You are on page 1of 10

วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดลอมไทย ปที่ 22 ฉบับที่ 1 : หนา 167-176 (2551)

www.eeat.or.th

อิทธิพลของตะกอนที่ผานการยอยสลายแบบไรออกซิเจนตอ
การยอยสลายสารอินทรียและการชะละลายโลหะหนัก
จากหลุมฝงกลบขยะชุมชน
Effect of Anaerobic Digested Sludge on Organic
Degradation and Heavy Metal Leaching from Municipal
Solid Waste Landfill
Chart Chiemchaisri*, Mongkol Canda* and Suthimol Kessomboon**
ชาติ เจียมไชยศรี* มงคล แคนดา* และ สุทธิมล เกษสมบูรณ**
*ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ 10900
**สํานักการระบายน้ํา ศาลาวาการกรุงเทพมหานคร 2 กรุงเทพฯ 10400
E-mail: fengccc@ku.ac.th

บทคัดยอ

งานวิจัยนี้ศึกษาการชะละลายโลหะหนักจากหลุมฝงกลบขยะชุมชนรวมกับตะกอนน้ําเสียที่ผานการ
ยอยสลายแบบไรออกซิเจน โดยศึกษาทดลองการชะละลายของแคดเมียม โครเมียม ทองแดง นิเกิล และตะกั่ว
จากขยะชุมชน ตะกอน และขยะชุมชนผสมกับตะกอนในสภาวะความเปนกรด-ดาง (pH) แตกตางกัน คือ 4, 7
และ 10 ผลการทดลองพบวาการชะละลายโลหะหนักมีปริมาณต่ําไมเกินคามาตรฐานตามวิธี TCLP การศึกษา
ทดลองระบบการฝงกลบ 3 รูปแบบ คือ บอฝงกลบที่ 1 บรรจุขยะชุมชนเพียงอยางเดียว 9,000 ลูกบาศกเมตร
บอฝงกลบที่ 2 บรรจุตะกอน 1,000 ลูกบาศกเมตร กลบทับบนขยะชุมชน 8,000 ลูกบาศกเมตร และบอฝงกลบที่ 3
บรรจุขยะและตะกอนที่คลุกกันอยางทั่วถึง พบวาการฝงกลบตะกอนน้ําเสียรวมกับขยะชุมชนไมสงผลตอการ
เปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําชะมูลฝอย แตทําใหความเขมขนของสารมลพิษสวนใหญในน้ําชะขยะลดลง กาซชีวภาพ
ที่เกิดขึ้นในบอฝงกลบขยะเพียงอยางเดียวมีปริมาณสูงกวาบอฝงกลบขยะที่มีตะกอน เนื่องจากตะกอนมีปริมาณ
สารอินทรียต่ํากวาขยะชุมชน การฝงกลบตะกอนรวมกับขยะชุมชนไมสงผลใหเกิดการชะละลายของโลหะหนัก
เพิ่ มสู งขึ้ น โดยมีปริม าณโลหะหนัก ที่ช ะละลายออกมาจากบอ ฝง กลบตลอดการทดลอง 1 ป คือ แคดเมี ย ม
168 วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดลอมไทย ปที่ 22 ฉบับที่ 1 (2551)

0.69-1.03 กิโลกรัม โครเมียม 0.66-0.83 กิโลกรัม ทองแดง 0.50-0.85 กิโลกรัม นิเกิล 0.12-1.91 กิโลกรัม และ
ตะกั่ว 0.27-0.33 กิโลกรัม

คําสําคัญ : ตะกอน การฝงกลบขยะ น้ําชะขยะ ขยะชุมชน โลหะหนัก

Abstract

This research was conducted to examine the leaching of heavy metals, i.e. cadmium, chromium,
copper, nickel and lead from municipal solid waste and anaerobic digested sewage sludge co-landfill under
various pH conditions (pH of 4, 7 and 10). The results showed that heavy metals were leached out at low
concentrations and not exceeded standard values of Toxicity Characteristic Leaching Procedure (TCLP) test.
Three pilot-scale landfills were set-up to simulate the disposal of solid waste and digested sludge under
different conditions. The first cell contained 9,000 m3 of municipal solid wastes, the second cell contained
1,000 m3 layer of digested sludge placed on 8,000 m3 of municipal solid wastes and the third cell contained
digested sludge mixed well with municipal solid wastes. The results suggested that the disposal of digested
sludge with municipal solid wastes did not significantly affect the volume of leachate produced from the
landfill cells but the pollutant concentrations were comparable lower as than the landfill cells containing
municipal solid wastes alone. The biogas volume produced from the municipal solid wastes was found higher
than the mixture of municipal solid waste and sludge due to lower organic substances contained in the sludge.
Co-disposal of digested sludge and municipal solid wastes did not enhance heavy metal leaching from the
landfill cells. The mass of heavy metals leached out from the landfill cells during one year experiment was
0.69-1.03 kg of cadmium, 0.66-0.83 kg of chromium, 0.50-0.85 kg of copper , 0.12-1.91 kg of nickel and
0.27-0.33 kg of lead.

Keywords : sludge, solid waste landfill, leachate, municipal solid waste, heavy metals

คํานํา ระบบบํา บัด น้ํา เสีย รวม ซึ่ง สามารถบําบัดน้ําเสียได


มากกว า ร อ ยละ 40 ของปริ ม าณน้ํ า เสี ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น
ก ร ุง เ ท พ ม ห า น ค ร เ ป น ห น ว ย ง า น ที่ ทั้งหมด สงผลใหมีปริมาณตะกอนน้ําเสียจากระบบ
รับ ผิด ชอบการจัด การขยะและน้ําเสียที่เกิดขึ้นจาก บําบัดแบบชีวภาพที่ตองนําไปกําจัดเพิ่มมากขึ้น โดย
กิจกรรมตางๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร ในปจ จุบัน การบํ า บั ด ตะกอนดั ง กล า วอาศั ย ระบบย อ ยสลาย
สํ า นั ก การระบายน้ํ า ไดดํ า เนิน โครงการกอ สรา ง ตะกอนแบบไร อ อกซิ เ จนและกระบวนการรี ด น้ํ า
วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดลอมไทย ปที่ 22 ฉบับที่ 1 (2551) 169

ในกรณีที่ตะกอนที่ผานการบําบัดดังกลาวไมสามารถ ร ว มกั น ต อ การย อ ยสลายของสารอิ น ทรี ย ใ นบ อ


นํ า ไปใช ป ระโยชน ไ ด จะต อ งนํ า ไปกํ า จั ด โดยวิ ธี ฝงกลบและการชะละลายของโลหะหนัก โดยทดลอง
ฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาลในลักษณะเดียวกับ เปรียบเทียบ 2 รูปแบบคือ การฝงกลบตะกอนทับชั้น
การกําจัดขยะ กรุงเทพมหานครจึงมีแนวคิดในการนํา ขยะ และการคลุ ก ขยะและตะกอนอย า งทั่ ว ถึ ง
ตะกอนและขยะไปกําจัดรวมกันในระบบฝงกลบขยะ เปรียบเทียบกับการฝงกลบขยะชุมชนเพียงอยางเดียว
อย า งถู ก หลั ก สุ ข าภิ บ าล ซึ่ ง จากการศึ ก ษาทดลอง โดยทดลองในสภาวะแวดลอมตามธรรมชาติตลอด
ในตางประเทศที่ผานมา [2,3,4,6] พบวา การฝงกลบ ระยะเวลา 1 ป
ตะกอนรวมกับขยะชวยเรงการยอยสลายสารอินทรีย
แ ล ะ ก า ร เ กิ ด ก า ซ ชี ว ภ า พ ใ น ห ลุ ม ฝ ง ก ล บ ไ ด อุปกรณและวิธีการ
อยางไรก็ตาม การฝงกลบขยะรวมกับตะกอนน้ําเสีย
ที่ ผ า นการบํ า บั ด แบบไร อ อกซิ เ จนยั ง อาจส ง ผลต อ 1. ระบบฝ ง กลบจํ า ลองขนาด 9,000
การชะละลายโลหะหนั ก ที่ ป นเป อ นในขยะและ ลูกบาศกเมตร (กวาง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ความลึก
ตะกอนได [5] งานวิจัยนี้จึงทําการทดลองฝงกลบขยะ เฉลี่ย 2.8 เมตร) จํานวน 3 บอ (รูปที่ 1) กอสรางใน
ชุ ม ชนร ว มกั บ ตะกอนที่ ผ า นการย อ ยสลายแบบ พื้ น ที่ ใ กล โ รงงานควบคุ ม คุ ณ ภาพน้ํ า และสถานี
ไร อ อกซิ เ จนที่ บริเ วณโรงงานปรับ ปรุ ง คุ ณ ภาพน้ํ า ขนถ า ยขยะหนองแขม กรุ ง เทพมหานคร โดยที่
และสถานีขนถายขยะหนองแขม โดยใชบอฝงกลบ บริเวณดานลางของบอฝงกลบปูดวยแผนพลาสติก
จําลองศึกษาผลกระทบจากการกําจัดขยะและตะกอน (HDPE) เพื่ อ ป อ งกั น การรั่ ว ซึ ม ของน้ํ า ชะมู ล ฝอย
80 m.

40 m.

Gas valve

Leachate drainage pipe


Leachate
pumping
manhole

Gas handling system

รูปที่ 1 ผังของระบบฝงกลบจําลอง
170 วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดลอมไทย ปที่ 22 ฉบับที่ 1 (2551)

มี ก ารติ ด ตั้ ง ระบบสู บ น้ํ า หมุ น เวี ย นน้ํ า ชะขยะและ 8,000 ลูกบาศกเมตร ที่คลุกกันอยางทั่วถึง ใชเวลาใน
ระบบสูบระบายกาซ โดยบอฝงกลบที่ 1 บรรจุขยะ การบรรจุขยะและตะกอนน้ําเสียลงในบอประมาณ
ชุ ม ชนเพี ย งอย า งเดี ย ว 9,000 ลู ก บาศก เ มตร 3 เดือน หลังจากนั้นกลบทับบอดวยดินเหนียวหนา
บอ ฝงกลบที่ 2 บรรจุ ตะกอน 1,000 ลูกบาศกเมตร 30 เซนติเมตร โดยมีลักษณะสมบัติทางเคมีของขยะ
กลบทับบนขยะ 8,000 ลูกบาศกเมตร และบอฝงกลบ ชุมชนและตะกอนที่ผานการยอยสลายแบบไรอากาศ
ที่ 3 บรรจุ ต ะกอน 1,000 ลู ก บาศก เ มตร และขยะ ที่ใชในการศึกษาแสดงดังตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ลักษณะสมบัตทิ างเคมีของขยะชุมชนและตะกอนที่ผานการยอยสลายแบบไรอากาศ

พารามิเตอร ขยะชุมชน ตะกอน


pH 7.95 7.77
TS (% wet wt.) 27.65 76.07
VS (% dry wt.) 74.54 41.95
Ash (% dry wt.) 25.46 58.05
Cd (mg/kg) 9.40 7.62
Cr (mg/kg) 2.99 22.98
Cu (mg/kg) 187.70 226.85
Ni (mg/kg) 23.81 26.93
Pb (mg/kg) 0.1 0.2

2. ศึกษาการชะละลายโลหะหนักจากขยะ วิ ธี ก ารทดสอบประกอบด ว ยการเตรี ย ม


และกากตะกอนน้ํ าเสี ยที่ pH ต างๆ โดยนํา ตะกอน ตัวอยางมาบดใหมีขนาดเล็กกวา 9.5 มิลลิเมตร ผสม
น้ําเสียที่ผานการหมักแบบไรออกซิเจนและรีดน้ําจาก สารละลายกรดอะซิติก 0.04 M ที่อัตราสวน 20 เทา
โรงงานควบคุมคุณภาพน้ําหนองแขม ขยะชุมชนจาก ของน้ําหนักของแข็ง และนําไปเขยาที่ความเร็วรอบ
สถานีขนถายมูลฝอยหนองแขม และตัวอยางตะกอน 30 rpm เปนเวลา 18 ชั่วโมง ปลอยใหตกตะกอนและ
ที่คลุกกับขยะชุมชนในอัตราสวน 1:8 มาปรับคา pH กรองด ว ยตั ว กรองไฟเบอร ก ลาสขนาด 0.6-0.8
ใหเปน 4, 7 และ 10 ดวย H2SO4 และ NaOH และ มิลลิเมตร นําน้ําตัวอยางไปสกัดดวยกรดไนตริกโดย
ทดสอบการชะละลายของโลหะหนัก ตามวิธ ีที่ ใชเครื่องไมโครเวฟ นําน้ําตัวอยางสกัดไปกรองดวย
ประยุก ตจ าก Toxicity Characteristic Leaching ตัวกรองไฟเบอรกลาส กอนนําไปหาโลหะหนักดวย
Procedure (TCLP) ของ US EPA โดยมีโลหะหนักที่ เครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer
ศึกษาประกอบดวย Cd, Cr, Cu, Ni และ Pb
วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดลอมไทย ปที่ 22 ฉบับที่ 1 (2551) 171

3. ศึ กษาผลของตะกอนต อ กระบวนการ ผลการทดลองและวิจารณ


ฝ ง กลบ การย อ ยสลายของสารอิ น ทรี ย แ ละการชะ
ละลายของโลหะหนักจากบอฝงกลบขยะ โดยประเมิน การชะละลายโลหะหนั กจากขยะและตะกอนที่ ผ าน
ปริมาณน้ําฝนที่ตกลงสูบอฝงกลบโดยอาศัยขอมูลจาก การยอยสลายแบบไรออกซิเจนที่ pH ตางๆ
สถานีตรวจวัดปริมาณน้ําฝนที่ติดตั้งในโรงงานควบคุม การทดสอบการชะละลายของโลหะหนักจาก
คุณภาพน้ํา ตรวจวัดปริมาณน้ําชะขยะที่เกิดขึ้นจาก ขยะชุ ม ชนและตะกอนที่ ผ า นการย อ ยสลายแบบ
การบั น ทึ ก ข อ มู ล ของเครื่ อ งสู บ น้ํ า ศึ ก ษาลั ก ษณะ ไรออกซิเจนเมื่อปรับคา pH เริ่มตนที่ 4, 7 และ 10
สมบั ติ ทางเคมี ของน้ํ าชะขยะ ซึ่ งประกอบด วย pH, ได ผลดั งแสดงในรู ปที่ 2 โดยพบว ามี แคดเมี ยมถู ก
COD, SS, VFA, Alkalinity, TKN, TP, EC และ ชะละลายออกจากตัวอยางขยะ 0.02-0.04 mg/l ตะกอน
โลหะหนั ก โดยอ า งอิ ง วิ ธี วิ เ คราะห ต าม Standard 0.01-0.03 mg/l และขยะผสมตะกอน 0.02-0.03 mg/l
Methods [1] และวิ เ คราะห ป ริ ม าณก า ซชี ว ภาพที่ การชะละลายของแคดเมียมมีแนวโนมลดลงเล็กนอย
เกิ ด ขึ้ น โดยอาศั ย ข อ มู ล จากเครื่ อ งสู บ ระบายก า ซ เมื่อคา pH สูงขึ้น อยางไรก็ตาม การชะละลายมีปริมาณ
ประเมินปริมาณการชะละลายของ COD และโลหะ ต่ํากวาเกณฑที่ระบุเปนของเสียอันตรายตามวิธีของ
สะสมในน้ําชะขยะ และปริมาณการเกิดกาซชีวภาพ TCLP ที่กําหนดไวเทากับ 1.0 mg/l สวนการชะละลาย
สะสมเปรียบเทียบระหวางบอฝงกลบขยะทั้ง 3 บอใน ของโครเมียมพบวามีระดับต่ํามากคือ 0.003-0.011 mg/l
ระยะเวลา 1 ป (52 สัปดาห) และใกล เ คี ย งกั น ที่ pH ต า งๆ โดยต่ํ า กว า เกณฑ ที่

sludge MSW sludge+MSW


0.2
Cd Cr Cu Ni Pb
0.16
Concentration (mg/l)

0.12

0.08

0.04

0
4 7 10 4 7 10 4 7 10 4 7 10 4 7 10
pH

รูปที่ 2 ความเขมขนของโลหะในน้ําสกัดจากการทดสอบ TCLP


172 วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดลอมไทย ปที่ 22 ฉบับที่ 1 (2551)

กําหนดไว 5.0 mg/l มาก ในขณะที่ทองแดง นิเกิล เทากับ 0-1930 ลูกบาศกเมตรตอสัปดาห โดยคาเฉลี่ย
และตะกั่ ว ถู กชะละลายออกมาระหว าง 0.03-0.06, ของปริมาณน้ําฝนของบอฝงกลบที่ 1, 2 และ 3 เทากับ
0.03-0.09 และ 0.02-0.12 mg/l ตามลําดับ โดยคา pH 355, 372 และ 330 ลูกบาศกเมตรตอสัปดาห หรือมี
มีผลตอการชะละลายอยูบาง แตการชะละลายยังจัด ปริมาตรน้ําฝนสะสมรวม 18,470, 19,360 และ 17,170
อยูในระดับต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑที่กําหนดไว ลูกบาศกเมตร ตามลําดับ ทั้งการที่บอฝงกลบมีปริมาณ
มาก (5.0 mg/l สําหรับตะกั่ว) ผลการศึกษานี้แสดงให น้ํ า ฝนแตกต า งกั น เนื่ อ งมาจากการเริ่ ม ใช ง านบ อ
เห็นวา การชะละลายของโลหะหนักจากขยะชุมชน ไมพรอมกัน เนื่องจากตองรอการบรรจุขยะ ระหวาง
และตะกอนที่ผ า นการย อ ยสลายแบบไร อ อกซิ เ จน
การศึ ก ษาพบว า มี ป ริ ม าณน้ํ า ชะขยะเฉลี่ ย จากบ อ
เกิ ด ขึ้ น ในระดั บ ต่ํ า มาก และเนื่ อ งจากปริ ม าณ
ฝงกลบที่ 1, 2 และ 3 เทากับ 19.62, 21.02 และ 19.94
โลหะหนักในตะกอนและขยะชุมชนมีระดับต่ําและ
ลูกบาศกเมตรตอสัปดาห และมีปริมาตรสะสมเทากับ
ไมแตกตางกันมากนัก จึงสงผลใหการชะละลายของ
1,020, 1,093 และ 1,093 ลูกบาศกเมตร ตามลําดับ
โลหะหนักทั้งในกรณีของขยะชุมชน ตะกอน และ
การผสมของขยะและตะกอนมีระดับใกลเคียงกัน คิดเปนรอยละ 5.52, 5.65 และ 6.04 ของปริมาณ
น้ําฝนตามลําดั บ ดังแสดงในรูปที่ 3 ซึ่งจากผลการ
ผลของตะกอนต อ การเกิ ด น้ํ า ชะขยะและการย อ ย ตรวจวัดแสดงใหเห็นวา ปริมาณน้ําชะขยะที่เกิดขึ้น
สลายสารอินทรียในบอฝงกลบ จากบอฝงกลบทั้ง 3 บอไมมีความแตกตางกันมากนัก
จากการตรวจวั ด ปริ ม าณน้ํ า ฝนบริ เ วณ ตารางที่ 2 แสดงลักษณะสมบัติทางเคมีของ
บอฝงกลบขยะพบวา มีปริมาณน้ําฝนตกลงในพื้นที่ น้ําชะขยะจากบอฝงกลบทั้ง 3 บอในชวงเริ่มตนและ
บอฝงกลบระหวาง 0-600 มิลลิเมตรตอสัปดาห หรือ สุดทายของการศึกษา โดยระหวางการศึกษาพบวาคา

25000 2500
Rainfall 1 Rainfall 2 Rainfall 3
Leachate 1 Leachate 2 Leachate 3
20000 2000
Cumulative Rainfall (m3)

Cumulative Leachate (m3)

15000 1500

10000 1000

5000 500

0 0
0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55
Time (weeks)

รูปที่ 3 ปริมาณน้ําฝนและปริมาณน้ําชะขยะสะสม
วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดลอมไทย ปที่ 22 ฉบับที่ 1 (2551) 173

ตารางที่ 2 ลักษณะสมบัตทิ างเคมีของน้าํ ชะขยะจากบอฝงกลบ

บอฝงกลบที่ 1 บอฝงกลบที่ 2 บอฝงกลบที่ 3


พารามิเตอร
เริ่มตน สุดทาย เริ่มตน สุดทาย เริ่มตน สุดทาย
pH 7.35 7.64 7.38 7.63 7.57 7.68
COD (mg/l) 33900 3570 29570 3480 31320 3510
TKN (mg/l) 2730 720 2340 220 2020 420
Cd (mg/l) 0.077 0.031 0.057 0.015 0.074 0.021
Cr (mg/l) 0.045 0.031 0.048 0.035 0.046 0.031
Cu (mg/l) 0.08 0.018 0.042 0.012 0.062 0.018
Ni (mg/l) 0.129 0.042 0.085 0.031 0.086 0.044
Pb (mg/l) 0.019 0.012 0.023 0.012 0.021 0.012

COD, SS, VFA, Alkalinity, TKN, TP, EC และ ลักษณะเชนเดียวกับคา COD โดยลดลงจาก 2,020-
โลหะหนัก ในน้ําชะขยะมีแ นวโน ม ลดลงตามเวลา 2,730 มิลลิกรัมตอลิตร ในสัปดาหที่ 1 เหลือ 220-720
ส ว น pH มี แ นวโน ม เพิ่ ม ขึ้ น เล็ ก น อ ย แต อ ยู ใ นช ว ง มิลลิกรัมตอลิตร ในสัปดาหที่ 52 โดยบอฝงกลบที่มี
เป น กลาง เมื่ อ เปรี ย บเที ย บความเข ม ข น ของ COD ขยะชุมชนเพียงอยางเดียวมีการชะละลายของ TKN
ระหวางบอฝงกลบทั้ง 3 บอจะเห็นไดวา บอฝงกลบที่ สูงกวาบอฝงกลบที่มีตะกอนกําจัดรวมดวย โดยเฉพาะ
1 ซึ่ ง มี ข ยะเพี ย งอย า งเดี ย วมี ค า สู ง ที่ สุ ด รองลงมา ในชวงทายของการทดลอง
ไดแกบอฝงกลบที่ 3 และ 2 ตามลําดับ อยางไรก็ตาม เมื่ อ พิ จ ารณาผลการตรวจวั ด ปริ ม าณก า ซ
ความเขมขนของ COD จากบอฝงกลบทั้ง 3 บอไมมี ชีวภาพจากบอฝงกลบ (รูปที่ 4) พบวา ปริมาณกาซ
ความแตกต า งกั น มากนั ก (ประมาณ 8%) ส ว น ชี วภาพที่ เกิ ดขึ้ นมี การเปลี่ ยนแปลงตามเวลา โดยมี
ปริ ม าณสารแขวนลอยมี ร ะดั บ ต่ํ า (109-294 mg/l) ปริมาณสูงในชวง 20 สัปดาหแรกของการทดลองและ
เนื่องจากถูกกักกรองในระหวางการรวบรวมน้ําชะ ลดลงในช ว งต อ มา เมื่ อ เปรี ย บเที ย บปริ ม าณก า ซ
ขยะเปนสวนใหญ ในน้ําชะขยะมีอัตราสวนระหวาง ชีวภาพที่เกิดขึ้นระหวางบอฝงกลบทั้ง 3 บอจะเห็นได
VFA:Alkanility อยูในระดับต่ํา (0.04-0.09) ซึ่งแสดง วา ปริมาณกาซชีวภาพสะสมของบอฝงกลบที่ 1 และ
ใหเห็นวากระบวนการยอยสลายมีกําลังบัฟเฟอรอยาง 3 ตลอด 52 สัปดาหของการตรวจวัดมีระดับใกลเคียง
เพี ยงพอ และไม เกิ ด การสะสมของกรดอิ นทรีย ใ น กัน โดยบอฝงกลบที่ 3 มีปริมาณต่ํากวาเล็กนอย ซึ่ง
ระดับที่เกิดผลกระทบตอกระบวนการผลิตกาซมีเทน นาจะมีสาเหตุจากการที่ตะกอนมีปริมาณสารอินทรีย
สวน TKN ในน้ําชะขยะมีแนวโนมเปลี่ยนแปลงใน ที่ยอยสลายทางชีวภาพไดเหลืออยูต่ํากวาขยะชุมชน
174 วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดลอมไทย ปที่ 22 ฉบับที่ 1 (2551)

800 5,000
700
cell 1 cell 2 cell 3 4,500

Cumulative Gas Production (m)


4,000

3
Gas Production Rate (m /week) 600
3,500
3

500 3,000
400 2,500
300 2,000
1,500
200
1,000
100 500
0 0
0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55
Time (weeks)

รูปที่ 4 ปริมาณกาซชีวภาพและปริมาณกาซชีวภาพสะสม

การวิ เคราะห องค ประกอบของก าซชี วภาพจากบ อ การชะละลายของสารอิ น ทรี ย แ ละโลหะหนั ก จาก
ฝงกลบมูลฝอยทั้งสามพบวา มีองคประกอบของกาซ บอฝงกลบ
มี เ ทนร อ ยละ 45-57 คาร บ อนไดออกไซด ร อ ยละ ตารางที่ 3 แสดงมวลของ COD TKN และ
34-37 และออกซิเจนรอยละ 0.1-0.3 โดยองคประกอบ โลหะหนั ก ที่ ถู ก ชะละลายจากบ อ ฝ ง กลบตลอด
ของกาซชีวภาพของบอฝงกลบแตละบอไมแตกตาง ระยะเวลาศึ ก ษา 52 สั ป ดาห โดยพบว า COD และ
กั น มากนั ก ผลการทดลองได แ สดงให เ ห็ น ว า TKN ถู ก ชะละลายจากบ อ ฝ ง กลบที่ 1 สู ง ที่ สุ ด
การกําจัดตะกอนรวมกับขยะชุมชนในอัตราสวน 1:8 รองลงมาคือ บอฝงกลบที่ 3 และ 2 ตามลําดับ สวน
โดยการคลุกตะกอนกับขยะอยางทั่วถึง ไมสงผลตอ การชะละลายโลหะหนักที่ศึกษา (Cd, Cr, Cu, Ni
การยอยสลายของสารอินทรียในบอฝงกลบ สวนใน และ Pb) มี แ นวโน ม เหมื อ นกั บ COD และ TKN
กรณี ข องบ อ ฝ ง กลบที่ 2 ซึ่ ง มี ป ริ ม าณก า ซชี ว ภาพ ยกเวนโครเมียมและตะกั่วที่มีการชะละลายจากบอ
ต่ํากว าบอที่ 1 และ 3 คาดว ามีสาเหตุ จากการที่ก าซ ฝงกลบที่ 2 สูงที่สุด การที่มีปริมาณการชะละลายของ
ชีวภาพสามารถซึมผานชั้นตะกอนไดยากกวาชั้นขยะ โลหะหนักสวนใหญจากบอฝงกลบขยะสูงกวาบอ
เนื่ อ งจากอนุ ภ าคตะกอนมี เ นื้ อ ละเอี ย ด จึ ง เกิ ด การ ฝงกลบขยะรวมกับตะกอนเนื่องจากตะกอนสามารถ
สะสมของกาซอยูภายในบอและสวนหนึ่งอาจรั่วไหล ชวยลดการชะละลายของโลหะหนักจากบอฝงกลบ
ไปกับการระบายน้ําชะขยะ ได ในขณะที่ปริมาณโลหะหนักในตะกอนมีระดับที่
วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดลอมไทย ปที่ 22 ฉบับที่ 1 (2551) 175

ไมแตกตางกับปริมาณโลหะหนักในขยะมากนักและ การนําตะกอนน้ําเสียไปฝงกลบรวมกับขยะชุมชน
มีป ริ ม าณอยูใ นระดั บต่ํ า จากงานวิ จั ย ของ Pohland ไมสงผลใหเกิดการชะละลายของโลหะหนักออกมา
and Gould [5] ระบุวาการชะละลายของโลหะหนัก เพิ่มขึ้น และเมื่อเปรียบเทียบระหวางวิธีการฝงกลบ
เกิดขึ้นในบอฝงกลบขยะจากการรวมตัวของโลหะ ขยะและตะกอน 2 รูปแบบพบวา การคลุกขยะและ
หนักและสารฮิวมิค และยังชวยลดสภาพความเปน ตะกอนอย า งทั่ ว ถึ ง ส ง ผลให มี ก ารชะละลายของ
พิษของโลหะหนักในบอฝงกลบไดอีกดวยโดยระดับ แคดเมียม ทองแดง และนิเกิลสูงกวา ในขณะที่การ
ของโลหะหนักในวัสดุฝงกลบที่ไมสูงมากเกินไปจะ ฝ ง กลบตะกอนทั บ ชั้ น ขยะมี ก ารชะละลายของ
ไม ส ง ผลต อ การยั บ ยั้ ง การทํ า งานของจุ ลิ น ทรี ย ใ น โครเมียมและตะกั่วสูงกวา อยางไรก็ตาม ระดับของ
บอฝงกลบ สวนการศึกษาในครั้งนี้ไดแสดงใหเห็นวา การชะละลายของโลหะหนักทุกตัวอยูในระดับต่ํา

ตารางที่ 3 มวลรวมของ COD TKN และโลหะหนักที่ถูกชะละลายจากบอฝงกลบ

บอฝงกลบที่ COD (kg) TKN (kg) Cd (kg) Cr (kg) Cu (kg) Ni (kg) Pb (kg)
1 431,475 35,670 1.03 0.72 0.85 1.91 0.28
2 310,630 24,012 0.69 0.83 0.50 1.21 0.33
3 377,345 24,699 0.80 0.66 0.68 1.22 0.27

สรุปผลการศึกษา ใกลเคียงกัน การฝงกลบตะกอนรวมกับขยะไมสงผล


ตอการยอยสลายสารอินทรียในบอฝงกลบ แตการ
1. การศึกษาการชะละลายโลหะหนักจาก กลบทั บ ขยะด ว ยตะกอนอาจเกิ ด การกี ด ขวางการ
ตัวอยางขยะชุมชน ตะกอนที่ผานการยอยสลายแบบ ระบายของกาซชีวภาพออกจากบอฝงกลบได
ไร อ อกซิ เ จนและขยะชุ ม ชนผสมกั บ ตะกอนที่ pH 3. การชะละลายของสารอิ น ทรี ย แ ละ
ตางๆ พบวามีการชะละลายโลหะหนักมีระดับต่ําไม โลหะหนั ก จากบ อ ฝ ง กลบที่ บ รรจุ ข ยะชุ ม ชนมี
เกิ น เกณฑ ม าตรฐานตามวิ ธี TCLP ที่ กํ า หนดไว ระดับสูงกวาบอฝงกลบขยะรวมกับตะกอน ดังนั้น
เนื่องจากขยะชุมชนและตะกอนมีปริมาณโลหะหนัก การนํ า ตะกอนไปฝ ง กลบร ว มกั บ ขยะชุ ม ชนจึ ง
อยูในระดับต่ําและใกลเคียงกัน ไมสงผลใหเกิดการชะละลายของโลหะหนักออกมา
2. การฝงกลบขยะชุมชนรวมกับตะกอน มากขึ้ น โดยมี ก ารชะละลายของโลหะหนั ก ทุ ก ตั ว
ไม ส ง ต อ การเปลี่ ย นแปลงของปริ ม าณน้ํ า ชะขยะ ตลอดระยะเวลา 1 ปของการศึกษาอยูในระดับต่ําคือ
แต ทํ า ให ค วามเข ม ข น ของสารมลพิ ษ ส ว นใหญ ใ น แคดเมียม 0.69-1.03 กิโลกรัม โครเมียม 0.66-0.83
น้ําชะขยะลดลง กาซชีวภาพที่เกิดขึ้นจากการฝงกลบ กิ โ ลกรั ม ทองแดง 0.50-0.85 กิ โ ลกรั ม นิ เ กิ ล
ขยะและการฝ ง กลบขยะร ว มกั บ ตะกอนมี ร ะดั บ 0.12-1.91 กิโลกรัม และตะกั่ว 0.27-0.33 กิโลกรัม
176 วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดลอมไทย ปที่ 22 ฉบับที่ 1 (2551)

กิตติกรรมประกาศ [3] Cinar, S., Onay, T.T. and Erdincler, A. 2004.


Co-disposal alternatives of various municipal
ผู วิ จั ย ขอขอบคุ ณ สํ า นั ก การระบายน้ํ า ที่ wastewater treatment-plant sludges with refuse,
เอื้ อ เฟ อ สถานที่ แ ละอุ ป กรณ สํ า หรั บ ดํ า เนิ น การ Adv. Environ. Res. 8: 477-482.
วิจัย รวมทั้ง Swedish International Development [4] Hamzawi, N., Kennedy, K.J. and Mclean, D.D.
Cooperation Agency (SIDA) ที่ใหการสนับสนุน 1998. Technical feasibility of anaerobic co-
ทุนวิจัยในการศึกษานี้ digestion of sewage sludge and municipal solid
waste. Environ. Technol. 19: 993-1003.
เอกสารอางอิง [5] Pohland, F.G. and Gould, J.P. 1986.
[1] APHA 1993. Standard Methods for the Co-disposal of municipal refuse and industrial
Examination of Water and Wastewater. waste sludge in landfills. Wat. Sci. Technol.
18(12): 177-192.
American Public Health Association,
Washington D.C. [6] Rintala, J.A. and Jarvinen, K.T. 1996. Full-
[2] Chan, G.Y.S., Chu, L.M. and Wong, M.H. scale mesophilic anaerobic co-digestion of
2002. Effects of leachate recirculation on municipal solid waste and sewage sludge
biogas production from landfill co-disposal of methane production characteristic. Waste
Manage. Res. 14 (2): 163-170.
municipal solid waste, sewage sludge
and marine sediment, Environ. Pollut. 118:
393-399.

You might also like