไม่มีการให้ เครดิต ยกเว้ นจีน สาหรับการจาหน่ายในประเทศ
อื่น เช่น ยุโรป จะมีตวั แทนประเทศละ 1 คน ซึ่งจากชื่อเสียงเรื่ องคุณภาพทาให้ คนเหล่านี ้เป็ นผู้
ติดต่อเราเอง โดยถามจากทางฮ่องกงว่ายี่ห้อไหนดี ใครเป็ นคนส่ง การทายี่ห้อจะมี 2 ส่วนคือ ยี่ห้อ
จากสวน และยี่ห้อจากพ่อค้ า เป็ นลักษณะการรับรองคุณภาพ การทาตลาดหมายถึงการสร้ าง
ภาพว่าถ้ าจะกินลาใยดีต้องมาจากเมืองไทย แม้ ลาใยจากเวียตนามยังปลอมว่าเป็ นของเมืองไทย
และถ้ าเป็ นของจากเมืองไทย ของที่ดีที่สุดคือไต๋หรื อแบรนด์ต้า ทัง้ นี ้การส่งออกจะประทับตรา
"ต้ า" เป็ นสัญลักษณ์แห่งคุณภาพ ลูกค้ าที่ฮอ่ งกงจะทราบดีวา่ ถ้ าจะซื ้อผลไม้ คณ
ุ ภาพต้ องตรานี ้

การทาเกษตรเริ่มจากการปรับโครงสร้ างดิน

จากประสบการณ์ การส่งออกผลไม้ มาร่ วม 15 ปี ทาให้ รับรู้ ปั ญหา ปั ญหาที่ สาคัญคือ


ผลไม้ ไม่ได้ คุณภาพตามมาตรฐานตามที่ลูกค้ าต้ องการ เป็ นต้ นว่า ทุเรี ยนมี สีไม่สม่าเสมอ ตัด
ทุเรี ยนในขณะที่ยงั อ่อน และเปลือกทุเรี ยนมีเชื ้อโรค เช่น หนอน เพลี ้ย รา และอื่นๆ ทาให้ ส่งออก
ไม่ได้ ปั ญหาเหล่านี ้เป็ นแรงบันดาลใจให้ มีความสนใจในการทาแปลงทดลองทาสวนผลไม้ ที่ได้
คุณภาพ การที่คณ ุ เกียรติศกั ดิ์ หรื อคุณไต๋ ได้ มีโอกาสไปดูงานสวนเกษตรในต่างประเทศต่างๆ จึง
ได้ พบเห็นวิธีการทาการเกษตรมามาก จึงได้ ทดลองทา ความตังใจนี ้ ้เริ่ มทาในปี 2541 จากการ
ลงทุนซื ้อที่ดนิ และปรับโครงสร้ างดิน โดยการซื ้อที่ดนิ ที่เป็ นนาเดิมจานวน 900 ไร่ เป็ นเงิน 60 ล้ าน
บาท นอกจากนี ้ลงทุนปรับที่ดิน ค่าขุด 20 ล้ าน ค่าถม 20 ล้ าน สร้ างท่อน ้า 30 ล้ าน รวมลงทุนทา
เกษตร 130 ล้ านบาท และจ้ างผู้เชี่ยวชาญชาวญี่ ปนอี ุ่ กปี ละล้ านกว่าบาท ปี หนึ่งมา 3 ครัง้ จ้ าง
เป็ นเวลา 2 ปี เพื่อเรี ยนเกร็ดความรู้เกร็ ดเล็กเกร็ ดน้ อยจากเขา การที่ต้องลงทุนมากขนาดนี ้เพราะ
เห็นว่า การทาเกษตรนัน้ การปรับโครงสร้ างดินเป็ นสิ่งที่สาคัญที่สดุ ก่อนที่เกษตรกรจะปลูกอะไร
ต้ องปรับโครงสร้ างดินและวิเคราะห์ดินก่อน การปรับโครงสร้ างดินคือการเอามูลสัตว์มาไถพรวน
เพื่อปรับโครงสร้ างดิน และต้ องยกร่องจากขึ ้นจากพื ้นดินอย่างน้ อย 20 นิ ้ว หรื อถึง 50 นิ ้ว เพื่อให้
การถ่ายเทระบายน ้าเป็ นไปได้ ดี ถ้ าเกษตรกรสามารถยกร่ องได้ ถึง 50 นิ ้ว ปลูกอะไรก็จะประสบ
ความสาเร็ จสูง ประโยชน์ข้อแรกถ้ าเกษตรกรวางโครงสร้ างการเพาะปลูกได้ ดี มีการระบายน ้าดี
เท่ากับเป็ นการซื ้อหลักประกัน เสียเงินแต่ค้ มุ เพราะว่าฝนบ้ านเราตกนาน 7 วัน 7 คืน ทาให้ ราก
ต้ นไม้ เน่า เกษตรกรใช้ เวลาปลูกต้ นไม้ หลายปี แต่เวลาเกิดวิกฤติทีเดียวต้ นไม้ ตายหมดทังแปลง ้
แต่ถ้าจัดการดี โดยลงทุนปรับโครงสร้ างดินไร่ละ 20,000 บาท โดยเอาดินมาถม ฝนตกอย่างไรก็
อยูไ่ ด้ ไม่เป็ นไร
439

สรุ ปสาระสาคัญของบทที่ 13

เกษตรกรจานวนไม่น้อยที่ประสบความสาเร็จอย่างสูงในการทาธุรกิจฟาร์ ม สามารถสร้ าง
รายได้ ให้ กบั ครอบครัวได้ อย่างมากมาย เกษตรกรที่เป็ นักธุรกิจเหล่านี ้ มีทงที
ั ้ ่ประสบความสาเร็ จ
ในกิจการที่ตนไม่ได้ มีประสบการณ์มาก่อน แต่ก็ประสบความสาเร็จได้ เช่น ธุรกิจสวนส้ มธนาธร ที่
อดีตเป็ นพ่อค้ าขายส้ มและปลาทูมาก่อน แต่เพราะเป็ นผู้ใฝ่ รู้ ช่างสังเกต ทดลองเพื่อลดต้ นทุนการ
ผลิตและมีความซื่อสัตย์ ธุรกิจฟาร์ มหมูครบวงจร ภายใต้ ชื่อวีพี ฟาร์ ม และมะม่วงพันธุ์มหาชนก
ภายใต้ ชื่อ เอ เอส ฟาร์ ม และผู้มีประสบการณ์มาก่อนในกิจการนันๆ ้ เช่น ผักปลอดสารพิษเพื่อ
การค้ าของธุรกิจผักดอกเตอร์ เป็ นเกษตรกรนักธุรกิจที่มีความเชี่ยวชาญในกิจการของตนสูง การ
ใช้ เ ทคโนโลยี เ พื่ อ ลดต้ น ทุ น และที่ ส าคัญ คื อ มี ค วามสามารถในการบริ ห ารจัด การ โดยให้
ความสาคัญกับการเงินการบัญชีและการตลาด ทาให้ ธุรกิจประสบความสาเร็ จได้ นอกจากนี ้ยังมี
บริ ษัทไทยฮง จากัด ซึ่งเจ้ าของธุรกิจนัน้ จากพ่อค้ าผันตัวเองเป็ นเกษตรกรด้ วยเพื่อเป็ นพ่อค้ าที่ดี
มีจิ ตใจที่เ ป็ นเกษตรกร พยายามหาความรู้ และยอมทุ่มเทให้ กับการเป็ นเกษตรกร ทดลองทา
การเกษตร ใช้ เทคนิคและเทคโนโลยีต่างๆเพื่อช่วยให้ ผลผลิตมีคุ ณภาพดี บุคคลเหล่านี ้ประสบ
ความสาเร็ จในการทาธุรกิจฟาร์ มเหมือนกันด้ วยปั จจัยที่ทงเหมื ั ้ อนและแตกต่าง ควรศึกษาเป็ น
กรณีตวั อย่างแก่เกษตรกรคนอื่นๆต่อไป
440

คาถามท้ ายบท

1. วิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสาเร็จของสวนส้ มธนาธร และสิ่งที่อาจปรับปรุงให้ ดีขึ ้นได้


2. วิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสาเร็จของผักดอกเตอร์ และสิ่งที่อาจปรับปรุงให้ ดีขึ ้นได้
3. วิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสาเร็จของวีพี ฟาร์ ม และสิ่งที่อาจปรับปรุงให้ ดีขึ ้นได้
4. วิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสาเร็จของเอ เอส ฟาร์ ม และสิ่งที่อาจปรับปรุงให้ ดีขึ ้นได้
5. วิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสาเร็จของบริษัทไทยฮง จากัด และสิ่งที่อาจปรับปรุงให้ ดี
ขึ ้นได้
6. วิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจปั จจุบนั ว่าควรเลือกทาธุรกิจฟาร์ มในกิจการใด จึงจะ
เหมาะสม เพราะเหตุใด
7. นาเสนอประวัตเิ กษตรกรดีเด่น สาขาใดก็ได้ 1 คน

You might also like