You are on page 1of 10

1

น้ำเสียชุมชน
Domestic Wastewater

สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์*
Suntud Sirianuntapiboon*

*มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพมหานคร 10140


*King Mongkut's University of Technology Thonburi, Bangkok 10210
Received : June 24, 2020 Revised : June 24, 2020 Accepted : June 25, 2020

บทคัดย่อ ซึ่งมี ป ระสิท ธิภ าพในการบำบั ด สู ง และสามารถบำบั ด


น้ำเสี ยชุ มชนนั้น เกิ ดขึ้ นจากกิ จกรรมหลายกิ จกรรม สารประกอบไนโตรเจนได้ดี แต่มีค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง
จึงทำให้ปริมาณและคุณลักษณะของน้ำเสียมีความแตกต่าง และเดิ น ระบบสู ง ใช้ พื้ น ที่ ม ากกว่ า ระบบตะกอนเร่ ง
กัน ออกไป ระบบรวบรวมน้ ำเสี ยที่ ใช้ กัน อยู่ ในปั จ จุบั น ประเภทอื่น และผู้ควบคุมระบบจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ
แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ ระบบท่อรวม คือ ระบบที่ใช้ ระบบเป็นอย่างดี
ท่อระบายน้ำเสียและน้ำฝนร่วมกัน น้ำเสียและน้ำฝนจะ
ถูก ส่ งไปยั งระบบบำบั ด น้ ำ เสี ย ก่ อ นปล่ อ ยลงสู่ แ หล่ งน้ ำ คำสำคัญ : น้ำเสีย, ชุมชน
ธรรมชาติ และระบบท่อแยกเป็นระบบที่แยกท่อระบาย
น้ำเสียและท่อระบายน้ำฝนออกจากกันจะมีเพียงน้ำเสีย Abstract
เท่านั้นที่ถูกส่งเข้าระบบบำบัดน้ำเสีย Municipal wastewater was formed from
ระบบบำบัดน้ำเสียในประเทศไทยมีทั้งหมด 101 แห่ง many activities. Therefore it caused various
อยู่ในการดูแลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับเทศบาล different characteristics of wastewater. The
87 แห่ง องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง องค์การบริหาร wastewater collection system was divided
ส่ ว นตำบล 2 แห่ ง เมื อ งพั ท ยา 2 แห่ ง จั ง หวั ด into 2 types: the combined pipe system,
สมุทรปราการ 1 แห่ง และกรุงเทพมหานคร 8 แห่ง which was a system that shares sewer and
ระบบบำบั ดน้ำเสียรวมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน rainwater together. Wastewater and rainwater
ประเทศไทยนิยมใช้มากที่สุด ได้แก่ ระบบบำบัดบ่อผึ่ง were sent to the wastewater treatment system
(Oxidation pond) เนื่องจากเป็นระบบบำบัดที่ทำการเดิน before being released into natural water sources
ระบบได้ ง่า ย ไม่ ซั บ ซ้ อ น ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งใช้ เครื่ อ งจาก and separate piping systems was a system that
การเดิ น ระบบบำบั ด แต่ ต้ อ งการพื้ น ที่ ในการสร้ างบ่ อ separates wastewater and rainwater pipes. So
บำบั ด มาก ระบบบำบั ด น้ ำ เสี ย รวมที่ ไ ด้ ค วามนิ ย ม there was only the wastewater sent to the
รองลงมา ได้ แ ก่ ระบบบำบั ด น้ ำเสี ย แบบตะกอนเร่ ง wastewater treatment system.
ประเภทคลองวนเวียน (Oxidation Ditch : OD) In Thailand, there were 101 wastewater
*สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์ treatment plants under the supervision of a
E-mail : sunutud.sir@kmutt.ac.th governing organization. They were 87 local
municipalities, 1 provincial administrative organization,
2

2 sub-district administrative organizations, 2 ซึ่ งทำให้ แ หล่ งน้ ำ ที่ คุ ณ ภาพน้ ำ เสื่ อ มโทรมและเน่ า เสี ย
cities in Pattaya, 1 Samut Prakan province ในที่สุด
and 8 Bangkok M etropolis. The total แม้ ว่ า แหล่ ง กำเนิ ด น้ ำ เสี ย ชุ ม ชนบ างส่ ว นจะมี
wastew ater treatm ent system that local การบำบัดน้ำเสียด้วยถังบำบัดน้ำเสียสำเร็จรูปขนาดเล็ก
government organizations used in Thailand แล้วก็ตาม และคุณภาพน้ำเสียที่ผ่านถังบำบัดก็ยังไม่ผ่าน
w ere the Bo Pang Treatm ent System เกณฑ์มาตรฐาน น้ำทิ้งที่ออกจากถังบำบัดเหล่านี้จะถูก
(Oxidation pond) because it was a treatment ระบายลงสู่คลองหรือท่อระบายน้ำสาธารณะและไหลลง
system that could be operated easily, not สู่แ หล่ งน้ ำธรรมชาติ ในที่ สุด นอกจากนี้ ชุม ชนเมื อ งอี ก
complicated and it did not need to use หลายแห่งของประเทศยังไม่มีระบบการจัดการน้ำเสียที่ดี
the machine to operate the system. But it ทำให้น้ำเสียที่เกิดขึ้น ถูกระบายลงสู่ทางระบายน้ำ ทำให้
needed a lot of space to build a treatment แหล่งน้ำมีสภาพเสื่อมโทรม จนไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้
pond. The second most popular wastewater ในที่สุด (กรมควบคุมมลพิษ, 2560)
treatment system was the Oxidation Ditch แนวทางหนึ่ งที่ จะช่ วยลดปั ญหามลพิ ษ ทางน้ ำ คื อ
(OD) which had high treatment efficiency การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพระบบรวบรวมน้ำเสียและ
and it could effectively treat nitrogen บำบัดน้ำเสีย ณ แหล่งกำเนิดก่อนระบายทิ้งหรือรวบรวม
compounds. But it had a high cost of น้ ำ เสี ย ที่ เกิ ด ขึ้ น ส่ งไปยั งระบบบำบั ด น้ ำ เสี ย รวมเพื่ อ ทำ
construction and operation. Moreover it took การบำบัดน้ำเสียเป็นน้ำทิ้งที่สะอาดขึ้นก่อนปล่อยสู่แหล่ง
more space than other types of accelerated น้ำสาธารณะต่อไป รวมทั้งกระบวนการนำน้ำเสียกลับมา
sediment systems. And the system administrator ใช้ ใ หม่ และการลดการเกิ ด น้ ำ เสี ย ที่ ต้ น ทางก็ เป็ น อี ก
must have a good understanding of the วิธีการที่สำคัญที่จะลดปัญหามลพิษทางน้ำอีกวิธีการหนึ่ง
whole system.
2. ความหมายของน้ำเสีย และน้ำเสียชุมชน
กรมควบคุมมลพิษ (2560) ให้ความหมายของคำว่า
Keywords : Wastewater, Domestic
น้ ำ เสี ย (Wastewater) หมายถึ ง น้ ำ ที่ มี สิ่ ง เจื อ ปน
ต่าง ๆ มากมายจนกระทั่งกลายมีลักษณะ กลิ่น สี รส
1. บทนำ
น่ารังเกียจของคนทั่วไป ไม่เหมาะสมสำหรับใช้ประโยชน์
ปัญหามลพิษทางน้ำที่เกิดขึ้นในปัจจุบันมักเกิดขึ้นจาก
อีกต่อไป ถ้าปล่อยลงสู่ลำน้ำธรรมชาติจะทำให้คุณภาพ
หลายกิ จ กรรม ซึ่ ง แต่ ล ะกิ จ กรรมจะมี ป ริ ม าณและ
น้ ำ ของธรรมชาติ เสื่ อ มโทรมได้ ต ามหนั งสื อ ของมั่ น สิ น
คุณลักษณะของน้ำเสียที่แตกต่างกัน ก่อให้เกิดผลกระทบ
ตั ณ ฑุ ล เวศม์ (2541) ให้ ค วามหมายของคำว่ า น้ ำ เสี ย
ที่ แ ตกต่ า งกั น การติ ด ตามตรวจสอบคุ ณ ภาพน้ ำ
หมายถึ ง น้ ำ ที่ มี สิ่ ง เจื อ ปนต่ า ง ๆ อยู่ ใ นปริ ม าณสู ง
ทั่วประเทศอย่างต่อเนื่อง พบว่าแหล่งน้ำส่วนใหญ่ ของ
จนกระทั่งกลายเป็นน้ำที่ไม่เป็ นที่ต้องการ และน่ารังเกียจ
ประเทศมี คุ ณ ภาพอยู่ ในเกณฑ์ เสื่ อ มโทรม (สำนั ก งาน
ของคนทั่วไป จากความหมายของน้ำเสียดังที่กล่าวมาข้างต้น
นโยบายและแผนทรัพ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ งแวดล้อ ม,
อาจสรุปได้ ว่า น้ ำเสีย หมายถึง น้ำที่ มีการปนเปื้อนของ
2562) โดยมีสาเหตุหลักมาจากน้ำเสียจากแหล่งชุมชน
สารอินทรีย์และอนินทรีย์ ทำให้คุณสมบัติเปลี่ยนไปจาก
ซึ่งเกิดจากการใช้ประโยชน์ในกิจกรรมต่าง ๆ และระบาย
เดิม ไม่เหมาะสมที่จะนำใช้ประโยชน์อีกต่อไป จนอาจมี
ลงสู่ท่อระบายน้ำแหล่งรองรับน้ำเสีย หรือแหล่งรองรับ
ผลกระทบต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่งผลต่อสุขภาพ
น้ำธรรมชาติ โดยไม่ผ่านการบำบัดให้มีลักษณะที่ดีขึ้นก่อน
และอนามั ย ของมนุ ษ ย์ สั ต ว์ และพื ช น้ ำ เสี ย ชุ ม ชน
(Domestic Wastewater) หมายถึง น้ ำเสียที่ เกิดจาก
3

กิจกรรมประจำวันและกิจกรรมที่เป็นอาชีพของประชาชน ปริ ม าณน้ ำ เสี ย ที่ ป ล่ อ ยทิ้ ง จากอาคาร บ้ า นเรื อ น


ที่อาศัยอยู่ในชุมชน ได้แก่ น้ำเสียที่เกิดจากการประกอบ มี ป ระมาณร้ อ ยละ 80 ของปริ ม าณน้ ำ ใช้ ห รื อ อาจ
อาหารและชําระล้างสิ่งสกปรกทั้งหลายภายในครัวเรือน ประเมิน ได้จากจำนวนประชากร หรือพื้น ที่ใช้สอยของ
และอาคารประเภทต่าง ๆ อาคารแต่ละประเภทในแต่ละภูมิภาค ดังแสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 อัตราการเกิดน้ำเสียต่อคนต่อวัน

อัตราการเกิดน้ำเสีย (ลิตร/ คน-วัน)


ภาค
2536 2540 2545 2550 2555 2560
กลาง 160-214 165-242 170-288 176-342 183-406 189-482
เหนือ 180 200 225 252 282 316
ตะวันออกเฉียงเหนือ 200-253 216-263 239-277 264-291 291-306 318-322
ใต้ 171 185 204 226 249 275
ที่มา โครงการศึกษาเพื่อจัดลำดับความสำคัญการจัดการน้ำเสียชุมชน, สำนักนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม 2538

3. ลักษณะของน้ำเสียชุมชุน 3.4 น้ำมันและเศษวัตถุลอยน้ำต่าง ๆ เป็นอุปสรรคต่อ


น้ ำ เสี ย ที่ เกิ ด จากกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ในชี วิ ต ประจำวั น การสั ง เคราะห์ แ สง และกี ด ขวางการกระจายของ
ซึ่งมีองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้ (กรมควบคุมมลพิษ, 2560) ออกซิเจนจากอากาศลงสู่น้ำ นอกจากนั้น ยังทำให้เกิด
3.1 สารอินทรีย์ในน้ำเสีย มีทั้งสารอินทรีย์ที่จุลินทรีย์ สภาพไม่ น่ าดู อีก ด้ วย โดยทั่ ว ไปน้ ำมั น และไขมัน มั ก จะ
ย่ อ ยสลายง่ า ย ได้ แ ก่ สารอิ น ทรี ย์ ที่ จุ ลิ น ทรี ย์ ใช้ เป็ น แยกตั ว ออกจากน้ ำเสี ย และลอยอยู่ ที่ ผิ ว น้ ำ แต่ ในบาง
อาหาร เช่ น คาร์ โบไฮเดรต โปรตี น เป็ น ต้ น และ สภาวะน้ำมันและไขมันอาจจะแขวนลอยอยู่ในน้ำเสียก็ได้
สารอินทรีย์ที่จุลินทรีย์ย่อยสลายยาก ได้แก่ สารอินทรีย์ โดยมีผลมาจากความร้อนหรือสารลดแรงตึงผิวที่ปนเปื้อน
ในกลุ่มที่จุลินทรีย์ทั่วไปนำไปใช้เป็นอาหารได้ยาก เช่น สี ในน้ำเสียนั้น
ย้ อ มชนิ ด ต่ า ง ๆ สี ข องกากน้ ำ ตาล สี ข องน้ ำ กากส่ า 3.5 ของแข็ ง เมื่ อ จมตั ว สู่ ก้ น ลำน้ ำ จะเกิ ด สภาพ
ซึ่งจุลินทรีย์ทั่วไปย่อยสลายได้ยากมากจะต้องหาจุลินทรีย์ ไร้ออกซิเจนที่ท้องน้ำทำให้แหล่งน้ำตื้นเขิน มีความขุ่นสูง
เฉพาะมาย่อยสลายสารเหล่านี้ มีผลกระทบต่อการดำรงชีพของสัตว์น้ำ
3.2 สารอนิ น ทรี ย์ ในน้ ำ เสี ย ได้ แ ก่ แร่ ธ าตุ ต่ า ง ๆ 3.6 สารก่อให้เกิดฟอง/สารซักฟอก ผงซักฟอก สบู่
ที่อาจไม่ ทำให้เกิดน้ำเน่าเหม็น แต่อาจเป็น อันตรายต่อ ฟองจะกี ดกั น การกระจายของออกซิเจนในอากาศสู่ น้ ำ
สิ่งมีชีวิต ได้แก่ คลอไรด์ ซัลเฟอร์ เป็นต้น และเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ
3.3 โลหะหนั ก และสารพิ ษ อาจอยู่ ใ นรู ป ของ 3.7 จุ ลิ น ทรี ย์ ปกติ ใ นน้ ำ เสี ย จะมี จุ ลิ น ทรี ย์ อ ยู่
สารอิ น ทรี ย์ ห รื อ อนิ น ทรี ย์ และสามารถสะสมอยู่ ใ น โดยธรรมชาติ อาจเป็นได้ทั้งจุลินทรีย์ก่อโรคและจุลินทรีย์
ห่วงโซ่อาหารของสัตว์หรือพืชก็ได้ และเป็นอันตรายต่อ ไม่ ก่ อ โรค โดยจุ ลิ น ทรี ย์ ดั งกล่ า วนี้ อ าจจำแนกได้ เป็ น
สิ่งมีชีวิต เช่น ปรอท โครเมียม ทองแดง และสารเคมี กลุ่ ม ๆ เช่ น แบคที เ รี ย รา ยี ส ต์ ไวรั ส สาหร่ า ย
ที่ใช้ในการกำจัดศัตรูพืชที่ปนมากับน้ำทิ้งจากการเกษตร โปรโตซัว เป็นต้น น้ำเสียที่มักพบจุลินทรีย์เป็นจำนวนมาก
สำหรับในเขตชุมชนอาจมีสารมลพิษนี้มาจากอุตสาหกรรม ได้แก่ น้ำเสียชุมชน น้ำเสียจากโรงพยาบาล น้ำเสียจาก
ในครัวเรือนบางประเภท เช่น อู่ซ่อมรถ ร้านชุบโลหะ โรงแรมและภั ต ตาคาร เนื่ อ งจากน้ ำ เสี ย ดั งกล่ า วเป็ น
และน้ำเสียจากโรงพยาบาล เป็นต้น
4

น้ำเสียที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ซึ่งอาจมีการปนเปื้อน ลดต่ำลงในช่วงกลางคืน และทำให้เกิดวัชพืชน้ำ ซึ่งเป็น


จุลินทรีย์ต่าง ๆ มากมาย ปัญหาแก่การระบายน้ำและการสัญจรทางน้ำ (กรมควบคุม
3.8 ธาตุ อ าหาร ได้ แ ก่ ไนโตรเจนและฟอสฟอรั ส มลพิษ, 2560)
เมื่ อ มี ป ริ ม าณสู งจะทำให้ เกิ ด การเจริ ญ เติ บ โตและเพิ่ ม 3.9 กลิ่ น เกิ ด จากก๊ า ซไฮโดรเจนซั ล ไฟด์ (H2S)
ปริ ม าณอย่ า งรวดเร็ ว ของสาหร่ า ย (Algae Bloom) ซึ่งเกิดจากการย่อยสลายของสารอินทรีย์แบบไร้ออกซิเจน
ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่จะทำให้ระดับออกซิเจนในน้ำ หรื อ กลิ่ นอื่ น ๆ จากโรงงานอุ ตสาหกรรม เช่ น โรงงาน
ทำปลาป่น โรงฆ่าสัตว์ เป็นต้น

ตารางที่ 2 ลักษณะน้ำเสียชุมชน

ความเข้มข้น
พารามิเตอร์ หน่วย
น้อย ปานกลาง มาก
1. ของแข็งทั้งหมด (Total Solids) มก./ล. 350 720 1,200
ของแข็งละลายน้ำ (Dissolved Solids) มก./ล. 250 500 850
ของแข็งแขวนลอย (Suspended Solids) มก./ล. 100 220 350
2. ปริมาณตะกอนหนัก (Settle able Solids) มก./ล. 5 10 20
3. ค่าบีโอดี (Biochemical Oxygen Demand; BOD) มก./ล. 110 220 400
4. ค่าซีโอดี (chemical Oxygen Demand; COD) มก./ล. 250 500 1000
5. ไนโตรเจนทั้งหมด (Total as Nitrogen) มก./ล. 20 40 85
อินทรีย์ไนโตรเจน (Organic) มก./ล. 8 15 35
แอมโมเนีย (Free ammonia) มก./ล. 12 25 50
ไนไตรท์ (Nitrites) มก./ล. 0 0 0
ไนเตรท (Nitrate) มก./ล. 0 0 0
6. ฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total as Phosphorus) มก./ล. 4 8 15
สารอินทรีย์ (Organic) มก./ล. 1 3 5
สารอนินทรีย์ (Inorganic) มก./ล. 3 5 10
7. คลอไรด์ (Chloride)(1) มก./ล. 30 50 100
8. ซัลเฟต (Sulfate)(1) มก./ล. 20 30 50
9. สภาพด่าง (Alkalinity as CaCO3) มก./ล. 50 100 200
10. ไขมัน (Grease) มก./ล. 50 100 150
11. Total Coliform MPN/100 ml 106-107 107-108 107-109
ที่มา : Metcalf & Eddy, 2003

4. การรวบรวมน้ำเสีย สถานที่ที่จะบำบัด โดยผ่านท่อระบายน้ำ ทั้งนี้ ระบบ


ระบบรวบรวมน้ำเสีย หรือระบบระบายน้ำ หมายถึง ท่อระบายน้ำจะต้องมีความสามารถในการรองรับน้ำที่ไหล
ระบบท่อที่มีการเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายที่ซับซ้อนทำหน้าที่ เข้าท่อระบายน้ำได้ทั้งหมดโดยไม่ก่อให้เกิด การรั่วซึมหรือ
รวบรวมน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดหลาย ๆ แห่งไปรวมกันยัง
5

ทำให้เกิดน้ำท่วมขึ้นภายในชุมชน แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ รวบรวมน้ำเสียให้ไหลตามท่อรวมไปยังบ่อบำบัดน้ำเสีย ส่วน


ดังนี้ น้ำฝนจะถูกปล่อยลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ ข้อดีของระบบ
4.1 ระบบท่ อ ร่ ว ม (Combined System) เป็ น ท่อรวมคือ มีต้นทุนค่าก่อสร้างที่ต่ำ เนื่องจากไม่ต้องขุด
ระบบที่ใช้ท่อระบายน้ำฝนและน้ำเสียร่วมกัน โดยจะต้อง ฝังท่อเป็นบริเวณกว้าง ดังภาพที่ 1 และภาพที่ 2
สร้ า งท่ อ ดั ก น้ ำ เสี ย (Interceptor) เป็ น ระยะ ๆ เพื่ อ

ภาพที่ 1 ภาพการรวบรวมน้ำเสียกรณีที่ 1 ระบบท่อรวม (กรมควบคุมมลพิษ, 2560)

ภาพที่ 2 ภาพการรวบรวมน้ำเสียกรณีที่ 2 ระบบท่อแยก (กรมควบคุมมลพิษ, 2560)


ทำให้มีค่าใช้จ่ายในการวางระบบท่อค่อนข้างสูง ดังภาพที่ 1
4.2 ระบบท่ อ แยก (Separated System) เป็ น และภาพที่ 2
ระบบที่ แ ยกท่ อ ระบายน้ ำเสี ยออกจากท่ อระบายน้ ำฝน
ซึ่งจะมี เพี ยงน้ ำเสี ยเท่ านั้ น ที่ จ ะถู กส่ งไปบำบั ด ทำให้ ไม่ 5. ระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนในประเทศไทย
จำเป็นต้องสร้างระบบบำบัดน้ำเสียให้มีขนาดใหญ่ และ ตามแผนแม่บทการบริหารจัดการน้ำ 20 ปี ด้านที่ 4
ประหยัดค่าไฟฟ้าที่ใช้ในการเดินระบบบำบัด เนื่องจากน้ำเสีย การจั ดการคุ ณ ภ าพ น้ ำและอนุ รั กษ์ ท รั พ ย์ กรน้ ำ
ที่ได้รับการบำบัดเป็นปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นจริง แต่ต้องทำ มีเป้าประสงค์ที่จะสร้างระบบบำบัดน้ำเสียรวม 741 แห่ง
การฝังท่อรวบรวมน้ำเสียและท่อระบายน้ำฝนในบริเวณที่กว้าง ทั่ วประเทศภายใน 20 ปี ซึ่ งในปั จจุ บั นประเทศไทยมี
ระบบบำบั ดน้ำเสียรวมของชุมชนทั่วประเทศรวมทั้ งสิ้น
6

101 แห่ง รับน้ำเสียชุมชนประมาณ 3.2 ล้านลูกบาศก์ เป็นระบบบำบัดน้ำเสียที่เหมาะกับพื้นที่ ที่มีประชากรอยู่


เมตรต่อวัน คิดเป็ นร้อยละ 34.67 ของปริมาณน้ ำเสียที่ อาศัย หนาแน่ น เป็น กลุ่ม ๆ หรือ แหล่ งท่ อ งเที่ ย วที่ ได้ รับ
เกิดขึ้น 9.59 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน ระบบบำบัดน้ำเสีย ความนิยม มักไม่ก่อให้เกิดน้ำเสียกระจายทั้งพื้นที่ ระบบ
101 แห่ ง นี้ อยู่ ใ นการดู แ ลขององค์ ก รป กครอง ท่อรวบรวมน้ำเสียเข้าสู่ระบบบำบัดไม่ จำเป็นต้องมีขนาด
ส่วนท้องถิ่นระดับเทศบาล 87 แห่ง องค์การบริหารส่วน ใหญ่ เพื่ อ ให้ ค รอบคลุ ม พื้ น ที่ ทั้ งหมดทำให้ ล ดค่ า ใช้ จ่ า ย
จั งหวั ด 1 แห่ ง องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำบล 2 แห่ ง ในการก่อสร้างและบำรุงรักษาลงได้ (กรมควบคุมมลพิษ,
เมืองพัทยา 2 แห่ง จังหวัดสมุทรปราการ 1 แห่ง และ 2560)
กรุงเทพมหานคร 8 แห่ง (กรมควบคุมมลพิษ, 2560)
การดำเนิ น งานบำบั ดน้ ำเสี ย ชุ มชน พบว่ ามี วิ ธี การ
ดำเนินงานบำบัดน้ำเสียชุมชนใน 3 รูปแบบที่สำคัญ ได้แก่
5.1 ระบบบำบั ด น้ ำเสี ย ณ แหล่ งกำเนิ ด (On-site
Treatment System) หรือ ระบบบำบัดน้ำเสียแบบติด
กับที่ เป็นระบบที่ใช้ตามอาคารบ้านเรือน ชุมชนขนาด
เล็ก ร้านอาหาร ภัตตาคาร อพาร์ทเม้นท์ หรือโรงแรม
ประกอบด้วยท่อรวบรวมน้ำเสียและระบบบำบัดน้ำเสีย
ขนาดเล็ก สำหรับบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ำ ภาพที่ 3 ภาพระบบบำบัดน้ำเสียแบบกลุ่ม
ธรรมชาติหรือนำน้ำเสียกลับมาใช้ใหม่ (US EPA, 2005) อาคาร (กรมควบคุมมลพิษ, 2560)
ระบบบำบัด น้ำเสี ยแบบติด กับ ที่ สำหรับ บ้านพัก อาศั ยที่
5.3 ระบบบำบัดแบบรวมศูนย์ (Centralized
นิยมใช้กัน ได้ แก่ บ่ อดักไขมั น (Grease Trap) ระบบบ่ อ
Treatment System) นั่นเป็น ระบบรวบรวมน้ ำ
เก ร อ ะ (Septic Tank) ร ะ บ บ บ่ อ ก รอ งไร้ อ าก า ศ
เสียชุมชนจากแหล่งกำเนิ ดทุกแห่งในเขตพื้นที่ มาบำบั ด
(Anaerobic Filter) เป็ นต้ น สำหรั บอาคารพาณิ ชย์ หรื อ
รวมกั น ซึ่ งท่ อ รวบรวมน้ ำเสี ย ชุ ม ชนนั้ น มี อ ยู่ 2 แบบ
อาคารสำนั กงานขนาดใหญ่ อาจมี การก่อสร้างเป็ น ระบบ
หลัก คือ ระบบท่อรวบรวมรวม และระบบท่อรวบรวม
ขนาดใหญ่ เช่ น ระบบตะกอนเร่ ง เป็ น ต้ น เพื่ อ ให้
แยก ดังแสดงในภาพที่ 3 ระบบบำบัดน้ำเสียรวมที่นิยม
สามารถบำบัดน้ำเสียได้ตามมาตรฐานน้ำทิ้งก่อนระบาย
ใช้มีหลายประเภท ได้แก่ บ่อผึ่ง สระเติมอากาศ ระบบ
ออกสู่ สิ่ งแวดล้ อ ม (กรมควบคุ ม มลพิ ษ , 2560 ; ศตพล
บำบัดน้ำเสียแบบตะกอนเร่ง และระบบบำบัดน้ำเสียแบบ
มุ่งค้ำกลาง จำลอง โพธิ์บุญ และวิสาขา ภู่จินดา, 2556, หน้า
จานหมุนชีวภาพ (กรมควบคุมมลพิษ, 2560)
1-24)
ปัจจุบันระบบบำบัดน้ำเสียในประเทศไทยประมาณ
5.2 ระบบบำบั ด น้ ำ เสี ย แบบกลุ่ ม อาคาร (Cluster
ร้ อยละ 80 เป็ นระบบบำบั ดน้ ำเสี ยชุ มชนแบบตะกอนเร่ ง
Treatment System) เป็ น ระบบที่รวบรวมและบำบั ด
(มั่นสิน ตั ณฑุ ลเวศม์, 2541) หรือใช้วิธีทางชีววิทยาแบบใช้
น้ำเสียชุมชนจากชุมชนขนาดใหญ่มาบำบัดยังระบบบำบัด
ออกซิเจนเป็นหลัก เนื่องจากน้ำเสียชุมชนมีปริมาณสารอินทรีย์
น้ำเสียที่มีขนาดที่เหมาะสมกับปริมาณและความสกปรก
ปนเปื้ อนหลากหลายประเภท จากกิ จกรรมของมนุ ษย์ เช่ น
ของน้ ำ เสี ย ดั งแสดงในภาพที่ 3 ระบบบำบั ด น้ ำเสี ย
การซักล้าง ชําระร่างกาย แต่ความเข้มข้นเฉลี่ยของสารอินทรีย์
แบบรวมกลุ่มอาคารมีการพัฒนาขึ้นมาเพื่อให้สอดคล้อง
ในน้ำเสียไม่สูงพอที่จะใช้การบำบัดแบบไร้อากาศเหมือนกับน้ำ
กั บ สภาพความเป็ น จริงในปั จจุ บั น ที่ มี แ หล่ งชุ ม ชนใหญ่
เสียจากแหล่งเกษตรกรรมหรืออุตสาหกรรม ซึ่งระบบบำบัดน้ำ
เพี ย งบางจุ ด หรือ แหล่ งท่ อ งเที่ ย วบางแห่ งที่ ต้ อ งรองรั บ
เสียรวมที่นิยมใช้ในประเทศไทย สามารถแบ่งออกเป็ น
นักท่องเที่ ยวเป็ น จำนวนมาก การก่อสร้างระบบบำบั ด
5 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้
น้ำเสีย รูป แบบดังกล่ าวมีค่าใช้จ่ายในการก่ อสร้างระบบ
รวบรวมและบำบัดน้ำเสียต่ำกว่าระบบบำบัดแบบรวมศูนย์
7

การดำรงชี วิตเพิ่ มจำนวนขึ้ น และย่ อยสลายสารอิ นทรีย์ ที่


ปนเปื้ อนในน้ ำเสี ยนั้ น ระบบนี้ จึ งเหมาะกั บ น้ ำเสี ยที่ มี
สารอินทรีย์และปริมาณของแข็งสูง เนื่องจากของแข็งจะตกลง
สู่ก้นบ่อและถูกย่อยสลายแบบแอนแอโรบิก น้ำเสียส่วนที่ผ่าน
การบำบั ดจากบ่อนี้ จะระบายต่อไปยังบ่ อแฟคคั ลเทที ฟเพื่ อ
บำบั ดต่ อไป การทำงานของบ่ อแบบนี้ จะขึ้ นอยู่ กั บสมดุ ล
ระหว่างแบคทีเรียที่ทำให้เกิดกรดและแบคทีเรียที่ทำให้เกิ ด
ภาพที่ 4 ภาพระบบบำบั ด แบบรวมศู น ย์
แก๊สมีเทน ดังนั้นอุณหภูมิของบ่อควรมากกว่า 15 องศาเซลเซียส
(กรมควบคุมมลพิษ, 2560)
และค่า pH มากกว่า 6
5.3.1.2 บ่ อ แฟคคั ล เทที ฟ (Facultative
5.3.1 ระบบบำบั ด น้ ำเสี ย แบบบ่ อ ปรั บ เสถี ย ร
pond) เป็นบ่อที่นิยมใช้กันมากที่สุดภายในบ่อมีลักษณะการ
(Stabilization Pond) เป็ นระบบบำบั ดน้ ำ เสี ย ที่ อาศั ย
ทำงานแบ่ งเป็ น 2 ส่ ว นคื อ ส่ วนที่ มี อ อกซิ เจนอิ ส ระ
ธรรมชาติ ในการบำบั ด สารอิ น ทรี ย์ ในน้ ำเสี ย โดยไม่ มี
(Aerobic zone) กับส่วนที่ไม่มีออกซิเจนอิสระ (Anaerobic
การใช้เครื่องจักรกลลงไปในระบบบำบัดน้ำเสีย อาจจะกล่าวได้ว่า
zone) ส่วนของ Aerobic zone จะประกอบด้วยจุลินทรีย์
เป็ นเพี ยงการสร้ างบ่ อข้ นมาเพื่ อกั กเก็ บน้ ำเสี ยไว้ โดยอาศั ย
ในกลุ่ มสาหร่ ายและ Heterotrophic bacteria การกำจั ด
ระยะเวลากักเก็บเพื่อช่วยให้สารอินทรีย์ในน้ำเสียถูกย่อยสลาย
สารอนิทรีย์ในส่วนนี้จะเป็นปฏิกิริยาชีวเคมีแบบใช้ออกซิเจน
ตามธรรมชาติโดยจุลินทรีย์ในบ่อบำบัดน้ำเสียนั้น ๆ ซึ่งแบ่ง
อิสระ ส่วนของ Anaerobic zone คือ ส่วนที่แสงแดดส่งไป
ตามลักษณะการทำงานได้ 3 รูปแบบ คือ บ่อแอนแอโรบิก
ไม่ถึงจะมีการย่อยสลายสารอินทรีย์แบบไม่ใช้ออกซิเจนอิสระ
(Anaerobic Pond) บ่ อแฟคคั ลเทที ฟ (Facultative Pond)
รวมทั้ งตะกอนที่ มี การตกสะสมก้ นบ่ อจะถู กย่ อยสลายด้ วย
บ่ อ แอโรบิ ก (Aerobic Pond) และหากมี บ่ อ หลายบ่ อ
กระบวนการทางชีววิทยาแบบไม่ใช้ออกซิเจนอิสระเช่นกัน
ต่อเนื่องกันบ่อสุดท้ายจะทำหน้าที่เป็นบ่อบ่ม (Maturation
5.3.1.3 บ่ อ บ่ ม (Maturation pond) มี
Pond) เพื่ อ ปรั บ ปรุ งคุ ณ ภาพน้ ำทิ้ งก่ อ นระบายออกสู่
สภาพเป็ นแอโรบิ กตลอดทั้ งบ่ อจึ งมี ความลึ กไม่ มากและ
สิ่งแวดล้อม บ่ อปรับเสถียรสามารถบำบั ดน้ ำเสียจากชุมชน
แ ส งแ ด ด ส่ อ งถึ งก้ น บ่ อ ใช้ รอ งรั บ น้ ำเสี ย ที่ ผ่ าน
หรือโรงงานบางประเภท เช่น โรงงานผลิตอาหาร โรงฆ่าสัตว์
การบำบั ดแล้ ว เพื่ อฆ่ าเชื้ อโรคที่ อาจจะปนเปื้ อนในน้ ำเสี ย
เป็ นต้ น และเป็ นระบบที่ มีค่ าก่ อสร้างและค่ าดู แลรักษาต่ ำ
โดยอาศัยแสงแดดทำลายเชื้อโรคหรือจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนมา
วิธีการเดินระบบไม่ยุ่งยากซับซ้อน ผู้ควบคุมระบบไม่ต้องมี
กับน้ำทิ้งก่อนระบายออกสู่สิ่งแวดล้อม บ่อบ่มนี้ใช้เป็นขั้นที่
ความรู้สูง แต่ต้องใช้พื้นที่ก่อสร้างมากจึงเป็นระบบที่เหมาะ
สองต่อจากบ่อแฟคคัลเททีฟ จุดประสงค์ส่วนใหญ่ ในการใช้
กับชุมชนที่มีพื้นที่เพียงพอและราคาไม่แพง ซึ่งโดยปกติระบบ
ก็คือการทำลายจุลนิ ทรีย์ที่ก่อโรค แบคทีเรียและไวรัสที่มาจาก
บ่อปรับเสถียรจะมีการต่อกันแบบอนุกรมอย่างน้อย 3 บ่ อ
อุจจาระจะตายไปอย่างรวดเร็ว เนื่องจากสภาพแวดล้อมไม่
(ภาพที่ 5) ส่วนประกอบของระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อปรับ
เหมาะสมที่พวกมันจะมีชีวิตอยู่ได้ พวก Cysts และไข่ของ
เสถียรประกอบไปด้วย
พยาธิจะตกลงสู่ก้นบ่อ เนื่องจากเวลากักเก็บที่ยาวนานและ
5.3.1.1 บ่ อแอนแอโรบิ ก (Anaerobic
ตายไป ลักษณะของบ่อบำบัดน้ำเสียแบบนี้จะออกแบบให้เป็น
pond) หรื อ บ่ อหมั กไร้ อ ากาศ เป็ นระบบที่ ใช้ กำจั ด
บ่ อที่ มี ขนาดความลึ กประมาณ 1 เมตร และมี ระยะเวลา
สารอินทรีย์ที่มีความเข้มข้นสูงโดยไม่ต้องการออกซิเจน บ่อนี้
กักเก็บที่ นาน การออกแบบที่ เหมาะสมจะให้ ประสิทธิภาพ
จะถู กออกแบบให้ มี อั ตรารั บสารอิ นทรี ย์ สู งมาก จนทำให้
การกำจั ดได้ มากกว่ าร้อยละ 99.99 (กรมควบคุ ม มลพิ ษ ,
ปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเสียถูกจุลินทรีย์ใช้ไปจน
2560 ; สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์, 2549)
หมด ทำให้เกิดสภาพไร้ออกซิเจนละลายน้ำภายในบ่อ ส่งผล
ให้ จุ ลิ น ทรี ย์ ก ลุ่ ม ที่ ไม่ ใช้ อากาศหรื อ ออกซิ เจนอิ ส ระใน
8

5.3.3 ระบบบำบัดน้ำเสียแบบแอ็กทิเวเต็ดสลัดจ์
หรื อ ระบบตะกอนเร่ ง (Activated Sludge : AS) ใช้
แบคทีเรียที่ใช้ออกซิเจน (Aerobic Bacteria) เป็นตัว
หลักในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำเสียระบบตะกอน
ภาพที่ 5 ภาพระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อปรับเสถียร
เร่ งเป็ น ระบบบำบั ด น้ ำเสีย ที่ นิ ย มใช้กั น อย่างแพร่ห ลาย
(สุรยี ์ บุญญานุพงศ์ และณัษฐพงศ์ วรรณวิจิตร,
สามารถบำบัดได้ทั้งน้ำเสียชุมชนและน้ำเสียจากโรงงาน
2551)
อุตสาหกรรม ระบบบำบัดน้ำเสียแบบตะกอนเร่งสามารถ
กำหนดปริมาณสารอินทรีย์ โดยมากจะวัดออกมาในรูป
5.3.2 ระบบบำบั ด น้ ำ เสี ย แบบบ่ อ เติ ม อากาศ
ของบีโอดีที่จะเข้าสู่ระบบบำบัดน้ำเสีย ปริมาณจุลินทรีย์
(Aerated Lagoon : AL) เป็ น ระบบบำบั ด น้ ำ เสี ย ที่
ในระบบบำบั ด น้ ำ เสี ย กล่ า วคื อ แบคที เ รี ย ในกลุ่ ม
อาศัยการเติมออกซิเจนจากเครื่องเติมอากาศ (Aerator)
Heterotrophic bacteria ที่อยู่ในถังปฏิกิริยา ปริมาณ
เพื่ อ เพิ่ ม ออกซิ เจนในน้ ำ ให้ มี ป ริม าณเพี ย งพอ สำหรั บ
สารอิ น ทรี ย์ ต่ อ ปริ ม าณตะกอนจุ ลิ น ทรี ย์ (F/M ratio)
จุลินทรีย์สามารถนําไปใช้ย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำเสีย
ปริ ม าณอาหารเสริ ม (ไนโตรเจน ฟอสฟอรั ส เหล็ ก
ได้เร็วขึ้นกว่าการปล่อยให้ย่อยสลายตามธรรมชาติ ทำให้
และอื่น ๆ) ตลอดจนปริมาณออกซิเจนที่เหมาะสมที่ต้อง
ระบบบำบั ด น้ ำ เสี ย แบบบ่ อ เติ ม อากาศสามารถบำบั ด
เติมให้น้ำเสียในถังปฏิกิริยา เนื่องจากระบบบำบัดน้ำเสีย
น้ำเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดปริมาณความ
ดังกล่าวสามารถควบคุมตัวแปรต่าง ๆ ได้ค่อนข้างสมบูรณ์
สกป รกของน้ ำเสี ย ในรู ป ของค่ าบี โอดี (Biochemical
ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมทั้งมีค่า
Oxygen Demand; BOD) ได้ ร้อยละ 80 – 95 โดยอาศั ย
ก่ อ สร้ า งระบบบำบั ด และค่ า ใช้ จ่ า ยในการเดิ น ระบบที่
หลั ก การทำงานของจุ ลิ น ทรี ย์ ภ ายใต้ ส ภาวะแอโรบิ ก
ค่ อ นข้ า งสู ง มี ก ารเดิ น ระบบที่ มี ค วามยุ่ งยากซั บ ซ้ อ น
โดยมีเครื่องเติมอากาศซึ่งนอกจากจะทำหน้าที่เพิ่มออกซิเจนใน
เนื่องจากจำเป็นจะต้องมีการควบคุมสภาวะแวดล้อมและ
น้ำแล้ว ยังทำให้เกิดการกวนผสมของน้ำในบ่อด้วย ทำให้เกิด
ลักษณะทางกายภาพ ต่าง ๆ ให้เหมาะสมแก่การทำงาน
การย่อยสลายสารอินทรีย์ได้อย่างทั่วถึงภายในบ่อ (ภาพที่ 6)
และการเพิ่ ม จำนวนของจุ ลิ น ทรี ย์ เพื่ อ ให้ ร ะบบมี
ส่ วนประกอบของระบบบำบั ดน้ ำเสี ย ระบบบำบั ดน้ ำเสี ย
ประสิทธิภาพในการบำบัดสูงสุด ในปัจจุบันระบบตะกอนเร่ง
แบบบ่อเติมอากาศประกอบไปด้วยบ่อเติมอากาศ บ่อบ่มเพื่อ
มีการพัฒนาการใช้งานหลายรูปแบบ เช่น ระบบแบบกวน
ปรับสภาพน้ำทิ้ง บ่อเติมคลอรีนสำหรับฆ่าเชื้อโรค (กรมควบคุม
สมบูรณ์ (Completely Mix) กระบวนการปรับเสถียรสัมผัส
มลพิษ, 2560 ; สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์, 2549)
(Contact Stabilization Process) ระบบคลองวนเวียน
(Oxidation Ditch) หรือระบบบำบัดน้ำเสียแบบเอสบีอาร์
(Sequencing Batch Reactor) เป็นต้น
ระบบบำบั ดน้ ำเสี ยแบบตะกอนเร่ งโดยทั่ วไปจะ
ประกอบด้ วยส่ ว นสำคั ญ 2 ส่ วน คื อ ถั งเติ ม อากาศ
(Aeration Tank) และถังตกตะกอน (Sedimentation
Tank) โดยน้ำเสียจะถูกส่งเข้าถังเติมอากาศ ซึ่งมีสลัดจ์
อยู่ เป็ น จำนวนมากตามที่ อ อกแบบไว้ สภาวะภายใน
ถังเติมอากาศจะมีสภาพที่เอื้ออํานวยต่อการเจริญเติบโต
ของจุลินทรีย์แบบใช้อากาศ จุลินทรีย์เหล่านี้จะทำการย่อย
ภาพที่ 6 ภาพระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อเติมอากาศ สลายสารอินทรีย์ในน้ำเสียให้อยู่ในรูปของคาร์บอนไดออกไซด์
(สุรยี ์ บุญญานุพงศ์ และณัษฐพงศ์ วรรณวิจิตร, และน้ำในที่สุด น้ำเสียที่ผ่านการบำบัดแล้วจะไหลต่อไปยัง
2551) ถั ง ตกตะกอนเพื่ อ แยกสลั ด จ์ อ อกจากน้ ำ ใส สลั ด จ์ ที่
9

แยกตัวอยู่ที่ก้นถังตกตะกอนส่วนหนึ่งจะถูกสูบกลับเข้าไป ออกซิเจนบางส่วนจะได้จากการสังเคราะห์แสงจากพืชน้ำ
ในถังเติมอากาศใหม่ เพื่อรักษาความเข้มข้นของสลัดจ์ใน และสาหร่าย แต่มีปริมาณไม่มากนักสำหรับสารแขวนลอย
ถั งเติ ม อากาศ และอี ก ส่ ว นหนึ่ ง ที เป็ น สลั ด จ์ ส่ วนเกิ น จะถูกกรอง และจมตัวอยู่ในช่วงต้นของระบบ การลด
(Excess Sludge) จะถูกระบายออกเพื่อนำไปกำจัดต่อไป ปริมาณไนโตรเจนจะเป็นไปตามกระบวนการไนตริฟิเคชั่น
น้ ำ ใสส่ ว นบนจะเป็ น น้ ำ ทิ้ ง ที่ ส ามารถระบายออกสู่ (Nitrification) และดิ ไนตริ ฟิ เคชั่ น (Denitrification)
สิ่ ง แวดล้ อ มได้ (กรมควบคุ ม มลพิ ษ , 2560 ; สั น ทั ด ส่วนการลดปริม าณฟอสฟอรัส ส่วนใหญ่ จะเกิด ที่ ชั้น ดิ น
ศิริอนันต์ไพบูลย์, 2549) ส่ ว นพื้ น บ่ อ และพื ช น้ ำ จะช่ ว ยดู ด ซั บ ฟอสฟอรั ส ผ่ า น
ทางรากและนํ าไปใช้ ในการสร้ างเซลล์ นอกจากนี้ ระบบ
บึงประดิษฐ์ยังสามารถกำจัดโลหะหนัก (Heavy Metal)
ได้บางส่วนอีกด้วย (กรมควบคุมมลพิษ, 2560 ; Weber,
K.P.2016)

ภาพที่ 7 ภาพระบบบำบัดน้ำเสียแบบแอ็กทิเวเต็ดสลัดจ์
(Global Water Pathogen Project, 2019)

5.3.4 ระบบบำบั ด น้ ำ เสี ย แบบบึ งประดิ ษ ฐ์


(Constructed Wetland) เป็ น ระบบบำบั ด น้ ำ เสี ย ที่ ภาพที่ 8 ภาพระบบบำบัดน้ำเสียแบบบึงประดิษฐ์
อาศั ย กระบวนการทางธรรมชาติ เป็ น ระบบบำบั ด ที่ มี แบบ Free Water Surface Wetland
ประสิทธิภาพในการลดปริมาณไนโตรเจนและฟอสฟอรัส (FWS) Vegetated Submerged Bed
ก่อนระบายออกสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ และยังสามารถใช้เป็น System (VSB) (Weber, 2016)
ระบบบำบั ดน้ ำเสี ยในขั้ น ที่ 2 (Secondary Treatment)
สำหรับบำบัดน้ำเสียชุมชนได้อีกด้วย ข้อดีของระบบนี้ คือ 5.3.5 ระบบบำบั ดน้ ำเสี ยแบบจานหมุ นชี วภาพ
เป็ น ระบบที่ ไ ม่ ซั บ ซ้ อ นและไม่ ต้ อ งใช้ เ ทคโนโลยี ใ น (Rotating Biological Contactor; RBC) เป็ น ระบบ
การบำบัดสูง แต่ต้องบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอ บึงประดิษฐ์ บำบั ด น้ ำ เสี ย ทางชี ว วิ ท ยาแบบจานหมุ น ชี ว ภาพที่ ใ ช้
มี 2 ประเภท ได้แก่ 1) แบบ Free Water Surface ตัวกลางเป็นแผ่นจาน โดยแผ่นจานนี้จะมีการหมุนรอบ
Wetland (FWS) ซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกับบึงธรรมชาติ ตัวเองด้วยความเร็วรอบต่ำไปเรื่อย ๆ และแผ่นจานจะถูก
และ 2) แบบ Vegetated Submerged Bed จัด ให้ อ ยู่ในน้ ำส่ ว นหนึ่ งและอี ก ส่ วนหนึ่ งจะอยู่ เหนื อ น้ ำ
System (VSB) ซึ่งจะมีชั้นดินปนทรายสำหรับปลูกพืชน้ำ เมื่อแผ่นจานหมุนขึ้นพ้นน้ำและสัมผัสอากาศ จุลินทรีย์ที่
และชั้นหินรองก้นบ่อเพื่อเป็น ตัวกรองน้ำเสีย (ภาพที่ 8) อาศัย ติ ดอยู่กั บตั วกลางจะใช้ออกซิ เจนจากอากาศย่อ ย
เมื่อน้ำเสียไหลเข้ามาในบึงประดิษฐ์ส่วนต้น สารอินทรีย์ สลายสารอินทรีย์ในน้ำเสียที่สัมผัสติดตัวกลางขึ้นมาหรือ
ส่ ว นหนึ่ งจะตกตะกอนจมลงสู่ ก้ น บึ งและถู ก ย่ อ ยสลาย เปลี่ยนรูปสารอินทรีย์เหล่านั้นให้เป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
โดยจุ ลิ น ทรี ย์ ส่ ว นสารอิ น ทรี ย์ ที่ ล ะลายน้ ำ จะถู ก กำจั ด น้ำ และเซลล์จุลินทรีย์ และเมื่อหมุนจมลงไปสัมผัสกับ
โดยจุ ลิ น ทรี ย์ ที่ เกาะติ ด อยู่ กั บ พื ช น้ ำ หรื อ ชั้ น หิ น และ น้ำเสียในถังปฏิกิริยาอีกครั้ง ทำให้ออกซิเจนส่วนที่เหลือ
จุลินทรีย์ที่แขวนลอยอยูในน้ำ ระบบนี้จะได้รับออกซิเจน ผสมกับน้ ำเสีย ซึ่งเป็นการเติมออกซิเจนให้ กับน้ำเสียอี ก
จากการแทรกซึมของอากาศผ่านผิวน้ำหรือชั้นหินลงมา ส่วนหนึ่ง สลับกันเช่นนี้ตลอดไปเป็นวัฏจักร เมื่อมีจำนวน
10

จุ ลิ น ทรี ย์ ยึ ด เกาะแผ่ น จานหมุ น หนามากขึ้ น จะทำให้ มี สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์. (2549). ระบบบำบัดน้ำเสีย


ตะกอนจุลินทรีย์บางส่วน หลุดลอกจากแผ่นจาน เนื่องจาก การเลื อ กใช้ ก ารออกแบบการควบคุ ม และ
แรงเฉื อ นของการหมุ น ซึ่ ง จะรั ก ษาความหนาของ การแก้ไขปัญหา. กรุงเทพฯ: ท้อป.
แผ่ น ฟิ ล์ ม ให้ ค่ อ นข้ า งคงที่ โ ดยอั ต โนมั ติ ทั้ ง นี้ ต ะกอน สำนั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ
จุลินทรีย์แขวนลอยที่ไหลออกจากถังปฏิกิริยานี้ จะไหล สิ่ ง แวดล้ อ ม. (2538). โครงการศึ ก ษาเพื่ อ
เข้า สู่ ถั งตกตะกอนเพื่ อ แยกตะกอนจุลิ น ทรีย์ แ ละน้ ำทิ้ ง จั ดลำดั บ ความสำคั ญ การจั ดน้ ำเสี ย ชุ ม ชน.
ทำให้น้ำทิ้งที่ออกจากระบบนี้มีคุณภาพดีขึ้น (กรมควบคุม กรุงเทพฯ: บริษัทซีเทค อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด.
มลพิษ, 2560 ; สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์, 2549) สำนั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ
ระบบบำบัดน้ำเสียรวมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สิ่ งแวดล้ อ ม. (2562). รายงานสถานการณ์
ในประเทศไทยนิยมใช้มากที่สุด ได้แก่ ระบบบำบัดบ่อผึ่ง คุ ณ ภาพ สิ่ ง แวดล้ อ ม พ.ศ.2562. รายงาน
ซึ่ ง มี ทั้ ง สิ้ น 23 แห่ ง ระบบบำบั ด น้ ำ เสี ย รวมที่ ไ ด้ ผลการวิ จัย. กรุ งเทพฯ: สำนั กงานนโยบายและแผน
ความนิมรองลงมา ได้แก่ ระบบบำบัดน้ำเสียแบบตะกอน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
เร่ งประเภทคลองวนเวี ย น (Oxidation Ditch : OD) สุรีย์ บุญญานุพงศ์ และณัษฐพงศ์ วรรณวิจิตร. (2551).
จำนวน 18 แห่ ง ซึ่ งส่ วนใหญ่ เป็ น เมื องที่ มี ป ระชากร คู่มือการจัดการน้ำเสีย. ค้นเมื่อ พฤษภาคม 23,
หนาแน่น มีลักษณะเป็นชุมชนเมืองหรือแหล่งท่องเที่ยว 2562, จาก http://www.sri.cmu.ac.th/~srilocal
สำคัญ ที่เหลือเป็นระบบบำบัดน้ำเสียรวมแบบสระเติม /water/mainpage.htm
อากาศ จำนวน 14 แห่ง ระบบบำบัดน้ำเสียรวมแบบ Global Water Pathogen Project. (2019).
ตะกอนเร่ ง (AS) จำนวน 5 แห่ ง แบบแผ่ น หมุ น Activated Sludge. Retrieved May 22, 2019,
ชีวภาพ (RBC) 1 แห่ ง แบบบึงประดิษฐ์ (Wetland) Form https:// www.semanticscholar.org
2 แห่ง และแบบผสมผสานระหว่างบ่อผึ่งกับบึงประดิษฐ์ /paper/GLOBAL-WATER-PATHOGEN-
(SP+ Wetland) จำนวน 3 แห่ง (กรมควบคุมมลพิษ , PROJECT-PART-FOUR.-MANAGEMENT-
2560 ; ศตพล มุ่งค้ำกลาง จำลอง โพธิ์บุญ และวิสาขา SLUDGENaughton/769daa0b3033b4a071
ภู่จินดา และคณะ, 2556) c30cec 0399689428/figure/
Metcalf & Eddy. (2003). Wastewater
6. เอกสารอ้างอิง Engineering: Treatment and Reuse.
กรมควบคุมมลพิษ. (2560). คู่มือระบบบำบัดน้ำเสีย (4th ed.) .New York: McGraw-Hill.
ชุมชน. ค้นเมื่อ พฤษภาคม 22, 2562, จาก US EPA. (2005). Guidelines for carcinogen risk
http://www.oic.g o.th/FILEWER assessment and supplemental guidance
CABINFOCENTER3/DRAWE R05 for assessing susceptibility from early-life
6/GENERAL/DATA0000/00000973.PDF exposure to carcinogens. Guidelines for
มั่นสิน ตัณฑุลเวศม์. (2541). คู่มือการเก็บตัวอย่างน้ำ carcinogen risk assessment.
เสียชุมชน. กรุงเทพฯ: กรมควบคุมมลพิษ. Weber, K.P. (2016). Microbial Community Assessment
ศตพล มุ่งค้ำกลาง จำลอง โพธิ์บุญ และวิสาขา ภู่จินดา. in Wetlands for Water Pollution Control :
(2556, กรกฎาคม-ธันวาคม). ระบบบำบัดน้ำ PastPresent, and Future Outlook.
เสียที่เหมาะสมสำหรับการจัดการน้ำเสียชุมชน Retrieved May 23, 2019, Form
ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น. การจัดการ https://www.mdpi.com/2073-
สิ่งแวดล้อม, 9, (2), หน้า 1-24. 4441/8/11/503

You might also like