You are on page 1of 14

กระปุกออมสินจากขวดพลาสติก

คณะผูจ้ ดั ทา

1.นางสาวจิรฐั พ
ิ ร ลุนสะแกวงศ์ ชัน
้ 5/7 เลขที่ 3

2.นางสาวทิพยาภรณ์ ไกรตรี ชัน


้ 5/7 เลขที่ 6

3.นางสาวทิพยาภรณ์ ขาวพราย ชัน


้ 5/7 เลขที่ 7

4.นางสาวพนิดา ถาวรวรรณ์ ชัน


้ 5/7 เลขที่ 13

5.นางสาววริศรา แดงสีบวั ชัน


้ 5/7 เลขที่ 19

6.นางสาวสุพช
ิ ญา วงษ์ คา ชัน
้ 5/7 เลขที่ 32

ครูทป
ี่ รึกษา
นางสาวอรทัย จ่าเหลา

โครงงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี
โรงเรียนกุมภวาปี อาเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี
สานักงานเขตพื้นทีก ่ ารศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี
บทที่ 1
บทนา
1.1 ทีม
่ าและความสาคัญของการทาโครงงาน

ในปัจจุบน
ั โลกของเรานัน ้ มีววิ ฒ
ั นาการทีก่ า้ วหน้าเป็ นอย่างมาก ซึง่
ได้มีการประดิษฐ์คดิ ค้นผลิตภัณฑ์ขน ึ้ มาเพือ
่ อานวยความสะดวก และ
ตอบสนองความต้องการของบุคคลในสังคมปัจจุบน ั ทีม
่ ีความต้องการอยู่
ไม่จากัด ทาให้มีการผลิตสินค้าผลิตภัณฑ์ตา่ งๆขึน ้ มาอยูเ่ รือ
่ ยๆ

การผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ตา่ งๆทีม ่ ีการวิวฒ ั นาการหรือ


พัฒนาขึน ้ มานัน ้ ก็มีทง้ ั ข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันไปตามลักษณะการใช้
งานและวัสดุในการผลิต ซึง่ ข้อดีของการใช้สน ิ ค้าผลิตภัณฑ์เหล่านี้ ส่วน
ใหญ่ ก็คอ ื สามารถอานวยความสะดวก ประหยัดเวลา ส่วนข้อเสียของการ
ใช้สน ิ ค้าผลิตภัณฑ์เหล่านี้ ส่วนใหญ่ก็คอ ื สิน ้ เปลืองเงิน ไม่เป็ นมิตรต่อ
สิง่ แวดล้อม ย่อยสลายยาก เนื่องจากเทคโนโลยีในการผลิตสินค้าผลิตภัณฑ์
ในปัจจุบน ั วัสดุสว่ นใหญ่ทใี่ ช้จะเป็ นพลาสติกหรือโลหะ ซึง่ มีราคาแพงกว่า
วัสดุทห ี่ าได้จากธรรมชาติ และย่อยสลายได้ยากกว่าวัสดุจากธรรมชาติ
รวมทัง้ มีการใช้สารเคมีตา่ งๆ ซึ่งสามารถส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมทีอ ่ ยู่
โดยรอบแหล่งผลิต และเมือ ่ สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ชนิดนัน ้ ๆหมดอายุการใช้
งาน สิง่ เหล่านัน ้ ก็จะกลายเป็ นขยะ

“ขยะ” คือ ของเหลือทิง้ ทีเ่ กิดจากการใช้สอยของมนุษย์ หรือจาก


ขบวนการผลิตจากกิจกรรมภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม

เมือ่ สินค้าและผลิตภัณฑ์ทใี่ ช้แล้วหมดอายุการใช้งานหรือยังไม่ได้ใช้งาน


เป็ นเวลานานแล้วหมดอายุไป ก็จะกลายเป็ นขยะทีต ่ อ
้ งรอเวลาย่อยสลาย
หรือถูกทาลายไป และเนื่องจากการผลิตสินค้าผลิตภัณฑ์ทม ี่ ีการพัฒนา
และมีจานวนเพิม ้ ทาให้ขยะทีเ่ กิดจากสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่
่ มากขึน
หมดอายุไป ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมเป็ นอย่างมาก เช่น ส่งกลิน ่ เหม็น
เป็ นทีอ่ ยูข
่ องสิง่ สกปรกต่างๆ มีการสะสมของสารเคมีในชัน ้ บรรยากาศ ซึง่
อาจส่งผลทาให้ขยะเหล่านี้เป็ นขยะอันตราย
“ขยะอันตราย” คือ ขยะทีม ่ ีพษ
ิ และเป็ นอันตรายต่อสิง่ มีชีวต
ิ และ
สิง่ แวดล้อม เช่น หลอดไฟ แบตเตอรี่ มือถือ ถ่านไฟฉาย ยาฆ่าแมลง ยา
รักษาโรคทีเ่ สือ
่ มสภาพ สีทาบ้าน เป็ นต้น

ปัจจุบน
ั นี้ขยะเป็ นปัญหาสาคัญในระดับโลกทีห ่ ลายประเทศต่างๆ
ประสบปัญหานี้ เนื่องจากมีจานวนขยะเพิม ้ ทุกปี ทัง้ ขยะจากการ
่ ขึน
อุตสาหกรรม การเกษตร ครัวเรือน สารเคมีอน ั ตราย ซึ่งล้วนแต่เป็ นขยะที่
ยากต่อการกาจัดนี้ หลายประเทศจึงมีการคิดวิธีทจี่ ะแก้ไขปัญหาขยะ เพือ ่
ลดปริมาณขยะทีเ่ ป็ นพิษต่อสิง่ แวดล้อม

ประเทศไทยเป็ นอีกประเทศหนึ่งทีป ่ ระสบปัญหาขยะเนื่องจากคน


ไทยไม่มีวน ิ ยั ในการลดการใช้ถุงพลาสติก โฟม ฯลฯ เป็ นขยะทีย่ ากต่อการ
ย่อยสลายและขาดความเข้าใจทีถ ่ ูกต้องในการทิง้ ขยะทีด ี งึ่ ปัจจุบน
่ ซ ั องค์กร
ต่างๆก็ลว้ นตระหนักถึงปัญหาขยะและคิดหาวิธีการแก้ไขปัญหาขยะเห็น
ได้จากสิง่ ต่างๆเช่นโทรทัศน์วท ิ ยุ อินเทอร์เน็ต
ทีต
่ า่ งนาประเด็นปัญหาขยะและวิธีแก้ไขมาเสนอรวมทัง้ มีการรณรงค์
ต่างๆเช่น การใช้ถุงผ้า การรีไซเคิลขยะ เป็ นต้น รวมถึงการคัดแยกขยะซึง่
เป็ นวิธีทเี่ ราสามารถนาขยะบางชนิดกลับมาใช้ได้อีกครัง้ โดยผ่าน
กระบวนการต่างๆหรือการรีไซเคิล แต่คนไทยส่วนใหญ่ไม่ได้ให้ความ
สนใจและตระหนักปัญหานี้เท่าทีค ่ วร

ในปัจจุบน ั คนเราต่างทัง้ ขยะกันโดยไม่คานึงถึงการเกิดปัญหา


ตามมา เช่น ปัญหาขยะล้นโลก และในหมูบ ่ า้ นของเรานัน
้ ก็ทงิ้ ขยะไม่เป็ นที่
และไม่แยกขยะกันอย่างถูกวิธี จึงก่อให้เกิดปัญหาตามมา

ในปัจจุบนั โรงเรียนพะเยาพิทยาคมมีนกั เรียนจานวนมากกว่า


3,000 คน และบุคลากรมากกว่า 200 คน ทาให้ปริมาณในการผลิตสินค้า
มีมาก และคาดว่าจะมีเพิม ้
่ มากยิง่ ขึน เพือ ่ ตอบสนองความต้องการของ
นักเรียนและบุคลากรต่างๆได้อย่างทั่วถึง แต่การผลิตสินค้าทีม ่ ากขึน ้ นัน

กลับส่งผลกระทบต่อโรงเรียนจนก่อให้เกิดปัญหาตามมา นัน ้ ก็คอ ื ปัญหา
การทิง้ ขยะเกลือ่ นกลาดในโรงเรียน ทาให้โรงเรียนมีภาพลักษณ์ ที่
หม่นหมอง ไม่น่าดู เนื่องจากโรงเรียนเต็มไปด้วยขยะทีส ่ กปรก อีกทัง้ ยังส่ง
กลิน
่ เน่ าเหม็น จนทาให้นกั เรียนทีเ่ รียนอยูใ่ นสถานทีท ่ อ
ี่ ยูใ่ กล้ทที่ งิ้ ขยะไม่มี
สมาธิในการเรียน

ปัญหาการทิง้ ขยะเกลือ
่ นกลาดนัน ้ มานานแล้ว
้ เป็ นปัญหาทีเ่ กิดขึน
แต่ไม่ได้ถูกจากัดไปอย่างจริงจัง และอีกทัง้ ปัญหานี้ก็จะยิง่ มีเพิม ้
่ มากขึน
เนื่องจากการทิง้ ขยะของคนในโรงเรียนทีไ่ ม่เป็ นทีแ
่ ละตรงจุดจนขยะล้น
ออกมาและเกลือ ่ นกลาดในบริเวณโดยรอบ
จากปัญหาดังกล่าว ผูจ้ ดั ทาจึงมารวมแนวความคิด เพือ ่ นาขยะทีเ่ ป็ น
ขวดน้าพลาสติกมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์โดยการทาเป็ นกระปุก
ออมสิน เพือ ่ ลดปัญหาขยะในโรงเรียนและได้ใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์
อีกทัง้ สร้างความน่ าสนใจ ดึงดูดให้รจู ้ กั รักการออม ซึง่ สามารถใช้งานได้ดี
กับผูค ้ นทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะเด็ก เพราะเด็กจะได้รบ ั การปลูกฝัง
จิตสานึกทีด ่ ใี นการออมเงินตัง้ แต่อายุยงั น้อย เมือ
่ เด็กเติบโตขึน้ เด็กก็จะ
สามารถนาคุณธรรมทีด ่ น
ี ี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น การใช้จา่ ยอย่าง
ประหยัด ไม่ฟุ่มเฟื อย การรูจ้ กั ใช้จา่ ยเงินอย่างเหมาะสมกับวัยและคานึงถึง
ความจาเป็ น

1.2 วัตถุประสงค์ของการทาโครงงาน

1.2.1 เพือ
่ ศึกษาและดาเนินการทากระปุกออมสินจากขวด
พลาสติก

1.2.2 เพือ
่ ให้ปญ
ั หาขยะเกลือ
่ นกลาดลดลง

1.2.3 เพือ
่ คัดความเข้าใจผูใ้ ช้กระปุกออมสินจากขวดพลาสติก

1.3 สมมติฐานของการทาโครงงาน

1.3.1 กระปุกออมสินจากขวดพลาสติกทาให้ปญ
ั หาปริมาณขยะที่
เป็ นขวดพลาสติกลดลง

1.3.2 กระปุกออมสินจากขวดพลาสติกให้ปญ
ั หาขยะเกลือ
่ นกลาด

1.3.3 ผูอ
้ า่ นสามารถนาสาระทีไ่ ด้นาไปใช้ในชีวต
ิ ประจาวัน
สามารถใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ ซึง่ อาจร่วมกันประดิษฐ์ภายในครอบครัว
เป็ นการเสริมสร้างสัมพันธภาพทีด
่ ภ
ี ายในครอบครัว และใช้เวลาอยู่
ร่วมกันกับคนในครอบครัวได้อีกด้วย
1.4 ประโยชน์ ของการทาโครงงาน

1.4.1 ได้กระปุกออมสินทีท ่ าเองมาใช้


1.4.2 ใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์
1.4.3 มีเงินเก็บจากการหยอดกระปุกออมสิน

1.5 ขอบเขตของการศึกษา
1.5.1 ตัวแปรในการศึกษา

1.5.1.1 ตัวแปรต้น คือ กระปุกออมสินจากขวดพลาสติก

1.5.1.2 ตัวแปรตาม คือ

(1) ขวดน้าพลาสติกเหลือใช้นามาประยุกต์ใช้ได้

(2) ความพึง่ พอใจผูใ้ ช้กระปุกออมสินจากความพลาสติก

1.5.1.3 ตัวแปรควบคุม คือ ขนาดขวดและฟี เจอร์บอร์ด

1.5.1.4 ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการศึกษา


การดาเนินการใน ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564

1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ
กระปุกออมสินจากขวดพลาสติก หมายถึง สิง่ ประดิษฐ์ทรี่ ีไซเคิล
กลับมาใช้ใหม่
บทที่ 2
หลักการ ทฤษฎี และเอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง

ในการศึกษา กระปุกออมสินจากขวดพลาสติก ครัง้ นี้ คณะผูจ้ ดั ทา


ได้ศก
ึ ษาหลักการ ทฤษฎี และ เอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง ดังนาเสนอตามลาดับ
หัวข้อ ดังนี้

1.การประดิษฐ์

2.พลาสติก

3.รีไซเคิลขวด PET ใช้ใหม่ได้

1. การประดิษฐ์
ความหมายของงานประดิษฐ์ งานประดิษฐ์ หมายถึง สิง่ ทีจ่ ดั ทาขึน ้
โดยใช้ความคิด สร้างสรรค์ให้เกิดความประณีต สวยงาม น่ าสนใจ เพือ ่
ประโยชน์ทพ ี่ งึ ประสงค์ เช่น งานประดิษฐ์ดอกไม้ ผ้ารองจาน กระเป๋ า
ตุก
๊ ตา ทีค ่ ่น
ั หนังสือ กระทงใบตอง บายศรี พานดอกไม้ มาลัยแบบอืน ่ ๆ
2. พลาสติก
พลาสติกเป็ นวัสดุสงั เคราะห์ทม ี่ นุษย์รจู ้ กั มานานกว่า ๑๓๐ ปี และ
นามาใช้ประโยชน์ แทนโลหะ ไม้ หรือวัสดุธรรมชาติอืน ่ ๆ เช่น ทาเส้นใย
สาหรับผลิตสิง่ ทอ หล่อเป็ นลาเรือ และชิ้นส่วนของยานยนต์ ภาชนะ และ
วัสดุบรรจุภณ ั ฑ์ตา่ งๆ รวมทัง้ อุปกรณ์ และเครือ ่ งใช้อืน
่ ๆ อีกมากปัจจุบน ั
พลาสติกมีบทบาทอย่างยิง่ ในชีวต ิ ประจาวัน เราจะพบเห็นพลาสติกในรูป
ของผลิตภัณฑ์ทห ี่ ลากหลาย ตัง้ แต่ตน ื่ นอนตอนเช้าจนกระทั่งเข้านอนใน
ตอนกลางคืนเริม ่ ตัง้ แต่แปรงสีฟน ั หวี กล่องใส่สบู่ ขวด และกระปุก
เครือ่ งสาอาง เครือ ่ งประดับของสตรี หัวก๊อกน้า ฝักบัวและสายยาง ประตู
ห้องน้า เสื้อผ้า กระดุม ถุงเท้า รองเท้า เครือ ่ งใช้ไฟฟ้ า วิทยุ โทรทัศน์ ถ้วย
จาน โต๊ะ เก้าอี้ เครือ ่ งตกแต่งบ้าน สีทาบ้ากระเบื้องมุงหลังคาแบบโปร่ง
แสง ชิน ้ ส่วนรถยนต์และพาหนะอืน ่ ๆ กระเป๋ า เครือ ่ งใช้สานักงานต่างๆ
ตลอดจนอุปกรณ์ การแพทย์และชิน ้ ส่วนอวัยวะเทียม อาจกล่าวได้วา่ ไม่วา่
จะไปทีแ ่ ห่งใดก็จะพบเห็นพลาสติกเสมอ
พลาสติกเป็ นวัสดุทม ี่ นุษย์ประดิษฐ์ขน ึ้ โดยการนาวัตถุดบ ิ ทีไ่ ด้จาก
ธรรมชาติ เช่น น้ามันปิ โตรเลียม มาแยกเป็ นสารประกอบบริสุทธิห ์ ลาย
ชนิด ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นสารประกอบระหว่างคาร์บอน (ถ่าน) กับก๊าซ
ไฮโดรเจน เมือ ่ นาเอาสารประกอบแต่ละชนิดมาทาปฏิกริ ยิ าให้มีลกั ษณะ
ต่อ ๆ กันเป็ นเส้นสายยาวมากๆ ก็จะได้วสั ดุทม ี่ ีสมบัตเิ ป็ นพลาสติก
พลาสติกทีเ่ กิดจากสารประกอบทีต ่ า่ งกันจะมีสมบัตแ ิ ตกต่างกันไปด้วย
และพลาสติกบางชนิดอาจเกิดจากสารประกอบมากกว่า ๑ ชนิดก็ได้
หัวข้อ
ประวัตก ิ ารทาพลาสติก
วัตถุดบ ิ จากธรรมชาติสาหรับการผลิตพลาสติก
ประวัตก ิ ารทาพลาสติก
มนุษย์รูจ้ กั ใช้ประโยชน์ จากปฏิกริ ยิ าเคมี และทาพลาสติกขึน ้ มาใช้เป็ นครัง้
แรก เมือ ่ ค.ศ. ๑๘๖๘ โดย จอห์น เวสลีย์ ไฮแอท (John wesley
Hyatt) นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกน ั ได้ทาการทดลองผลิตวัสดุชนิดหนึ่ง
จากปฏิกริ ยิ าของเซลลูโลสไนเทรตกับการบูร ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวสามารถ
ทาเป็ นแผ่นแบนบาง มีความใสคล้ายกระจกแต่มว้ นหรืองอได้ และได้
เรียกชือ ่ ตามวัตถุดบ ิ ทีใ่ ช้วา่ “เซลลูโลสไนเทรต” ต่อมาพลาสติกชนิดนี้ได้
เป็ นทีร่ จู ้ กั แพร่หลาย และเป็ นทีน ่ ิยม เรียกว่า “เซลลูลอยด์”
(Celluloid) การพัฒนาผลิตภัณฑ์พลาสติกเชิงอุตสาหกรรมได้ดาเนินไป
อย่างรวดเร็วทาให้มีพลาสติกชนิดอืน ้ ตามมาอีกมากมาย
่ ๆ เกิดขึน
อุตสาหกรรมพลาสติกโนประเทศไทยเริม ่ มีมาตัง้ แต่ประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๐
ในระยะแรกมีการนาเข้าพลาสติกเรซินจากต่างประเทศ มาผลิตเป็ น
ผลิตภัณฑ์พลาสติกกันประปราย ต่อมาใน พ.ศ. ๒๕๐๖จึงได้มีการก่อตัง้
โรงงานอุตสาหกรรมผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกขนาดใหญ่ขน ึ้ แต่ยงั คงต้อง
นาเข้าเรซินจากต่างประเทศเช่นกันจนกระทั่งใน พ.ศ. ๒๕๑๔ ประเทศ
ไทยจึงสามารถผลิตพลาสติกเรซิน คือ พีวีซี ได้เองเป็ นชนิดแรก ปัจจุบน ั
ประเทศไทยสามารถผลิตพลาสติกได้อีกหลายชนิด เช่น พอลิเอทิลีน พอลิ
โพรไพลีน พอลิสไตรีน และพอลิเอสเทอร์
วัตถุดบิ จากธรรมชาติสาหรับการผลิตพลาสติก
วัตถุดบ ิ ทีส
่ าคัญทีใ่ ช้สาหรับการผลิตพลาสติกคือ ผลิตภัณฑ์ทีไ่ ด้จาก
ปิ โตรเลียมก๊าซธรรมชาติ ถ่านหินแร่ธาตุตา่ งๆ เป็ นส่วนใหญ่ นอกจากนี้
อาจผลิตจากน้ามันพืช และส่วนต่างๆ ของพืชได้เช่นกัน
– ปิ โตรเลียม
ปิ โตรเลียมเป็ นแหล่งวัตถุดบ ิ ทีส
่ าคัญทีส
่ ุดสาหรับอุตสาหกรรมพลาสติก
แทบทุกชนิด ประเทศไทยมีแหล่งผลิตปิ โตรเลียมหลายแห่ง แต่ไม่มีการ
นามาทาประโยชน์ในด้านผลิตภัณฑ์พลาสติก มีเพียงการนามาใช้เป็ น
เชื้อเพลิงเท่านัน ้ ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้จากการกลั่นน้ามันปิ โตรเลียม และ
สามารถนามาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตพลาสติกทีส ่ าคัญ ได้แก่ สารใน
กลุม่ โอเลฟิ น (Olefins) เช่น มีเทน อีเทน โพรเพน บิวเทนและเพนเทน
และสารในกลุม ่ อะโรแมติก(Aromatics) เช่น เบนซีน และอนุพนธ์ของ
เบนซีน สารทัง้ ๒ กลุม ่ สามารถนามาผลิตมอนอเมอร์ได้มากมายหลาย
ชนิด
– ก๊าซธรรมชาติ
ก๊าซธรรมชาติทพ ี่ บในประเทศไทยมีสว่ นประกอบเป็ นสารไฮโดรคาร์บอน
ทีส
่ าคัญคือ มีเทน อีเทน โพรเพน และบิวเทนเป็ นส่วนใหญ่ สาร
ไฮโดรคาร์บอนเหล่านี้ใช้เป็ นวัตถุดบ ิ ในการผลิตเอทิลีนมอนอเมอร์และ
โพรไพลีนมอนอเมอร์ ซึง่ เป็ นสารเริม ่ ต้นสาหรับการผลิตพลาสติกหลาย
ชนิด
– ถ่านหินและลิกไนต์
ประเทศไทยมีแหล่งลิกไนต์สาคัญ ๒ แห่งคือ ทีแ ่ ม่เมาะ จังหวัดลาปาง
และทีจ่ งั หวัดกระบี่ ประโยชน์ของลิกไนต์นอกจากใช้เป็ นเชื้อเพลิงสาหรับ
การผลิตกระแสไฟฟ้ าแล้ว ยังใช้ผลิตเบนซีน และอนุพน ั ธ์ของเบนซีน เช่น
สไตรีนมอนอเมอร์ ได้ดว้ ย
– พืชและน้ามันพืช
วัตถุดบ ิ ทีใ่ ช้ในการผลิตพลาสติกบางชนิด ได้แก่ ส่วนต่าง ๆ ของพืชและ
น้ามันพืช เช่น เซลลูโลส เชลแล็ก และกรดไขมันต่างๆ
– แร่ธาตุตา่ งๆ
สินแร่บางชนิด เช่น ถ่านโค้ก และหินปูน เป็ นวัตถุดบ ิ ทีใ่ ช้ผลิต
แคลเซียมคาร์ไบด์ ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตอะเซทิลีน นอกจากนี้
คลอรีนทีผ ่ ลิตได้จากน้าทะเล ตลอดจนแร่ใยหินได้นามาใช้สาหรับผลิต
พลาสติกเสริมแรง
วัตถุดบ ิ ทีใ่ ช้เป็ นสารเริม
่ ต้นสาหรับการผลิตพลาสติกทีไ่ ด้จากแหล่งต่าง ๆ
นัน ้ จะมีลกั ษณะเป็ นสารไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลเดีย่ ว เรียกว่า มอนอเมอร์
ทีส่ าคัญ ได้แก่ เอทิลีน ไวนิลคลอไรด์ ไวนิลฟลูออไรด์ โพรไพลีน บิวทา
ไดอีน เบนซีน ไซลีน ฟี นอล ยูเรีย และฟอร์มาลตีไฮด์
3. การรีไซเคิลขวดน้า

 ขวดพลาสติก PET สามารถนาไปรีไซเคิลได้สูงสุดถึง 10 ครัง้ ช่วย


ลดปัญหาขยะจากพลาสติกใช้ครัง้ เดียวทิง้ (Single-use plastic)

 การรีไซเคิลขวดพลาสติก 1 ตัน ช่วยประหยัดน้ามันดิบได้มากถึง


3.8 บาร์เรล (ประมาณ 604 ลิตร)

 การรีไซเคิลขวดพลาสติก 1 ตัน ช่วยประหยัดพื้นทีใ่ นการฝังกลบ


ลบขยะได้มากถึง 5.7 ลูกบาศก์เมตร

 การรีไซเคิลขวดพลาสติก ช่วยลดปริมาณมลพิษในอากาศจากการ
เผาขยะ ลดมลพิษในดินจากสารเคมีทซ ี่ ม
ึ ในหลุมฝังกลบ รวมถึงลด
โอกาสทีไ่ มโครพลาสติกปนเปื้ อนไปในแหล่งน้า
บทที่ 3
วิธีดาเนินการศึกษา
ในการศึกษา กระปุกออมสินจากขวดพลาสติก ครัง้ นี้ คณะผูจ้ ดั ทา
ดาเนินการ ดังนาเสนอตามลาดับหัวข้อต่อไปนี้
1. ขอบเขตการศึกษา
2. ขัน้ ตอนการดาเนินงาน
3. วัสดุอุปกรณ์ ในการดาเนินงาน
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
5. การจัดกระทาข้อมูลและการวิเคราะห์ขอ้ มูล
6. สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ
้ มูล
3.1 ขอบเขตการศึกษา
3.1.1 ตัวแปรในการศึกษา

3.1.1.1 ตัวแปรต้น
(1) ใช้สีในการทาขวดน้าให้มีสีสนั
(2) ใช้กระดาษสีตดั ตกแต่งให้มีสีสน

3.1.1.2 ตัวแปรตาม
(1) การใช้สี กว่าจะรอให้สีแห้งต้องใช้เวลานาน ถ้าสีไม่แห้งสนิทจะ
ทาให้ตด
ิ มือ
(2) ใช้กระดาษ ลดระยะเวลาในการทา ไม่ตด ิ มือ

3.1.1.3 ตัวแปรควบคุม
(1) จับเวลาในการทา
(2) ทาในพื้นทีเ่ ดียวกัน

3.1.2 ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการศึกษา


ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564
3.2 ขัน ้ ตอนการดาเนินงาน
3.2.1 คัดเลือกหัวข้อโครงงานทีส ่ นใจ
ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อทีจ่ ะนามาพัฒนาโครงงาน ควร
พิจารณาองค์ประกอบสาคัญ ดังนี้
3.2.1.1 ต้องมีความรูแ ้ ละทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอใน
หัวข้อเรือ่ งทีจ่ ะศึกษา
3.2.1.2 มีแหล่งความรูเ้ พียงพอทีจ่ ะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา
3.2.1.3 มีเวลาเพียงพอ
3.2.1.4 มีงบประมาณเพียงพอ
3.2.1.5 มีความปลอดภัย
3.2.2 ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ ่ ง
ทีส
่ นใจ
เรือ
่ งว่ามีเนื้อหามากน้อยเพียงใดและต้องศึกษาค้นคว้า
เพิม่ เติมเพียงใด รวมทัง้ ได้ความรูเ้ พิม ่ เติมในเรือ ่ งทีจ่ ะศึกษาและเก็บ
ข้อมูลไว้เพือ่ จัดทาเนื้อหาต่อไป
3.2.3 จัดทาเค้าโครงของโครงงานทีจ่ ะทา มีรายละเอียดดังนี้
3.2.3.1 ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิงและรวบรวมข้อมูล
3.2.3.2 วิเคราะห์ขอ ้ มูลเพือ ่ กาหนดขอบเขตและลักษณะของ
โครงการทีจ่ ะพัฒนา
3.2.3.4 กาหนดตารางการปฏิบตั งิ านของการจัดทาเค้าโครง
ของโครงงานลงมือทาโครงงานและสรุปรายงานโครงงาน
3.2.3.5 ทาการพัฒนาโครงงานขัน ้ ต้น
3.2.3.6 เสนอเค้าโครงของโครงงานต่ออาจารย์ทป ี่ รึกษา
เพือ ่ ขอคาแนะนาและปรับปรุงแก้ไข เพือ ่ ให้การวางแผนและดาเนินการ
ทาโครงงานเป็ นไปอย่างเหมาะสมเป็ นขัน ้ ตอน ตัง้ แต่เริม
่ ต้นจนสิน้ สุด
3.2.4 การลงมือทาโครงงาน
เป็ นการลงมือพัฒนาตามขัน ้ ตอนทีว่ างแผนไว้

3.2.5 นาเสนองาน
เป็ นขัน
้ ตอนสุดท้ายของการจัดทาโครงงานเป็ นการนาผล
การดาเนินงานทัง้ หมดมาเสนอให้ผอ ู ้ ืน
่ ได้ทราบ อาจมีลกั ษณะเป็ นเอกสาร
้ งาน แบบจาลอง ฯลฯ ซึง่ สามารถนาเสนอในรูปแบบที่
รายงาน ชิน
หลากหลาย เช่น การจัดนิทรรศการ การแสดง การสาธิต การบรรยาย
การจัดทาสือ่ สิง่ พิมพ์ การจัดทาสือ
่ มัลติมีเดีย
3.2.1 คัดเลือกหัวข้อโครงงานทีส ่ นใจจะทา โดยทั่วไปเรือ ่ งทีไ่ ด้มกั
ได้จากปัญหา คาถาม หรือความสนใจในเรือ ่ งต่าง ๆ จากการสังเกตสิง่ ต่าง
ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิง่ ต่างๆ ทีอ ่ ยูร่ อบตัวเรา จาก
แหล่งข้อมูลทีเ่ ชือ ่ ถือได้
3.2.2 ศึกษาค้นคว้าและวางแผน การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและ
แหล่งข้อมูล รวมถึงการขอคาปรึกษาจากผูท ้ รงคุณวุฒิ จะช่วยให้นกั เรียน
ได้แนวคิดทีใ่ ช้ในการกาหนดขอบเขตของเรือ ่ งทีจ่ ะศึกษาได้
เฉพาะเจาะจงมากยิง่ ขึน ้ รวมทัง้ ได้ความรูเ้ พิม ่ เติมในเรือ ่ งทีจ่ ะศึกษา จน
สามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนัน ้ ได้
3.2.3 จัดทาเค้าโครงของโครงงานทีจ่ ะทา ดังนี้
3.2.3.1 ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิงและรวบรวมข้อมูลทีไ่ ด้
จากผูท ้ รงคุณวุฒแ ิ ละทางอินเทอร์เน็ต
3.2.3.2 วิเคราะห์ขอ ้ มูล เพือ
่ กาหนดขอบเขตและลักษณะ
ของงานวิจยั
3.2.3.3 ออกแบบอุปกรณ์ ชว่ ยวิดพื้น และวัสดุตา่ ง ๆ ทีต ่ อ
้ ง
ใช้
3.2.3.4 ลงมือทารูปเล่มรายงานและสรุปผลการวิจยั โดย
กาหนดช่วงเวลาอย่างกว้าง ๆ
3.2.4 การนาเสนอ โดยทั่วไปเมือ ่ งานวิจยั เสร็จสิน ้ แล้ว ต้องมี
การนาเสนอให้กบ ั ผูท
้ ต
ี่ อ้ งการใช้งานหรือครูทป ี่ รึกษา ดังนัน ้ ควรเตรียม
เอกสารนาเสนอให้สมบูรณ์ โดยอาจปรับย่อข้อความทีส ่ าคัญมาจากการ
รายงานก็ได้ การนาเสนอในรูปแบบใดนัน ้ ต้องเลือกให้เหมาะสมโดย
พิจารณาวัตถุประสงค์ของงานนาเสนอ เช่น สือ ่ อิเล็กทรอนิกส์ ป้ าย
นิทรรศการ เอกสารรายงาน และควรฝึ กตอบคาถามทีเ่ กีย่ วข้องไว้ดว้ ย

3.3 วัสดุอุปกรณ์ ในการดาเนินงาน


3.3.1 ไม้กวาดจากขวดพลาสติก (ชือ ่ โครงงานหรืออุปกรณ์ ที่ นร
ทา)
3.3.1.1 อุปกรณ์ ทใี่ ช้ทาไม้กวาดจากขวดพลาสติก
(1) ขวดพลาสติก

ภาพที่ 3.1 ชือ่ ภาพ


ทีม
่ า : ลิงค์ทีม
่ า
(2) ขวดพลาสติก

ภาพที่ 3.2 ชือ่ ภาพ


ทีม
่ า : ลิงค์ทีม
่ า

(3) ขวดพลาสติก
(4) ขวดพลาสติก

3.3.1.2 ขัน
้ ตอนการทาไม้กวาดจากขวดพลาสติก
(1) ทาการ

ภาพที่ 3.3 ชือ่ ภาพ


ทีม
่ า : ลิงค์ทีม
่ า

(2) ทาการ
(3) ทาการ

3.3.2 แบบวัดประสิทธิภาพ หรือ


แบบวัดความพึงพอใจ

3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล
3.5 การจัดกระทาข้อมูลและการวิเคราะห์ขอ
้ มูล

3.6 สถิตท
ิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ
้ มูล
ค่าเฉลีย่ (Mean) คานวณจากสูตร ดังนี้

You might also like