You are on page 1of 10

นวัตกรรมพลาสติกจากพืช

บรรจุภัณฑรักษโลก
เทคโนยีท่น
ี ํ าเสนอ คือ

Polylactic acid (PLA) เป็ นพลาสติกชีวภาพ สามารถยอยสลายไดในธรรมชาติและ ใชเวลานอยกวาเพียง

180 วัน แตพลาสติกทั่วๆ ไปใชเวลาในการยอยสลายเป็ นรอยๆ ปี สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางมาก


PLA ยอยสลายไดเป็ นกาซคารบอนไดออกไซด และนํ ้า ไดดวยจุลินทรียในธรรมชาติ ผลิตมาจากวัตถุดิบ

ที่สามารถผลิตทดแทนขึน
้ ใหม ไดในธรรมชาติผลิตมาจากพืช เชน ขาวโพด มันสําปะหลัง และออย โดย

การบดหรือโมพืชนั น
้ ใหละเอียดเป็ นแปงแลวใชเอนไซมยอยแปงให เป็ นนํ ้าตาลกลูโคส ผานกระบวนการ

หมัก (fermentation) โดยใชแบคทีเรีย Lactobacillus brevis ไดผลผลิตเป็ น กรดแลคติก (Lactic acid)

ผานกระบวนการทางเคมีได lactide มีโครงสรางทางเคมีเป็ นวงแหวน แลวจึงนํ าไปผาน กระบวนการพอลี

เมอรไรเซชั่น (Polymerization) กลั่นในระบบสุญญากาศเพื่อเปลี่ยนโครงสรางไดเป็ นโพลิเมอร


ผลิ ตภั ณฑ์ จากไบโอพลาสติ ก PLA ถุ ง ชาและผ้ า อ้ อมเด็ ก
เชน ถุงชา ถุงเก็บอาหาร หรือฟิ ลมที่ใชในการหออาหาร นอกจากนี ย
้ ังนํ ามาใชเป็ นสวนประกอบในผาออม
เด็กถุงขยะ หรือสวนผสมในยางรถยนตอีกดวย

อ้ างอิ ง : HTTPS://1TH.ME/2IOAR
Hazardous waste
management

การจัดการขยะพลาสติกในปจจุบน

การฝั งกลบ สวนใหญเป็ นเศษขยะถุงพลาสติกที่การปนเปื ้ อน ไมคุมกับตนทุนในการจัดเก็บและ
การลางทําความสะอาดของผูเก็บของใชแลวมาขายเป็ นอาชีพ ซึ่งไดแก ถุงพลาสติกที่ทําจากพลาสติกประเภท
PP HDPE และ LDPE ซึ่งไดแก ถุงรอนถุงเย็นที่ใชบรรจุอาหาร ถุงหูหิ ้ว ถุงชองพลาสติก ขยะเหลานี ถ
้ ูกนํ าไปทิ ้ง
ในสถานที่ฝังกลบ หรือเทกองกลางแจง ตามสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ซึ่งจะ
เป็ นปั ญหาตอระบบการจัดการขยะมูลฝอยเนื่ องจากขยะดังกลาวมีความคงทนยอยสลายตามธรรมชาตินอย
ทําใหสิ ้นเปลืองพืน
้ ที่ฝังกลบและงบประมาณในการจัดการขยะมูลฝอย

การทิ ้งขวางขยะพลาสติกกระจัดกระจายทั่วไป มักกอใหเกิดปั ญหาการอุดตันตามทอระบายนํ ้าในเมือง ทําให


เกิดปั ญหานํ ้าทวมเมื่อฝนตกหนั ก ปั ญหาขยะลอยในแมนํ ้า ลําคลอง และทะเล

การจัดการพลาสติกทัง้ ระบบในประเทศไทยพบวามีปัญหาตัง้ แตขัน ้ ตอนการผลิต การบริโภคจนถึงการจัดการของ


เสีย เชน
การกําจัดขยะพลาสติกขัน้ สุดทายคือ การเผาและฝั งกลบ ซึ่งการเผาในเตาเผาตองใช
อุณหภูมิสูงทําใหมีเงินลงทุนและคาใชจายในการดําเนิ นการสูง เตาเผาธรรมดาไมสามารถเผาได เนื่ องจาก
จะทําใหเกิดมลพิษที่เป็ นอันตรายตอสุขภาพ และกอใหเกิดมลภาวะทางอากาศ สวนการฝั งกลบเนื่ องจาก
พลาสติก

วั ฏ จั ก รการเกิ ดขยะพลาสติ ก

ที มา : โครงการส้ า รวจและวิ เ คราะห์ องค์ ประกอบขยะมู ลฝอยของเทศบาลทั วประเทศ,


๒๕๔๗.
ปั ญหาและอั นตรายของPETE ที่ เป็ นสาเหตุ ของการพั ฒนา
และการเปลี่ ยนมาใช PLA

ในอดีต ปี ค.ศ.1988สมาคม อุตสาหกรรมพลาสติกแหงอเมริกามีระบุการตัวเลขเอาไวเพื่อแสดงถึงชนิด


ของพลาสติกแตละประเภทที่สามารถนามารีไซเคิลได ซึ่ง พลาสติกโพลีเอทิลีนเทอพาทาเลท
(Polyethylene Terephthalate)หรือที่เรียกกันโดยยอวา “เพท” (PET) ก็เป็ นหนึ่งในนัน

คือ 01: PETE หรือ PET พลาสติกชนิดนี้เป็ นพลาสติกที่มีความใส ยืดหยุนสูงและปองกันการซึมผานได
จึงเหมาะสาหรับใสนาอัดลม ขวดบรรจุนา ดื่ม หรือนามันพืช

แตในปั จจุบันมีการศึกษาอันตรายPET
PETแพรสารอะซิทัลดีไฮดเขาไปปนเปื้ อนผลิตภัณฑหลายชนิดที่บรรจุอยูในภาชนะที่ทําจาก PET เชน ขวด
โซดา ขวดนํ้ า ขวดนํ้ ามันสําหรับทําอาหาร เป็ นตน อะซีทัลดีไฮดเป็ นสารที่องคการพิทักษสิ่งแวดลอมของสหรัฐอเมริกา
ระบุวาเป็ นสารที่อาจกอใหเกิดมะเร็งในคนรวมทัง้ อาจเป็ นสงผลลบตอพัฒนาการทางสมอง
ขอควรระวัง
มีผลการศึกษานํ้ าแรที่บรรจุในขวดPETพบวามีสิ่งชีบ ้ งของความเป็ นพิษเกิดขึ้นภายหลังจากบรรจุน้ํ าลงขวดแลว
8 สัปดาห ดังนัน
้ จึงไมควรดื่มนํ้ าที่บรรจุในขวดเพทนานเกินกวา 8 สัปดาห ไมวาจะเก็บที่อุณหภูมิใดก็ตาม

อางอิ ง รู ปภาพHTTPS://NGTHAI.COM/ANIMALS/11266/PLASTIC-IMPACT/

อางอิ งขอมู ล HTTP://NEXANT.ECNEXT.COM/COMS2/GI_0255-144/POLYETHYLENE-TEREPHTHALAT E-PET .HTML


Cleaner Technology
พลังงานสะอาดคือ การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกระบวนการ
ผลิต กอใหเกิดของเสียนอยที่สุดโดยการเปลี่ยนวัตถุดิบเพื่อสง
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด
Polylactic Acid (PLA) เป็ นพลาสติกที่ยอยสลายไดทางชีวภาพ
ซึ่งทํามาจากวัตถุดิบที่สามารถทดแทนขึน ้ มาใหมจากธรรมชาติ
ไดแก ขาวโพด มันสําปะหลัง และออย พลาสติก PLA ใชเวลา
นอยกวา เพียง 180 วัน แตพลาสติกทั่วๆ ไปใชเวลาในการ
CLEAN
ยอยสลายเป็ นรอยๆ ปี สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางมาก
กระบวนการผลิตพลาสติก PLA จะผลิตดวยการหมักนํ ้าตาลให
TECHNOLOGY
เป็ นกรดแล็กติก (Lactic acid) และนํ ามาทําปฏิกิริยาพอลิเมอร
ไรเซชั่น (Polymerization) เพื่อผลิตเป็ นเม็ดพลาสติก PLA
PLA ถูกยอยโดยจุลินทรียจนกลายเป็ นคารบอนไดออกไซด นํ ้า
และมวลชีวภาพ หรือนํ าไปผานกระบวนการหมักทางชีวภาพ
ซึ่งผลลัพธที่ไดจะไมมีสวนของพลาสติกและสารพิษหลงเหลือ
อยู

อ้ างอิ ง HTTPS://WWW.CSC-PTTGCGROUP.COM/POST.PHP?P=_VY6I3H4SBR
Waste minimization
Bio-PET หรือพอลีเอธิลีน เทเรฟธาเลต ( Polyethylene Terephthalate)
เกิดจากเอทานอลที่หมักไดจากชีวมวล และกรดเธเรพธาลิก( pTA)จาก
ปิ โตรเลียม
จากขอมูลของ Nova Institute พบวา พลาสติกชีวภาพมีแนว โนม
เขาไปแทนที่พลาสติกจากปิ โตรเลียมในกลุมบรรจุภัณฑที่มีอายุ การใช
งานสัน
้ ( singleuse )สูงที่สุดโดยคาดการณวาขวดบรรจุเครื่องดื่ม bio-PET
WASTE
จะเพิ่มขึน
้ และในอนาคตจะ เขามาแทนที่ขวด PET จากปิ โตรเคมีทง
ตามมาดวยโฟม PLA จะมีสวนแบงสูงมากในกลุมบรรจุภัณฑโดยคาดวา
ั ้ หมด MINIMIZATION
กําลังการผลิต PLA และ PHAs จะเพิ่มขึน
้ การเติบโตของพลาสติกชีวภาพ
ทัง้ สองชนิ ดนี ใ้ นผลิตภัณฑกลุม บรรจุภัณฑที่แตกตางกันแสดงใหเห็น
แนวโนมที่สําคัญคือพลาสติก ชีวภาพที่ยอยสลายไดอยาง PLA จะไม
เขาไปแทนที่พลาสติกที่มี ระบบการรีไซเคิลรองรับดีอยูแลวเชนขวด
เครื่องดื่ม PET แตจะเขาไปแทนที่พลาสติกที่กระบวนการรีไซเคิลไม
สามารถทําไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน บรรจุภัณฑอาหารที่ตองเจือปน
กับเศษอาหาร หรือขยะสด

อ้ างอิ ง : HTTPS://WWW.THAIPLASTICS.ORG/IMG/CONTENT_ATTACHMENT/ATTACH/PLASTICS_FORESI GHT_VOL.8_. PDF


POLLUTION PREVENTION
PET สามารถนํ ามาใชไดอีก แตตองลางใหสะอาดทุกครัง้ และทิง้ ไวใหแหงสนิทกอนที่จะนํ ามาบรรจุน้ํ าใหมทุกครัง้ เพื่อ
ปองกันเชื้อจุลินทรียหรือแบคทีเรียภายในปากที่อาจปนเปื้ อน ทําใหเกิดการเจริญเติบโตในขวดนํ้ า หากขวดเริ่มมีรอยขูด
ขีด หรือเนื้อพลาสติกเปราะแตก แสดงวาพลาสติกเริ่มมีการเสื่อมสภาพ ก็ไมควรนํ ากลับมาใชซํ้าอีกจึงตองรีไซเคิล
พลาสติก (rPET) โดยผูผลิตรีไซเคิลพลาสติก (rPET) ตองมีการควบคุมแหลงที่มา (Feedstock) และประเภทของ
พลาสติกที่จะนํ ามารีไซเคิล เพื่อผลิตเป็ นขวดเครื่องดื่ม และภาชนะบรรจุอาหาร โดยจะตองสามารถแสดงที่มาของ
พลาสติก ผลการทดสอบการกําจัดสารปนเปื้ อนในกระบวนการรีไซเคิล ซึ่งอางอิงแนวทางการประเมินความปลอดภัยและ
การประเมินประสิทธิภาพของกระบวนการรีไซเคิลพลาสติก rPETตามเกณฑมาตรฐานสากล เชน สํานักงานคณะกรรมการ
อาหารและยา ประเทศสหรัฐอเมริกา (USFDA) หรือหนวยงานความปลอดภัยดานอาหารแหงสหภาพยุโรป (European
Food Safety Authority – EFSA)จึงเนนการใชซํ้าหรือการนํ ามารีไซเคิลใหมากขึ้น เพื่อลดการเกิดใหมของพลาสติก PET
และยังชวยลดการเกิดภาวะกาซเรือนกระจก เนื่องจากการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในกระบวนการผลิต

เพิมเติม
คณะทํางานของ อย. พิจารณาแก้ไขประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที 295 พ.ศ.2548 ข้อ 8 ทีระบุวา่ “ห้ามมิให้ใช้ภาชนะ
บรรจุทีทําขึนจากพลาสติกทีใช้แล้วบรรจุอาหาร เว้นแต่ใช้เพือบรรจุผลไม้ชนิดทีไม่รบ
ั ประทานเปลือก” ทังนีเพือให้สาํ นักงานคณะ
กรรมการอาหารและยา (อย.) อนุญาตให้สามารถใช้ขวดบรรจุเครืองดืมทีผลิตจากพลาสติกรีไซเคิล (Recycled PET) ได้อย่างถูก
ตามกฎกระทรวงสาธารณสุข

อ้ างอิ ง :HTTP://ASP.PLASTICS.OR.TH:8001/FILES/ARTICLE_FILE/20180624234446U. PDF


Cleaner Production
พลาสติก Polylactic Acid (PLA) มีคุณสมบัติโดดเดนในเรื่องของความใส (คลายแกว)
และมีความแข็งแรงทนทาน มีจุดหลอมเหลวอยูท่ี 180-220 องศา จึงทําใหขึน ้ ชิ ้นงาน
ขึน
้ รูปไดงายและเย็นตัวเร็ว และไมจําเป็ นตองใชแผนรองความรอน PLA ไปทําเป็ นบรรจุ
ภัณฑเชน แผนฟิ ลมสําหรับหุมอาหาร กลอง ถุงหิ ้ว แกวกาแฟ และถวยโยเกิรต
คุณสมบัติของพลาสติก PLA กับพลาสติก PET ที่นําไปทําเป็ นขวดนํ ้าเปลา ไมแตกตาง
กันเรื่องของความใส นํ ้าหนั กเบา หรือกระทั่งความยืดหยุน
แกว PET และแกว PLA ที่เป็ นพลาสติกใส พบวาคุณสมบัติการใชงานแทบไมแตกตางกัน
เลย คือ มีความใส นํ ้าหนั กเบา และมีความยืดหยุนเหมือนกัน ตางกันเพียงการยอย
สลาย
แกวกาแฟ ไดมีการออกแบบใหเหมาะสมกับการใชงานที่มีความหลากหลายรูปแบบ โดย
มีใหเลือกทัง้ แบบที่เป็ นพลาสติกใสคลายแกว PET และแกวกระดาษที่เคลือบดานในดวย
PLA เพื่อกันการซึมของนํ ้าแทนการใช PE ที่ผลิตมาจากกระบวนการปิ โตรเคมีซ่งึ ยอย
สลายไดยาก

อ้ างอิ ง : HTTPS://WWW.SMETHAILANDCLUB.COM/DESIGN-3916-ID.HTML
วิเคราะหประโยชนจากเทคโนโลยีนี ้

ประโยชน์ต่อตัวเราเอง ประโยชน์ต่อชุมชน

มีสข
ุ ภาพกายทีแข็งแรง ปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ ทําให้เกิดสังคมทีน่าอยู่ มีทรัพยากรธรรมชาติเหลือให้ใช้
เพราะมีสารพิษทีปล่อยสูธ
่ รรมชาติและตกค้างอยูใ่ น อย่างเพียงพอ เพราะมีการจัดสรรและใช้ทรัพยากรอย่างคุ้ม
ผลิตภัณฑ์นอ
้ ยลง สุขภาพจิตก็ดดี ว้ ย ค่า และมีประสิทธิภาพสูงสุด

ประโยชน์ต่อภาคอุ ตสาหกรรม ประโยชน์ต่อภาครัฐ

ช่วยทําให้เกิดการประหยัดการใช้นาํ วัตถุดบ
ิ พลังงาน 1. เทคโนโลยีสะอาดช่วยแบ่งเบาภารกิจในการติดตาม
และลดการเกิดมลพิษ ตรวจสอบของภาครัฐ
การปรับปรุงคุณภาพสินค้า คุณภาพของสินค้าเปนสิง 2.บรรลุตามเปาหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สําคัญของผูผ ้ ลิตภาคอุ ตสาหกรรม เนืองจากต้องแข่งข้นใน สังคมแห่งชาติ
ระดับสากล การลดมลพิษ ณ แหล่งกําเนิดทําให้คณ ุ ภาพ 3. ส่งเสริมภาพพจน์ของประเทศไทยในด้านการจัดการ
สินค้าดีขน
ึ สิงแวดล้อมและเพิมศักยภาพในการส่งออก
สมาชิ กกลุ ม

นายธีรดนย เกลอกระโทก นางสาวนิ ชานาถ ทองจิตร


KAED 6124266 นางสาวชลนิ ชา วงศอักษร KAED 6124280
KAED 6124278

You might also like