You are on page 1of 18

ปัญหาขยะ

พลาสติกส่ง
ผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม
อย่างไร
ที่มาและความสำคัญ
ขยะพลาสติกมีปริมาณที่เพิ่มมากขึ้นทุกวัน

ขยะพลาสติกใช้เวลาย่อยสลาย 450 ปี

ขยะพลาสติกส่งผลเสียต่อสิ่งมีชีวิตใน
ระบบนิเวศ

ขยะพลาสติกเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิด
ภาวะโลกร้อน
1. เพื่อสร้างความตระหนักถึงปัญหาที่เกิด
ขึ้นจากการใช้พลาสติก

2. เพื่อแนะนำแนวทางสำหรับลดปริมาณ
วัตถุประสงค์ ขยะพลาสติกในสิ่งแวดล้อม

3. เพื่อแนะนำแนวทางแก้ไขผลกระทบที่
เกิดขึ้นจากขยะพลาสติกต่อสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน

1. กำหนดหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
2. แบ่งหน้าที่การทำงาน
3. ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อเรื่องที่ศึกษา
4. ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล
5. สรุปผลจากข้อมูลที่ได้
6. จัดทำรูปเล่มโครงงานและนำเสนอ
ตารางแสดงระยะเวลาดำเนินงาน
พลาสติกคืออะไร?

พลาสติกเป็นวัสดุพอลิเมอร์ที่ผ่านกระบวนการ
สังเคราะห์โดยใช้วัตถุดิบจากแหล่งปิโตรเคมีเป็นหลัก เนื่องจาก
ความคงทนทำให้พลาสติกถูกนำมาใช้งานอย่างแพร่หลาย และ
มีปริมาณการใช้งานในด้านต่างๆเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนอาจ
กล่าวได้ว่าพลาสติกเป็นวัสดุที่มีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวัน
ไปแล้ว ในปัจจุบันการผลิตพลาสติกมีต้นทุนการผลิตที่ต่ำ อีก
ทั้งยังมีเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่สามารถผลิตพลาสติกให้มี
คุณสมบัติตามความต้องการได้อย่างหลากหลาย เช่น ถุงใส่
อาหาร บรรจุภัณฑ์ใส่อาหารและเครื่องดื่ม ฟิล์มถนอมอาหาร
ของเล่นเด็ก อุปกรณ์ก่อสร้าง และ เฟอร์นิเจอร์ เป็นต้น
พลาสติกคืออะไร?

พลาสติกบางประเภทก็ถูกนำมาใช้
งานเพียงระยะเวลาสั้นๆ แต่กลับถูกทิ้ง
อยู่ในสิ่งแวดล้อมอีกยาวนาน และใน
การผลิตพลาสติกจะมีการเพิ่มสารเติม
แต่งบางชนิดลงไป ซึ่งสารเหล่านี้อาจ
ปนเปื้ อนสู่อาหาร หากมีการใช้งาน
พลาสติกที่ไม่ถูกวิธีหรือใช้ไม่เหมาะสม
กับประเภทของพลาสติก อาจส่งผลก่อ
ให้เกิดมะเร็ง และนำมาซึ่งผลกระทบ
ต่อการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆได้
ที่มาของขยะพลาสติก

ประเทศไทยจากข้อมูลกรมควบคุมมลพิษ ปี 2561 พบว่า มีขยะ


พลาสติกมากเป็นอันดับ 5 ของโลก ซึ่งสามารถนำกลับเข้าสู่ระบบ
รีไซเคิลได้เพียง 500,000 ตัน เหลืออีก 1.5 ล้านตันที่ยังตกค้าง
แหล่งกำเนิดขยะเหล่านี้ก็มาจากทั้งโรงงาน ร้านค้า ชุมชน และ
บ้าน ไม่ว่าจะเป็นขยะพลาสติกที่มาจากของเหลือใช้ในห้องนอน
ห้องน้ำ ห้องครัว โดยขยะที่พบมากที่สุด ได้แก่ ถุงพลาสติก ขวด
พลาสติก หลอดดูด ถุงใส่อาหาร และฝาขวดน้ำ
มลภาวะทางน้ำ
เนื่องจากขยะพลาสติกไม่สามารถย่อยสลายทางชีวภาพได้และไม่มีวันย่อย
สลายอย่างแท้จริง พลาสติกจะมีรูพรุนที่เหลืออยู่ในโครงสร้างจำนวนมาก
ผลกระทบต่อ ทำให้สามารถกักเก็บน้ำที่ปนเปื้ อนสารพิษไว้ในตัว และเมื่อพลาสติกที่เต็ม
ไปด้วยสารพิษถูกทิ้งลงไปในทะเล สารพิษเหล่านั้นก็จะปนเปื้ อนไปในทะเล
สิ่งแวดล้อม ส่งผลเสียต่อสิ่งมีชีวิตทุกชีวิตในท้องทะเล
ในด้านต่างๆ มลภาวะทางดิน
การปนเปื้ อนที่เกิดจากการย่อยสลายของพลาสติกในสภาวะการฝังกลบ
อาจทำให้สารเติมแต่ง รวมถึงสีที่ตกค้างรั่วไหลปนเปื้ อนไปกับแหล่งน้ำ
ใต้ดิน
มลพิษทางสภาพภูมิอากาศ
วงจรการผลิต พลาสติกทำมาจากเชื้อเพลิงฟอสซิล ดังนั้นจึงก่อให้เกิด
ก๊าซเรือนกระจกจำนวนมากและส่งผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน
ผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม การปนเปื้ อน
ในด้านต่างๆ การปนเปื้ อนของไมโครพลาสติกและชิ้นส่วนพลาสติกในอาหารของคน
และสัตว์ ชิ้นส่วนพลาสติกนั้นจะเข้าไปกีดขวางลำไส้ทำให้ประสิทธิภาพ
การย่อยอาหารลดลงและอาจส่งผลกระทบอื่นๆในระบบร่างกาย เมื่อได้
รับในปริมาณมากอาจทำให้ถึงแก่ชีวิตได้
ประชากรยุงสูงขึ้น
ยุงจะเจริญเติบโตได้ดีในสภาพอากาศที่เปียกชื้นมีน้ำขังเพราะพวกมัน
ต้องการน้ำเพื่อวางไข่ น้ำที่กักเก็บอยู่ในขยะพลาสติกช่วยให้ประชากรยุง
เพิ่มขึ้นซึ่งอาจแพร่กระจายโรคได้
ผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม การสูญพันธุ์
ในด้านต่างๆ ปริมาณออกซิเจนในน้ำที่น้อยลงอาจส่งผลให้ปลาตาย ทำให้เกิด
ผลกระทบแบบโดมิโน เมื่อปลาหมดไปสัตว์ที่กินปลาเป็นอาหารก็
อาจตายได้เช่นกัน สิ่งนี้สอดคล้องกับการที่อาหารน้อยลงส่งผลให้
อัตราความเจ็บป่วยสูงขึ้น ซึ่งนั่นไม่เป็นประโยชน์สำหรับสิ่งมีชีวิต
ใดๆ แน่นอนว่าสิ่งนี้จะไม่เกิดขึ้นในชั่วข้ามคืนหรือเร็วๆนี้ แต่ก็มีความ
เป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
แนวทางการป้องกัน แก้ไข และฟื้ นฟูผลกระทบ
ที่เกิดขึ้นอย่างบูรณาการ
ประเทศไทยให้ความสำคัญและเร่งหาแนวทางเพื่อลดปริมาณขยะพลาสติก โดยออกนโยบายการ
บริหารจัดการขยะพลาสติกของประเทศ เพื่อบูรณาการของหน่วยงานต่าง ๆ เช่น
ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันรณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการลด
การใช้วัสดุที่ผลิตขึ้นจากพลาสติก
ออกมาตรการจูงใจบริษัท ห้างร้าน และสถานประกอบการต่าง ๆ เพื่อลดปริมาณการใช้วัสดุ ที่ผลิต
จากพลาสติก และช่วยลดปัญหามลพิษต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในระยะยาว
สิ่งสำคัญที่จะทำให้การลดการใช้พลาสติกประสบความสำเร็จ คือ ความร่วมมือของทุกภาคส่วนที่
เกี่ยวข้องเพื่อให้ การดำเนินการให้เป็นไปตามแผนอย่างเป็นรูปธรรม ดังนี้
ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ และคำปรึกษา เพื่อให้ทุก
ภาคส่วน ได้นำแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียน
(Circular Economy) มาปรับใช้อย่างจริงจัง
แนวทางการป้องกัน ปฏิบัติตามกฎหมาย และแผนงานอย่างเคร่งครัด
แก้ไข และฟื้ นฟูผลกระทบ เพื่อลดงบประมาณในการกำจัดพลาสติก
ที่เกิดขึ้นอย่างบูรณาการ มีการควบคุมดูแลให้ทุกภาคส่วนตระหนักถึง
ภัยร้ายจากขยะพลาสติกที่ส่งผลกระทบต่อ
สุขภาพและสิ่งแวดล้อม
สร้างทัศนคติที่ดีและความเข้าใจในเรื่องการ
จัดการหรือการคัดแยกขยะที่ถูกต้องให้กับ
ประชาชน
ภาคเอกชน
ปรับเปลี่ยนหรือใช้เทคโนโลยีผลิตนวัตกรรมในการออกแบบ

บรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติที่ย่อยสลายได้ ทำให้ลดต้นทุน
ในการผลิตหรือลดการใช้พลังงาน (น้ำมันดิบ) ในการผลิต
พลาสติก
หาแนวทางร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาในการลดการใช้พลาสติก
แนวทางการป้องกัน
ตามแผนการจัดการขยะพลาสติก พ.ศ. 2561-2573
แก้ไข และฟื้ นฟูผลกระทบ
ที่เกิดขึ้นอย่างบูรณาการ
ภาคประชาชน
ตระหนักถึงความสำคัญและหลีกเลี่ยงสิ่งของหรือผลิตภัณฑ์
ที่จะก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
ปรับเปลี่ยนความคิดในการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
หรือบริโภคสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
ใช้แนวทาง 7R ได้แก่ Refuse, Recycle, Reuse, Refill,
Repair, Return, Reduce
สรุ ปผลการดำเนินงาน &
ข้อเสนอแนะ

ขยะพลาสติกทำให้เกิดผลเสียทั้งกับสิ่งแวดล้อมและสัตว์
ทำให้เกิดมลภาวะด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ทางน้ำ ทางดิน
สภาพภูมิอากาศ เป็นต้น และในระยะยาวยังส่งผลให้เกิด
ภาวะโลกร้อนได้อีกด้วย

แม้พลาสติกจะมีประโยชน์มากมาย และสร้างความสะดวก
สบายในชีวิตประจำวัน แต่พลาสติกก็ก่อให้เกิดปัญหา
มลภาวะต่าง ๆ ตามมาได้เช่นกัน เราจึงควรช่วยกันลด
ขยะพลาสติกเหล่านี้เพื่อลดผลกระทบที่จะตามมา
อ้างอิง
https://mgronline.com/infographic/detail/9610000086956

https://www.scimath.org/article-chemistry/item/10624-2019-
09-02-01-39-49/

https://www.greenpeace.org/thailand/tag/plastic/
สมาชิก
6307004 จิรนุช ยี่รงค์ MTRT
6307006 ชมพูนุช เอื้อพีระนันท์ MTRT
6307007 ธัญวรัตม์ ลี้พงศ์ภัคธนโชติ MTRT
6307030 เบญจรัตน์ อวดผล MTRT
6307035 พรทิพา โรจนคงอยู่ MTRT
6307036 พิมพ์ภัทร ละครพรม MTRT
6307044 อลิสา รักพันวรัท MTRT
6307045 อาธัญญา รักษาก้านตง MTRT
6307049 อุบัยดา แขกพงศ์ MTRT
6307050 ไอลดา มูลไธสง MTRT

You might also like