You are on page 1of 49

สารบัญ

1. ภาพรวมของงานดานน้ําเสียในปจจุบันของประเทศไทย 1
1.1 สภาพงานดานน้ําเสียในปจจุบัน 1
1.2 ปญหาหลักในการจัดการน้ําเสีย 3
1.3 กลยุทธในงานดานการจัดการน้ําเสีย 3
2. ระบบบําบัดน้าํ เสีย 3 รูปแบบ 7
2.1 ระบบบอผึ่ง (Waste Stabilization Ponds) 7
2-2 ระบบบอเติมอากาศ (Aerated Lagoon) 8
2.3 ระบบคลองวนเวียน (Oxidation Ditch Process) 8
3. ขนาดและตนทุนของระบบบําบัดน้าํ เสียในปจจุบัน 9
4. ระบบทอรวบรวมน้ําเสีย 12
5. ปริมาณการใชน้ําและปริมาณน้ําเสีย 13
6. คุณภาพและลักษณะของน้ําเสีย 16
7. โลหะหนักในตะกอนน้ําเสีย 19
7-1 กระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจ 23
7-2 ระบบคลองวนเวียน 23
7-3 ระบบบอผึ่งและบอเติมอากาศ 24
7-4 ผลการวิเคราะหตะกอนน้ําเสีย 24
7-5 การนําไปประยุกตใชดวยความปลอดภัยและกระบวนการกําจัดตะกอนน้ําเสีย 25
8. การเกิดปญหาสาหรายในระบบบอผึง่ 26
9. ผลของน้ําทิ้งหลังการบําบัด 27
10. ผลจากความเขมขนต่ําของน้ําเสียเขาระบบที่มีตอระบบบอผึ่ง 29
11. ดัชนีปริมาตรตะกอน (SVI) ต่ํา 30
12. ปญหาเกี่ยวกับระบบไฟฟาในระบบบําบัดน้ําเสีย 31
13. ปญหาเกี่ยวกับเครื่องจักรกลในระบบบําบัดน้ําเสีย 36
14. การควบคุมความปลอดภัย 41
15. ระบบบําบัดน้าํ เสียรวม และ การบําบัดน้าํ เสียเฉพาะที่ 42
16. สรุป 45
บทวิเคราะหระบบบําบัดน้ําเสียที่มีอยูในปจจุบัน

1. ภาพรวมของงานดานน้ําเสียในปจจุบนั ของประเทศไทย

1-1 สภาพงานดานน้ําเสียในปจจุบัน
งานดานน้าํ เสียในประเทศไทยเริ่มตนจากการระบายน้ําฝนออกสูแมนา้ํ ผานทางคูคลองตางๆ
เพื่อปองกันพืน้ ที่ในเขตเมืองไมใหเกิดน้ําทวม อยางไรก็ตาม คลองตางๆ ในกรุงเทพมหานครไดกลาย
สภาพเปนทอระบายน้ําเนื่องจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการขยายตัวขึ้นเปนยานชุมชนเมือง
บอเกรอะและบอพักน้ําเสียที่ลนทะลักจึงถูกปลอยลงไปยังทางระบายน้ําฝนหรือทอระบายหรือถูกปลอย
ลงไปในคลองโดยตรง ทอระบายที่มีอยูก ถ็ ูกสรางขึ้นอยางดอยคุณภาพทั้งในแงของรอยตอตาง ๆ การ
วางแนว และความลาดเอียงของทอ ดังนั้นอัตราการซึมของน้ําผิวดินจึงสูงตามไปดวย โดยเฉพาะใน
บริเวณที่มีระดับน้ําใตดนิ สูง เชน กรุงเทพฯ และเมืองที่อยูใ กลชายฝงตาง ๆ
ระบบบําบัดน้าํ เสียที่มีรูปแบบทันสมัยแหงแรกถูกสรางขึ้นใน พ.ศ.2514 เพื่อรองรับ
แผนการเคหะในเขตหวยขวางในกรุงเทพฯ ระบบบําบัดน้ําเสียหวยขวางถูกสรางโดยการเคหะแหงชาติ
ดวยขนาดการบําบัดน้ําเสีย 2,400 ลบ.ม. ตอวัน สวนงานดานน้ําเสียคอยๆ พัฒนาขึ้นและไดรบั การ
ผลักดันในชวงที่มีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็วในชวงทศวรรษที่ 1990 ระบบบําบัดน้ําเสีย
ที่มีรูปแบบทันสมัยนอกเขตกรุงเทพฯ ถูกสรางขึ้นครั้งแรกในจังหวัดขอนแกน และปาตองในจังหวัด
ภูเก็ต ใน พ.ศ.2528
จากสถิติ พบวาในเดือนพฤศจิกายน 2543 ประเทศไทยมีเทศบาลทั้งหมด 1,131 แหง ยกเวน
กรุงเทพฯ และมีเทศบาลเพียง 67 แหงเทานั้นที่มีระบบบําบัดน้ําเสียดําเนินงานหรืออยูระหวางการ
กอสราง มีระบบบําบัดน้ําเสีย 51 แหงที่ดําเนินงาน และ 14 แหงที่อยูในระหวางการกอสรางซึ่งแตกตาง
กันไปในแตละพื้นที่ ตารางที่ 1.1 แสดงใหเห็นสถานะในปจจุบันของระบบบําบัดน้าํ เสียในประเทศไทย
ระบบบําบัดน้าํ เสียทั้ง 87 แหงนี้มีกําลังในการบําบัดน้ําเสียรวมประมาณ 2.84 ลาน ลบ.ม. ตอวัน ดวย
การจัดสรรเงินลงทุนทั้งหมดประมาณ 67 ลานบาท (ตารางที่1.2)

ตารางที่ 1.1 สถานภาพของระบบบําบัดน้ําเสียในประเทศไทย พ.ศ.2546


อยูระหวางการกอสราง 14
กอสรางแลว
ใชงานอยู 51
ไมไดใชงาน 12
รวม 77

-1-
นอกจากระบบบําบัดน้ําเสียทั้ง 77 แหงในตารางขางตน ยังมีระบบบําบัดน้ําเสียอีก 7 แหงที่
มีกรุงเทพมหานครเปนผูดูแลจัดการ โดยมี 5 แหงที่เดินระบบแลว โดยรวมแลวจึงมีระบบบําบัดน้ําเสีย
ที่ถูกสรางขึ้นหรืออยูระหวางการกอสรางทั่วประเทศรวม 87 แหง

ตารางที่ 1.2 คากอสรางระบบบําบัดน้ําเสียทั้งหมด 87 แหง จนถึงป พ.ศ. 2546


ภาค งบประมาณ (ลานบาท)
กรุงเทพฯ 19,507.50
ภาคกลาง 29,127.00
ภาคตะวันออก 5,277.24
ภาคเหนือ 4,267.16
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4,375.39
ภาคใต 4,795.65
รวม 67,289.59

ทั้งระบบกําจัดน้ําเสียแบบงายๆ เชน ระบบบอผึ่ง และระบบบําบัดน้ําเสียแบบใช


เครื่องจักรกล เชน ระบบตะกอนเรง (Activated Sludge) ถูกนํามาใชในประเทศไทย กระบวนการบําบัด
ที่ใชในระบบบําบัดน้ําเสียตาง ๆ 63 แหงทีด่ ําเนินการอยูม ีดังนี้
ƒ ระบบบอผึ่ง 31 แหง
ƒ กระบวนการตะกอนเรงและระบบดัดแปลง 18 แหง (อีก 3 แหง ในกรุงเทพฯ)
ƒ ระบบบอเติมอากาศ 12 แหง
ƒ อื่นๆ 2 แหง (อีก 2 แหง ในกรุงเทพฯ)
ใน พ.ศ. 2545 ภาคอื่นๆ นอกจากกรุงเทพฯ ระบบบําบัดน้ําเสียเหลานี้มีน้ําเสียเขาระบบนอย
กวาขนาดบําบัดที่จะรับไดของโรงบําบัด ระบบบําบัดน้ําเสียที่ดําเนินงานอยู อัตราเฉลี่ยของน้ําเสียเขา
ระบบฯ บําบัดตอขนาดบําบัดสูงสุดที่จะรับไดเทากับ 46% และเทากับ 40% สําหรับระบบบําบัดน้ําเสียที่
ยังไมไดเดินระบบฯ ไมวาจะดวยเหตุผลใด ๆ ในทางตรงกันขาม แมวาระบบบําบัดน้ําเสียในกรุงเทพฯ
จะมีน้ําเสียเขามากกวาในภาคอื่นๆ แตอัตราสวนของน้ําเสียเขาระบบตอขนาดบําบัดที่จะรับได อยู
ในชวง 50% - 91% โดยมีอัตราเฉลี่ยที่ 59 % ตารางที่ 1.3 จะสรุปใหเห็นขอมูลที่กลาวมาขางตน

-2-
ตารางที่ 1.3 ขนาดบําบัดปริมาณสูงสุดที่จะรับไดตามทีอ่ อกแบบไว
และปริมาณน้าํ เสียเขาระบบฯ จริง พ.ศ. 2546
ภาค ขนาดบําบัดที่จะรับไดตามที่ออกแบบไว ปริมาณน้ําเสียเขาระบบจริง ขนาดรับน้ําเสีย
(ลบ.ม./วัน) (ลบ.ม./วัน) (%)
992,000 59
กรุงเทพฯ (492,000 ณ ปจจุบัน) 291,500 (50~91)
1,870,970 40
ภาคอื่นๆ (826,800 ณ ปจจุบัน) 379,200 (6~100)
2,862,970
รวม (1,318,800 ณ ปจจุบัน) 670,700 51

อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงเรื่องที่วาระบบบําบัดน้ําเสียสวนใหญมีเครื่องวัดอัตราการไหล
แตอยูในสภาพที่ชํารุดเสียหาย ขอมูลอัตราการไหลเขาจึงไมนาเชื่อถือ

1-2 ปญหาหลักในการจัดการน้ําเสีย
ปญหาหลักในการจัดการน้ําเสียในประเทศไทย สรุปไดดงั นี้
- การเดินระบบและการบํารุงรักษาไมเหมาะสม
- องคกรปกครองสวนทองถิ่นไมเต็มใจจัดเก็บคาบําบัดน้ําเสีย
- งบประมาณไมเพียงพอ
- ระบบทอรวบรวมน้ําเสียไมครอบคลุมพื้นที่

1-3 กลยุทธในงานดานการจัดการน้ําเสีย

1-3-1 นโยบายในดานการจัดการน้าํ เสีย


การพิทักษสิ่งแวดลอมไดถูกกําหนดไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยฉบับปจจุบันที่
ประกาศใชใน พ.ศ.2531 ดังนั้น การจัดการสิ่งแวดลอมจึงถือเปนวาระแหงชาติสําหรับรัฐบาล หนวยงาน
ที่เกี่ยวของ และประชาชนคนไทยทุกคน
นโยบายดานการจัดการน้ําเสียไดถูกกําหนดไวโดยสํานักนโยบายละแผนสิ่งแวดลอม สผ.
ในแผนการจัดการสิ่งแวดลอม 3 ฉบับ ไดแก
ƒ นโยบายและแผนสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2540-2559
(ค.ศ. 1999-2016)
ƒ แผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2543-2549 (ค.ศ. 1999-2006)

-3-
ƒ (ราง) กรอบแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอมพ.ศ. 2545-2549 (ค.ศ. 2002-2006) : กล
ยุทธการจัดการสิ่งแวดลอมสําหรับประเทศไทย

1-3-2 แผนและนโยบายสงเสริมและอนุรักษสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.2540-2559 (ค.ศ.1999-2016)


เอกสารฉบับนี้ไดกําหนดนโยบายและวิธกี ารในการกลาวถึงปญหาสิ่งแวดลอมตางๆ ในชวง
20 ป จาก พ.ศ.2540 ถึง พ.ศ.2559 ไดมีการสรุปสาระสําคัญที่เกี่ยวกับการจัดการมลภาวะทางน้าํ ของ
เอกสารฉบับนี้ไวดังนี้

เปาหมายในการปรับปรุงคุณภาพน้าํ
ƒ ภายใน พ.ศ. 2549 ออกซิเจนละลายน้าํ จะตองไมนอยกวา 4 มก./ลิตร สําหรับแมน้ํา
เจาพระยาตอนลาง และ 2 มก./ลิตร สําหรับคลองตางๆ ที่ไหลมารวมกันในแมน้ํา
เจาพระยา
ƒ ออกซิเจนละลายน้ําจะตองไมนอยกวา 4 มก./ลิตร สําหรับแมน้ําทาจีนตอนลาง และ 2
มก./ลิตร สําหรับคลองตางๆ ที่ไหลมารวมกันในแมน้ําทาจีน
ƒ คุณภาพน้ําของแมน้ําสายสําคัญ ๆ ที่ไหลผานบริเวณตัวเมืองจะตองไดมาตรฐาน
คุณภาพน้ําที่กาํ หนดไว
ƒ คุณภาพน้ําทะเลจะตองไดมาตรฐานคุณภาพน้ําที่กําหนดไว บริเวณตอนเหนือของอาว
ไทยและบริเวณแหลงทองเที่ยวสําคัญจะตองไดรับการปรับปรุงเปนอันดับแรก

นโยบายและวิธีการ
ƒ เรงการฟนฟูคณ ุ ภาพน้ําในแหลงน้ําสําคัญๆ
ƒ ลดและควบคุมมลภาวะทางน้ําที่เกิดจากชุมชน การเกษตร และอุตสาหกรรมตาง ๆ
ƒ ผูที่กอใหเกิดมลภาวะตองเสียคาใชจายในการควบคุมมลภาวะทางน้ํา
ƒ สงเสริมการมีสวนรวมของภาคเอกชนในการลงทุนและการดําเนินงานของ
สาธารณูปโภคสําหรับการควบคุมมลภาวะทางน้ํา

ไดมีการเสนอวิธีการควบคุมสิ่งแวดลอมบนพื้นฐานของนโยบายขางตนดังตอไปนี้
ƒ กระจายอํานาจและหนาที่ในการควบคุมมลภาวะทางน้าํ ไปสูหนวยงานทองถิ่นใน
ระดับจังหวัดและอําเภอ และเสริมสรางศักยภาพของหนวยงานเหลานัน้ เพื่อใหแนใจวา
มีการควบคุมมลภาวะทางน้าํ ในระดับจังหวัดและอําเภอ
ƒ ริเริ่มกอสรางสาธารณูปโภคในการจัดการน้ําเสียในทุกเทศบาล และสงเสริมการมีสวน
รวมของภาคเอกชน

-4-
ƒ สงเสริมและสนับสนุนการลงทุนของหนวยงานทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน
ในการกอสรางสาธารณูปโภคในการจัดการน้ําเสีย ผานทางกองทุนสิ่งแวดลอมมาก
ขึ้น ใหสอดคลองกับความตองการ
ƒ เรงรัดใหมีการจัดเก็บคาบําบัดน้ําเสียโดยหนวยงานทองถิน่ หรือหนวยงานที่รับผิดชอบ
โดยตรง
ƒ สงเสริมและรวมมือกับภาคเอกชนและองคกรตางๆ ในการดําเนินการรณรงค
เสริมสรางความรูความเขาใจ เพื่อสรางความตระหนักและความเต็มใจที่จะมีสว นรวม
รับผิดชอบในการควบคุมมลภาวะทางน้ํา
ƒ สงเสริมการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมสําหรับการจัดการคุณภาพน้ํา
และการจัดการน้ําเสีย

1-3-3 แผนการจัดการคุณภาพสิง่ แวดลอม พ.ศ. 2543-2549 (ค.ศ. 2000-2006)


แผนนี้อยูบนพื้นฐานของนโยบายและวิธีการที่ระบุไวในแผนและนโยบายสงเสริมและ
อนุรักษสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2540-2559 โดยพยายามที่จะระบุโครงการที่จะนําไปใชในชวง 8 ป
ตั้งแต พ.ศ. 2542-2549 โครงการการจัดการน้ําเสียสําหรับชวงป พ.ศ. 2544-2546 ระบุไวขางลางนี้ และ
งบประมาณทั้งหมดในการดําเนินโครงการ ประมาณ 52,157.8 ลานบาท
ƒ เทศบาล 4 แหง ในจังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ
ƒ เขตปริมณฑล 4 เมือง รอบกรุงเทพมหานคร
ƒ บริเวณลุมน้ําของแมน้ําสายหลัก 310 แหง

1-3-4 กรอบแผนการทํางานในการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2545-2549 (ค.ศ. 2002-2006):


กลยุทธการจัดการสิ่งแวดลอมสําหรับประเทศไทย
แผนนี้ไดรับการจัดทําขึ้นเพือ่ สนองแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ.
2545-2549 ซึ่งแสดงถึงกลยุทธในการจัดการสิ่งแวดลอม โดยมุงเนน 4 ประเด็นหัวขอดวยกัน
(i) การจัดการบริหารโดยรวม
(ii) การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
(iii) การอนุรักษสภาพแวดลอมของมนุษย และ
(iv) การควบคุมและปองกันมลภาวะ

กลยุทธที่เกี่ยวของกับการจัดการน้ําเสียดังที่อธิบายไวในแผนนี้ มีดังนี้
ƒ สรางแบบแผนการปฏิบัติในการออกแบบระบบบําบัดน้ําเสีย เพื่อรับประกันความ
เหมาะสมของการออกแบบใหเปนไปตามปริมาณและลักษณะจริงของน้ําเสีย

-5-
ƒ ระบบบําบัดน้าํ เสียจะตองสามารถรวบรวมและบําบัดน้าํ เสียไดไมนอยกวา 70% ของ
ปริมาณน้ําเสียที่เกิดในพื้นทีบ่ ริการ
ƒ เพิ่มประสิทธิภาพของระบบบําบัดน้ําเสียที่มีอยูและปรับปรุงระบบดังกลาวเพื่อให
แนใจวาไดรับประโยชนเต็มประสิทธิภาพ จัดเก็บคาบริการบําบัดน้ําเสียเพื่อใหแนใจ
วาจะมีการดําเนินงานของระบบบําบัดน้ําเสียอยางยั่งยืน
ƒ จัดเตรียมคูมือ ใหคําแนะนํา และดําเนินการรณรงคประชาสัมพันธ เพื่อสงเสริมการ
อนุรักษน้ําดวยการลดปริมาณน้ําเสียตอไป
ƒ จัดสรรงบประมาณสําหรับโครงการบําบัดน้ําเสียในเมืองที่มีแผนการดําเนินงานที่
ชัดเจน รวมถึงการจัดหาทีด่ นิ การออกแบบ การกอสราง และการบริหารจัดการ
ƒ วิจัยและสงเสริมการนําน้ําทัง้ หลังการบําบัดและกากตะกอนกลับมาใช
ƒ วิจัยเพื่อสรางแบบแผนการปฏิบัติในการออกแบบระบบบําบัดน้ําเสียทีเ่ หมาะสมกับ
ประเทศไทย
ƒ องคการปกครองสวนทองถิ่นปรับโครงสรางองคกรใหมีบุคลากรที่จะรับผิดชอบการ
ควบคุมดูแลระบบบําบัดน้ําเสีย

1-3-5 ขอบเขตทางกฎหมายเพื่อการพิทักษสิ่งแวดลอม
ความรั บ ผิ ด ชอบของประเทศไทยในการพิ ทั ก ษ สิ่ ง แวดล อ มเป น รู ป ร า งขึ้ น เมื่ อ มี ก าร
ประกาศใช พรบ. ทางสิ่ ง แวดล อ มฉบั บ แรกที่ ชื่ อ ว า “พระราชบั ญ ญั ติ ส ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพ
สิ่งแวดลอมแหงชาติ” ในป พ.ศ. 2518 โดยจัดตั้งคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ และสํานักงาน
คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ภายใตการดําเนินงานของสํานักนายกรัฐมนตรี
ตอมา พระราชบัญญัตินี้ไดถูกแกไขเพิ่มเติม 2 ครั้ง ใน พ.ศ. 2521 และ 2522 โดยโอนยาย
สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ใหอยูภายใตบังคับบัญชาของกระทรวงวิทยาศาสตร
เทคโนโลยีและการพลังงาน การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญๆ เกิดขึ้นเมือ่ พระราชบัญญัตินี้ถูกแทนที่ดวย
พระราชบัญญัติที่ครอบคลุมมากขึ้นภายใตชื่อเดิมในเดือนเมษายน 2535
พระราชบัญญัติฉบับใหมเสริมสรางการจัดตั้งสถาบันเพือ่ การจัดการสิง่ แวดลอม โดยการ
แทนที่สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ดวยหนวยงานใหม 3 แหง ไดแก สํานักงาน
นโยบายและแผนสิ่งแวดลอม (ปจจุบันคือสํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอมแหงชาติ (ONEP))
กรมควบคุมมลพิษ (PCD) และกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม (DEQP) กระทรวงวิทยาศาสตร
เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม (MOSTE) ไดถูกปรับโครงสรางใหมเปนกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม (MONRE) ในเดือนตุลาคม พ.ศ.2545
พระราชบัญญัติและกฎหมายตาง ๆ ตอไปนี้ไดถูกครอบคลุมไวภายในกรอบการทํางานของ
การพิทักษสิ่งแวดลอมในประเทศไทย

-6-
- พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ .2535
- พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ .2512 (แกไขเพิ่มเติม 2535)
- พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2484 (แกไขเพิ่มเติม 2535)
- พระราชบัญญัติความเปนระเบียบและความสะอาดในที่สาธารณะ พ.ศ. 2535
- พระราชบัญญัติการควบคุมสิ่งกอสราง พ.ศ. 2496
- พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496
ในตอนตอไปหลังจากการทบทวนระบบบําบัดน้ําเสีย 3 รูปแบบที่ใชในประเทศไทย จะได
กลาวถึงรายละเอียดและประเด็นทางเทคนิคมากขึ้นตามสิ่งที่คนพบจากกิจกรรมโครงการการปรับปรุง
การบําบัดน้ําเสีย

2. ระบบบําบัดน้ําเสีย 3 รูปแบบ
มีระบบการจัดการน้ําเสีย 3 รูปแบบที่กําลังดําเนินงานอยูใ นประเทศไทยตามที่ไดกลาวไวใน
ตารางที่ 1.1 ไดแก ระบบบอผึ่ง ระบบบอเติมอากาศ และกระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจ ( เชน ระบบ
คลองวนเวียน และอื่นๆ)

2-1 ระบบบอผึ่ง (Waste Stabilization Ponds)


ระบบบอผึ่งสามารถเรียกไดหลายแบบ เชน อางน้ําเสีย บอน้ําเสีย บอบําบัดน้ําเสีย บอผึ่งน้ํา
เสีย บอผึ่งของเสีย ฯลฯ แมวาชื่อเรียกจะตางกันไป แตก็หมายถึงระบบเดียวกัน ในสมาคมน้ําระหวาง
ประเทศ (IWA) จะใชคําวา “Waste Stabilization Pond” เปนคํามาตรฐานในการเรียกระบบเหลานี้
หลังจากนี้ เราจะเรียกระบบนี้วาระบบบอผึ่ง หรือ WSP
ระบบบอผึ่ง เปนบอน้ําตื้น ๆ ขนาดใหญที่ลอมรอบดวยโครงสรางที่กั้นดวยเขื่อนดิน ในบอ
เหลานี้ น้ําเสียจะถูกบําบัดดวยวิธีธรรมชาติที่เกี่ยวของกับทั้งสาหรายและแบคทีเรีย เนื่องจาก
กระบวนการเหลานี้ ไมจําเปนตองใชเครือ่ งจักรกลในการเพิ่มออกซิเจน อัตราของการเกิดปฏิกิรยิ าต่ํา
และเนื่องจากระยะเวลากักเก็บน้ํามากกวาระบบบําบัดน้าํ เสียระบบแอกทิเวเต็ดสลัดจ โดยปกติระยะเวลา
กักเก็บน้ําใน WSP จะแสดงเปนระยะเวลา 15 วัน - 30 วัน มากกวาที่จะเปนชัว่ โมง ซึ่งก็หมายความวา
ระบบนี้จึงจําเปนตองมีพื้นทีข่ นาดใหญในการกอสราง
ระบบบอผึ่ง ประกอบดวยบอหลายประเภท ไดแก บอแอนแอโรบิค) Anaerobic Pond) บอ
แฟคคัลเททีฟ) Facultative Pond) บอบม) Maturation Pond) บอแอนแอโรบิคและบอแฟคคัลเททีฟทํา
หนาที่บําบัดคา BOD (Biochemical Oxygen Demand; BOD) และบอบมทําหนาที่ฆาเชื้อโรค บอทั้งสาม
ประเภทนี้จะมีการเรียงกันแบบอนุกรม ตัวอยางการจัดเรียงบอคือ เริ่มจากบอแอนแอโรบิค ตามดวยบอ
แฟคคัลเททีฟ และสุดทายคือบอบมหนึ่งบอหรือมากกวานั้น ในการจัดเรียงตามลําดับดังกลาวนี้ ไม
จําเปนตองมีบอแอนแอโรบิคอยูดวยเสมอไป

-7-
ระบบบอผึ่ง เปนระบบที่ไมยุงยากซับซอน และมีคากอสรางและคาดําเนินการต่ํา ขอเสีย
เพียงอยางเดียวของระบบนี้ คือตองใชพื้นที่มาก และตองเสียตนทุนมากในการจัดหาพื้นที่สูง แตในเขต
อากาศรอนอยางประเทศไทย พื้นที่ที่จําเปนสําหรับ ระบบบอผึ่ง จะมีขนาดเล็กกวาในเขตที่มีอณ ุ หภูมิ
ปานกลาง แมแตในเขตที่มีอณ ุ หภูมิปานกลางซึ่งตองใชพื้นที่มาก ยังมี ระบบบอผึ่ง ใชเปนจํานวนมาก
และยังเดินระบบอยู เชน ในสหรัฐอเมริกามี ระบบบอผึ่ง มากกวา 10,000 บอ ที่ถูกใชในการบําบัด (ดู
จดหมายขาวของกลุมผูเชี่ยวชาญสมาคมน้ําระหวางประเทศในเรื่องระบบบอผึ่ง ฉบับที่ 16 เดือนตุลาคม
2546 ประกอบ) จํานวนนีเ้ ทากับประมาณหนึ่งในสามของระบบบําบัดน้ําเสียทั้งหมดในสหรัฐอเมริกา
ตามประวัติศาสตร การพัฒนา ระบบบอผึ่ง ใหเปนกระบวนการบําบัดขั้นที่สองเปนเรื่องบังเอิญอยาง
มาก ดวยบอที่ริเริ่มสรางขึ้นเปนบอตกตะกอนงายๆ หรือเปนถังเก็บฉุกเฉินที่โรงบําบัด เพิ่งจะมีการ
กําหนดเกณฑการออกแบบและการดําเนินงานที่จําเปนในการจัดการบอใหประสบผลสําเร็จเมื่อเร็ว ๆ นี้
ขณะนี้ ระบบบอผึ่งไดรับการยอมรับวาเปนกระบวนการบําบัดหลักและไดมีการนําไปใชทั่วโลก

2-2 ระบบบอเติมอากาศ (Aerated Lagoon)


ระบบบอเติมอากาศเปนระบบแอกทิเวเต็ดสลัดจที่ไมมีการสูบตะกอนยอนกลับ ระบบนี้
พัฒนามาจากระบบบําบัดน้ําเสียแบบบอผึ่ง เมื่อเครื่องกลเติมอากาศถูกนํามาใชเติมออกซิเจนใหสาหราย
ในฤดูหนาว ทางตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา หลังจากที่นําเครื่องเติมอากาศมาใชงานไมนาน สาหราย
ก็หายไปและทําใหเกิดตะกอนเรงขึ้น ระบบบอเติมอากาศมักจะไดรบั การออกแบบเปนหนวยแอกทิเว
เต็ดสลัดจแบบปราศจากตะกอนยอนสูบกลับมากวนสมบูรณ ระบบบอเติมอากาศอีกแบบหนึง่ คือ
ประเภทการเติมอากาศบางสวน ในหลายกรณี ระบบบอเติมอากาศไดรับการออกแบบใหเปนบอบําบัด
ตอจากบอขัดแตงหรือบอบม
กรมควบคุมมลพิษไดรวบรวม “หลักการปฏิบัติในการออกแบบระบบรวบรวมน้ําเสีย
เทศบาลและโรงฟนฟูน้ํา” ในป พ.ศ. 2546 หลักการปฏิบตั ิในการออกแบบระบบรวบรวมน้ําเสียเทศบาล
และโรงฟนฟูน้ําจะระบุวาระบบบอเติมอากาศบางสวนควรจะนํามาใชกับน้ําเสียเทศบาลในประเทศไทย
และยิ่งไปกวานั้น น้ําทิ้งหลังการบําบัดที่ออกจากระบบบอเติมอากาศจะมีความเขมขนของกากของเสีย
แขวนลอยไมเกินกวามาตรฐาน จึงไมจําเปนตองมีบอขัดแตงหรือบอตกตะกอนอีก

2-3 ระบบคลองวนเวียน (Oxidation Ditch Process)


ระบบคลองวนเวียนไดรับการพัฒนาครั้งแรกในเนเธอรแลนดโดย ดร. เอ. พาสเวอร ระบบ
คลองวนเวียนเปนการดัดแปลงมาจากกระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจดั้งเดิม ลักษณะการทํางานของ
ระบบคลองวนเวียน คือรับน้ําเสียดิบและจัดใหมีระยะเวลาการกักเก็บที่ยาวนานกวา
ความลึกของคลองวนเวียนมีคาออกแบบในระดับ 1-3.5 เมตร และระยะเวลาเติมอากาศมีคา
ออกแบบที่ 24-48 ชม. ดังนัน้ ระบบนีจ้ ึงระบบที่คลายคลึงหรือประเภทเดียวกับระบบ Extented Activation

-8-
ลักษณะของระบบคลองวนเวียน (เปรียบเทียบกับกระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจดั้งเดิม) มี
ดังตอไปนี:้ คาดําเนินการกอสรางต่ํา ดูแลรักษางาย มีความทนทานตอการเปลี่ยนแปลงของภาระบรรทุก
น้ําเสียเขา ระบบฯ กําจัดไนโตรเจนไดมาก จําเปนตองใชพื้นที่มากกวาปริมาณตะกอนที่ผลิตออกมานอย

ถังตกตะกอน

คลองวนเวียน

น้ําไหลออก

น้ําเสีย
น้ําไหลเขา ตะกอนสูบกลับ

ภาพที่ 2.1 ระบบคลองวนเวียน


1) จดหมายขาวของกลุมผูเชี่ยวชาญสมาคมน้ําระหวางประเทศในเรื่องระบบบอผึ่ง
ฉบับที่ 16 เดือนตุลาคม 2546

3. ขนาดและตนทุนของระบบบําบัดน้ําเสียในปจจุบนั
จากผลการสํารวจที่จัดทําโดยกรมควบคุมมลพิษใน พ.ศ. 2547 มีระบบบําบัดน้ําเสียรวม 77
แหง ที่ดําเนินงานอยูในประเทศไทยยกเวนในเขตกรุงเทพมหานคร เปนระบบบอผึ่ง 39 แหง ระบบบอ
เติมอากาศ 13 แหง และกระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจรวมหลายรูปแบบ 24 แหง เชนระบบคลอง
วนเวียน ระบบแบบเอสบีอาร (sequencing batch reactor) และระบบอืน่ ๆ
รายชื่อของระบบบําบัดน้ําเสียทั้ง 77 แหง แสดงไวในตารางที่ 3.1
ขนาดโดยเฉลี่ยของระบบทั้ง 3 แบบ ไดแก ระบบบอผึ่ง ระบบบอเติมอากาศ และกระบวนการ
แอกทิเวเต็ดสลัดจ คือ 12,685 ลบ.ม./ วัน 21,554 ลบ.ม./วัน และ 25,660 ลบ.ม./วัน ตามลําดับ ตาม
ขอมูลนี้ เราอาจกลาวไดวาระบบบอผึ่งมีการนํามาใชอยางมากสําหรับระบบน้ําเสียขนาดเล็ก ระบบบอ
เติมอากาศใชสําหรับระบบน้ําเสียขนาดกลาง และกระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจใชมากสําหรับระบบ
ขนาดใหญ

-9-
12
10
8 ระบบบอผึ่ง
6 บอเติมอากาศ
จํานวน

4 แอกทิเวเต็ดสลัดจ
2
0

ความจุ

ภาพที่ 3.1 การกระจายความถี่กลุมของระบบบอผึ่ง ระบบบอเติมอากาศ


และกระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจ

ภาพที่ 3.2 แสดงตนทุนในการกอสรางตอหนวย ตนทุนเฉลี่ยตอหนวยทัว่ ไปเทากับ 23,240


บาท/ ลบ.ม. คาดังกลาวนีน้ อยกวารายไดครัวเรือนเฉลี่ย 2 เดือน (ใน พ.ศ. 2545 รายไดเฉลี่ยตอครัวเรือน
เทากับ 13,736 บาท อางอิงตามขอมูลของ JICA) แตดวยขนาดการกอสรางระบบน้ําเสียเหลานี้ ตนทุน
ของระบบที่มีขนาดเล็กมีแนวโนมที่จะมีตน ทุนตอหนวยสูง และตนทุนของระบบบําบัดน้ําเสียขนาด
ใหญจะลดลง

- 10 -
ตาราง3.1 รายชื่อโรงบําบัดน้ําเสียที่มีอยูในปจจุบัน
No ทองถิ่น คาใชจายในการสราง ระบบ ความจุของระบบ ปริมาณน้ําเสียที่ไหลเขามา คาใชจายในการดําเนินการ
(ลานบาท) ประเภท ลบ.ม./วัน % ความจุ (ลานบาท/ป)
1 เทศบาลนครเชียงใหม( ฝงตะวันตก) 706.09 AL 55,000 15,000 27 14.37
2 เทศบาลเมืองเชียงใหม 602.88 AL 27,200
3 เทศบาลเมืองลําปาง 582.69 AS 10,000
4 เทศบาลเมืองพะเยา 200.00 SP 9,700 3,598 37 1.86
5 เทศบาลเมืองสุโขทัย 287.23 SP 8,400
6 เทศบาลนครลําปาง 631.85 SP 12,300
7 เทศบาลเมืองพิจิตร 180.00 AL 12,000 3,000 25 5.22
8 เทศบาลเมืองนาน 475.00 SP 8,259 1,400 17 0.81
9 เทศบาลนครพิษณุโลก 371.29 SP 15,000
10 เทศบาลเมืองชุมแสง ,พื้นที่WMAนครสวรรค 52.42 SP 1,650 487 30 0.81
11 เทศบาลเมืองตาก 66.49 SP 5,400 2,903 54 0.83
12 เท ศบาลเมืองแมสอด ,ตาก 305.00 SP 40,000
13 เทศบาลเมืองกําแพงเพชร 230.00 SP 13,500 2,500 19 0.6
14 เทศบาลเมืองอุทัยธานี 15.90 SP 2,590
15 เทศบาลตําบลสลกบาตร ,กําแพงเพชร 230.00 SP 500
16 เทศบาลนคร นครปฐม 219.16 SP 60,000 15,000 25 2.8
17 เทศบาลเมืองชัยนาท 203.80 SP 3,469 2,500 72 0.7
18 เทศบาลตําบลอูทอง ,สุพรรณบุรี 135.51 SP 5,500 3,500 64 0.39
19 เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี 363.21 SP 11,400 2,000 18 0.8
20 เทศบาลนครนนทบุรี (ประชานิเวศน) 616.50 AS 38,500 20,000 52 7.93
21 เทศบาลเมืองสิงหบุรี 249.50 SP 4,500 1,900 42
22 เทศบาลเมืองอางทอง 179.00 AL 8,200 900 11 2.95
23 เทศบาลนครอยุธยา 496.92 AS 25,000 1,500 6 2.00
24 เทศบาลตําบลพระอินทรราชา, อยุธยา 148.30 AS 4,500 1,900 42 0.96
25 เทศบาลเมืองปทุมธานี 340.00 AS 11,000 6.45
26 เทศบาลเมืองบานหมี่,ลพบุรี 4.68 SP 1,000 600 60 0.15
27 เทศบาลเมืองราชบุรี 359.00 SP 20,000 17,000 85 2.19
28 เทศบาลเมืองบานโปง ,ราชบุรี 82.74 SP 5,000 0.37
29 เทศบาลเมืองโพธาราม ,ราชบุรี 55.92 AS 5,000 2,500 50 2.59
30 เทศบาลเมืองกาญจนบุรี 547.25 AS 24,000 12,000 50 8.20
31 เทศบาลเมืองเพชรบุรี 117.80 SP 10,000 3,500 35 3.55
32 เทศบาลตําบลชะอํา, เพชรบุรี 359.50 AL 17,000 2,306 14 1.54
33 เทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ 200.00 AL 8,000 2,480 31 1.91
34 เทศบาลตําบลหัวหิน( เฟส1 ),ประจวบคีรีขันธ 53.00 RBC 8,000 8,000 100 4.16
35 เทศบาลตําบลหัวหิน( เฟส2 ),ประจวบคีรีขันธ 310.00 AS 85,000
36 เทศบาลเมืองสกลนคร, 630.00 SP 16,000 7,295 46 3.84
37 (กุสุมาลย หนองสนม)
38 เทศบาลตําบลทาแร, สกลนคร 60.76 SP 2,054 952 46 0.22
39 เทศบาลนครขอนแกน 533.00 AL 50,000 50,000 100 3.00
40 เทศบาลตําบลหัวขวาง, มหาสารคาม 21.39 SP 1,500 600 40 0.51
41 เทศบาลเมืองชัยภูมิ 0.10 SP 2,000 1,000 50 0.83
42 เทศบาลนคร นครราชสีมา 655.00 SP 32,000 50,884 159 9.79
43 เทศบาลตําบลปากชอง 255.66 SP 12,000 2,000 17 1.25
44 เทศบาลตําบลบัวใหญ ,นครราชสีมา 1.54 SP 1,500 1,306 87 0.05
45 เทศบาลเมืองบุรีรัมย 249.30 AL 13,000 6,500 50 2.02
46 เทศบาลนครอุบลราชธานี 370.00 AL 22,000 5,500 25 2.92
47 เทศบาลตําบลวารินชําราบ, อุบลราชธานี 309.00 SP 22,200 2,896 13 0.4
48 เทศบาลนครยโสธร 502.99 SP 7,246
49 เทศบาลนครอํานาจเจริญ 650.00 SP 13,185
50 องคการปกครองจังหวัดชลบุรี 565.00 AS 22,500 10,315 46 7.69
51 เทศบาลเมืองพนัสนิคม ,ชลบุรี 30.00 SP 5,000 2,000 40 0.65
52 เทศบาลเมืองศรีราชา ,ชลบุรี (พื้นที่WMA) 115.52 AS 18,000 1,444 8 12.05
53 เทศบาลตําบลแหลมฉบัง ,ชลบุรี 179.60 AS 25,000 1,450 6 0.78
54 ซอยวัดบุญกาญจนาราม, พัทยา ชลบุรี(พื้นที่W 359.11 AS 20,000 6,000 30 2.57
55 เทศบาลเมืองพัทยา (ระบบใหม) 1786.88 AS 65,000 50,000 77 28.44
56 เมืองแสนสุข ,ใต/เหนือ 800.00 AS 14,000 17,131 122 15.00
57
58 เทศบาลเมืองระยอง 318.00 AL 41,000 4,000 10
59 เทศบาลตําบลบานเพ, ระยอง 230.00 AS 8,000 941 12 0.27
60 เทศบาลมาบตาพุด ,ระยอง 286.70 AL 15,000
61 เทศบาลเมืองจันทบุรี 300.00 SP 17,000 2,591 15 0.86
62 เทศบาลตําบลขลุง ,จันทบุรี 128.24 SP 54,000 2,591 48 0.10
63 เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา 240.00 AS 24,000 3,000 13 2.11
64 องคการบริหารสวนตําบลเกาะพงัน ,สุราษธา 10.00 Biofilter 200 >200 >100 0.27
65 เกาะสมุย (นาบน) 420.00 AS 2,400
66 เกาะสมุย (หาดเฉวง) AS 6,000
67 เกาะสมุย (หาดละไม) AS 8,560
68 เทศบาลเมืองชุมพร 199.90 SP 12,000
69 เทศบาลเมืองปาตอง, ภูเก็ต 360.19 AS 14,250 7,000 49 3.15
70 เทศบาลเมืองภูเก็ต เฟส1 912.00 AS 36,000 20,443 57 12.00
71 องคการบริหารสวนตําบลกระรน , ภูเก็ต 161.90 Bio-AS 6,000
72 เทศบาลนครตรัง 480.80 AL 17,700 8,000 45 1.63
73 เกาะพีพี ,กระบี่ 15.95 SP 400
74 เทศบาลเมืองกระบี่ 200.00 AL 12,000
75 เทศบาลนครหาดใหญ ,สงขลา 1784.38 SP 69,000 60,000 87 17.52
76 เทศบาลนครสงขลา 298.70 AL 24,000 5,000 21 36.00
77 เทศบาลเมืองปตตานี 348.00 SP 28,920

1,337,183 457,313

- 11 -
ตนทุนตอหนวยในการกอสราง
ตนทุนตอหนวย 1,000 บาท/ลบ.ม

80.00
70.00
60.00
50.00 WSP
40.00 AL
30.00 AS
20.00
10.00
-
0 20,000 40,000 60,000 80,000
ขนาดบําบัด

ภาพที่ 3.2 ราคากอสรางระบบบอผึ่ง ระบบบอเติมอากาศ และกระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจเมื่อ


เปรียบเทียบตอหนวย

4. ระบบทอรวบรวมน้ําเสีย
ระบบทอรวบรวมน้ําเสียสวนใหญในประเทศไทยจะเปนระบบที่รวมทั้งการระบายน้ําฝน
และน้ําเสียเขาดวยกัน เดิมระบบทอระบายน้ําไดรับการออกแบบและสรางขึ้นพรอมกับระบบสูบน้ําเพื่อ
ระบายน้ําฝนจากบริเวณแหลงชุมชนสูลําน้ําธรรมชาติ ภาระหนาที่ในการรวบรวมน้ําเสียเพิ่มขึ้นมา
หลังจากมีการสรางระบบระบายน้ําฝน
โดยทั่วไป ระบบทอในประเทศไทยมีความลาดเอียงนอยมากเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่น
เชน ประเทศญี่ปุน ระบบทอที่มีอยูสวนใหญถูกเชื่อมโยงเขาดวยกันเพื่อใหเปนรูปแบบเครือขาย
มากกวาที่จะเปนแบบกิ่งกานสาขาที่มักจะพบเห็นทั่วไปในประเทศอืน่ ๆ มีการคิดกันวาแบบเครือขายนี้
ไดรับการพัฒนาขึ้นเพื่อชดเชยกับความดอยความสามารถในการรองรับน้ําที่ไหลเขาอันเนื่องมาจาก
ความลาดเอียงนอยของทอระบาย และเนือ่ งจากความลาดเอียงนอยนี้ โคลนและทรายจํานวนมากจึงมี
แนวโนมที่จะทับถมกันเปนตะกอนที่บริเวณกนทอระบาย
อนุภาคตะกอนตาง ๆ มักจะปรากฏใหเห็นเปนทางเหมือนกับทรายในวันฝนตกโดยการเอา
สวนประกอบโคลนออก กาซไขเนา (hydrogen sulfide) จะเกิดขึ้นภายใตผิวหนาที่อยูระหวางน้าํ กับ
ตะกอนจากแบคทีเรียลดซัลเฟต อัตราการเกิดกาซไขเนาจะขึ้นอยูกับปริมาณสารอินทรีย สวนใหญ คา
BOD จะลดลงจากการใชสารอินทรียละลายน้ํา หมายความวาการหมักแบบไมใชออกซิเจน) Anaerobic
Decomposition) ของสารอินทรียจะเกิดขึ้นโดยจะควบคูไปกับการผลิตสารที่มีกลิ่น

- 12 -
5. ปริมาณการใชน้ําและปริมาณน้ําเสีย
ขอมูลของการประปาสวนภูมิภาคในประเทศไทยแสดงวาใน พ.ศ. 2547 ปริมาณการใชน้ํา
เฉลี่ยเทากับ 162 ลิตร/ คน/ วัน คานีด้ ูจะรวมไปถึงการใชเชิงพาณิชยดว ย

250

200

150
ลิตร / คน / วัน

100

50

ภาพที่ 5.1 แนวโนมของปริมาณการใชน้ําในพื้นที่ตา งจังหวัด (1980-2004)

จากผลการสํารวจของลดา มธุรสา (2548) ไดมีการสรุปปริมาณการใชน้ําในจังหวัด


ขอนแกนและพื้นที่อื่นไวในตารางที่ 5.1 และตารางที่ 5.2

- 13 -
ตารางที่ 5.1 ปริมาณการใชนา้ํ ปลายทางทั้งในเขตเมืองและชนบทของจังหวัดขอนแกนและเมืองสําคัญ
2004 2000น 1
ขอนแก 2004 กรุง1998*
เทพฯ 3
กิจกรรมการใชน้ํา ขอนแกน เชียงใหม 2
ปลายทาง
เมือง ชนบท ฤดูแลง ฤดูฝน
การใชในหองสุขา
การอาบน้ํา
การซักผา
การลางจาน
อื่นๆ
การใชน้ํา
(การใชทั้งหมด)

อื่นๆ แสดงหนวยเปนลิตร/ประเภท/วัน
หมายเหตุ: * ปที่พิมพ
a
อื่นๆ = การใชทั้งหมด - การใชในหองสุขา - การอาบน้ํา - การซักผา - การลางจาน
b
ขอมูลปริมาณการใชรวมไดรับจากใบแจงคาบริการน้ํา
c
ขอมูลปริมาณการใชรวมไดรับจากบันทึกยอดจําหนายน้าํ ของการประปาสวนภูมภิ าค
1
ขอมูลปริมาณการใชทั้งหมดและการลางจานเปนขอมูลที่วัดได ขอมูลการซักรีดและการใช
ในหองสุขาคํานวณจากการสังเกตความถีใ่ นการใช ขอมูลการอาบน้ํามาจากการคํานวณ (การอาบน้ํา =
การบริโภครวม – การลางจาน – การซักผา -การใชน้ําในหองสุขา)
1
ที่มา: ทองหอและมังคลา (2545)
2
แบบสํารวจเชียงใหม โดยคณะทํางานของโอตากิ
3
Darmody, Maddaus และ Beatty (2541) อางถึงใน White (2536)

- 14 -
ตารางที่ 5.2 ปริมาณการใชนา้ํ ปลายทางทั้งในเขตเมืองและชนบทของจังหวัดขอนแกนและเมืองสําคัญ
อื่นๆ ในประเทศไทย แสดงหนวยเปนรอยละ
2004 2000 2004 1998 1983 1978
กิจกรรมการใชนา้ํ
ขอนแกน ขอนแกน1 เชียงใหม 2 กรุงเทพฯ 3 กรุงเทพฯ 4 กรุงเทพฯ 5
ปลายทาง
(ในหอพัก)
เมือง ชนบท ฤดูแลง ฤดูฝน
การใชในหองสุขา
การอาบน้ํา

การซักผา

การลางจาน

อื่นๆ
การใชน้ํา
(การใชทั้งหมด)

หมายเหตุ: * ปที่พิมพ
**อื่นๆ = การใชทั้งหมด - การใชในหองสุขา - การอาบน้ํา - การซักผา - การลางจาน
1
ขอมูลปริมาณการใชทั้งหมดและการลางจานเปนขอมูลที่วัดได ขอมูลการซักรีดและ
การใชในหองสุขาคํานวณจากการสังเกตความถี่ในการใช ขอมูลการอาบน้ํามาจากการ
การคํานวณ
1
ที่มา: ทองหอและมังคลา (2545)
2
แบบสํารวจเชียงใหม โดยคณะทํางานของโอตากิ
3
Darmody, Maddaus และ Beatty (2541) อางถึงใน White (2546)
4
ตันทุนวัตร (2526)
5
ศิวะบวร (2524)

ขอมูลเหลานี้แสดงใหเห็นวาปริมาณการใชน้ําเกือบครึ่งหนึ่งไดถูกจัดประเภทเขาในการใช
อื่นๆ ซึ่งไดแก การใชน้ําเพื่อทําสวนและลางรถ น้ําที่ใชในการทําสวนไมไดไหลไปสูร ะบบบําบัดน้าํ เสีย
หมายความวาน้ําที่ใชในครัวเรือนเกือบครึ่งหนึ่งอาจจะไมไดถูกปลอยลงไปในระบบบําบัดน้ําเสีย หาก
การอนุมานนีถ้ ูกตอง น้ําเสียที่เขาระบบบําบัดน้ําเสียจะนอยกวาอัตราน้าํ เสียเขาระบบที่ออกแบบไวตั้งแต
ตนมาก

- 15 -
ตารางที่ 5.3 ปริมาณการใชนา้ํ เฉลี่ย แสดงเปนรอยละ
ขอนแกน เชียงใหม
เฉลี่ย
เมือง ชนบท แลง ฝน
การใชน้ําในสุขา 8 7 10 8 8
การอาบน้ํา 17 17 13 19 17
การซักผา 14 16 13 13 14
การลางจาน 10 16 15 12 13
อื่นๆ 51 44 50 48 48
รวม 100 100 100 100 100

จากตารางที่ 5.3 และ อัตราการใชน้ําในเขตตางจังหวัดใน พ.ศ. 2547 เราอาจตั้งสมมุติฐาน


ไดวาน้ําเสียตอคนที่จะปลอยออกมาในชวงนี้ เปนดังนี้
162 ลิตร x (8+17+14+13)% = 84 ลิตร/คน/วัน เมื่อการกดชัดโครกในหองสุขาถูกระบายลง
สูระบบบําบัดน้ําเสีย
162 ลิตร x (17+14+13)% = 71 ลิตร เมื่อไมไดรวมถึงการใชน้ําในหองสุขา

สมมุติฐานเหลานี้มีผลตอการออกแบบระบบและการจัดเก็บคาธรรมเนียมการใชอยางมาก
งานวิจยั ที่ละเอียดมากขึน้ กวานี้จําเปนตองใชสมมุติฐานนี้กับการออกแบบจริงและการคํานวณตางๆ เชน
การจัดทํางบประมาณการดําเนินการและบํารุงรักษา หรือการประมาณคาธรรมเนียมการใช
1) ลดา มธุรสา (2548), การวิเคราะหและคาดการณปริมาณการใชน้ําปลายทางภายใน
จังหวัดขอนแกน ประเทศไทย วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาปริญญาโทวิทยาศาสตร
มหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย

6. คุณภาพและลักษณะของน้ําเสีย
กรมควบคุ มมลพิ ษกั บสํ านั กงานสิ่ งแวดลอมภาคของกระทรวงทรั พยากรธรรมชาติ และ
สิ่งแวดลอมไดดําเนินการตรวจสอบคุณภาพน้ําของระบบบําบัดน้ําเสีย จากขอมูลในป 2548 คาเฉลี่ยของคา
BOD ในน้ําเสียที่ไหลเขาระบบฯ เทากับ 48 มก./ลิตร และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 86.5 มล./ลิตร
ในทางสถิติ ขอมูลที่มากกวาคาเบี่ยงเบนมาตรฐานจากคาเฉลี่ยถึงสองเทาถือเปนความผิดปกติ หากไมนับ
รวมขอมูลที่มากเกินไปเหลานี้ คาเฉลี่ยของคา BOD ที่คํานวณใหมจะเทากับ 30.2 มล./ลิตร คาเหลานีแ้ สดง
วาความเขมขนเฉลี่ยของคา BOD ในน้ําเสียที่ไหลเขาระบบฯ นั้นนอยกวาคาที่ออกแบบไวมาก

- 16 -
อีกทั้ง โครงการไดดําเนินการศึกษาเพิ่มเติมโดยพุงเปาไปที่ระบบบําบัดน้ําเสีย 9 แหงคือ
ระบบบําบัดน้าํ เสียเทศบาลเมืองศรีราชา เทศบาลนครสงขลา เทศบาลเมืองชะอํา เทศบาลเมืองบานเพ
เทศบาลเมืองปทุมธานี เทศบาลเมืองกําแพงเพชร เทศบาลนครเชียงราย เทศบาลตําบลชุมแสง และ
เทศบาลตําบลทาแร ผลการศึกษาแสดงไวในตารางที่ 6.1 ความเขมขนเฉลี่ยของคา BOD ในน้ําเสียเขา
ระบบฯในตารางนี้เทากับ 38.9 มล./ลิตร ขอมูลในการศึกษานี้ไดมาจากการเก็บตัวอยางแบบ Composite
Sample ตลอด 24 ชั่วโมง และทําการสุมตัวอยางสองครั้งในฤดูรอนและฤดูฝน การศึกษาสวนใหญ
แสดงใหเห็นวาความเขมขนของคา BOD ของน้ําเสียเขาระบบระหวางฤดูรอนและฤดูฝนวามีความ
แตกตางกันอยางมากในแตละสถานที่
ตารางที่ 6.1 ผลของการวิเคราะหคุณภาพน้ําในเดือนเม.ย./พ.ค.และก.ค./ส.ค.2548

ศรีราชา

สงขลา
ชะอํา
บานเพ
ปทุมธานี
กําแพงเพ

เชียงราย

ชุมแสง
ทาแร
คาเฉลี่ย

จากขอมูลรายงานประจําเดือนของการเดินระบบและบํารุงรักษาระบบบําบัดน้ําเสียเทศบาล
เมืองกําแพงเพชร คา BOD ของน้ําเสียเขาระบบฯ เฉลี่ยเทากับ 34.8 มล./ลิตร ในชวงเดือนพฤษภาคมถึง
เดือนกันยายน 2548 สวนของเทศบาลเมืองปทุมธานี คา BOD ของน้ําเสียเขาระบบฯ เฉลี่ยเทากับ 12.2
มล./ลิตร ในชวงเดือนกรกฎาคมถึงเดือนตุลาคม 2548
ขอมูลทั้งหมดที่กลาวมานีแ้ สดงใหเห็นวาคา BOD ของน้ําเสียเขาระบบฯ มีคาต่ํา คา
ออกแบบที่กําหนดขึ้นใหมโดยกรมควบคุมมลพิษที่จัดทําเสร็จในป พ.ศ. 2546 ไดสะทอนใหเห็นถึง
สภาพเหลานีแ้ ลว คา BOD เผื่อออกแบบนี้แนะนําใหใช 80 มล./ลิตร และ 160 มล./ลิตร สําหรับระบบ
ทอรวมและระบบทอแยกตามลําดับ แตเมื่อเทียบกับขอมูลที่มีอยู คาที่แนะนํานี้กย็ ังอยูใ นระดับที่
คอนขางสูงทีเดียว
น้ําเสียสวนใหญในประเทศไทยจะถูกเรียกกันอยางผิด ๆ วา Gray Waste ทั้งนี้ Gray Waste
ไมไดรวมถึงอุจจาระหรือปสสาวะของมนุษย โดยทัว่ ไป น้ําเสียจากสวมจะใชระบบบอเกรอะ และน้ํา
ทิ้งที่ออกจากบอเกรอะก็จะไหลซึมลงดินหรือระบายออกไปยังทอระบาย ขอเท็จจริงนี้เปนสวนหนึ่งของ

- 17 -
สาเหตุที่มีความเขมขนในน้ําที่ไหลเขาสูระบบต่ํา แตเฉพาะขอเท็จจริงนี้เพียงอยางเดียวไมไดอธิบายถึง
ความเปนมาของความเขมขนของคา BOD ในน้ําที่ไหลเขาต่ําที่กลาวมาขางตนไดทั้งหมด
สาเหตุอีกประการหนึ่งที่มกี ารกลาวถึงบอยๆ คือ การยอยสลายในระหวางการไหลของน้ํา
เสียจากทอระบายไปยังโรงบําบัดน้ํา Pomeroy and Parkhurst (2515) ไดทํารายงานไววา คา BOD ลดลง
26% หลังจากน้ําเสียพักตัวในทอระบายน้ําในประเทศที่มอี ุณหภูมิพอเหมาะเปนเวลา 4 ชั่วโมง โทมัส
และคณะรายงานวาคา COD ที่ละลายน้ําลดลง 24% ภายใน 3 ชั่วโมง ในทอระบายน้ํา ที่อุณหภูมิ 15 oC
Manandhar and Schroder (1995) รายงานวาในการทดลองของเขาทั้งสองวาคา COD ลดลง 49-63% ที่
อุณหภูมิ 29-33oC จากรายงานเหลานี้จะเห็นวาการสลายตัวที่คอนขางสูงของสารอินทรีย เชน คา BOD
หรือคา COD จะเพิ่มมากขึ้นในทอระบายในประเทศไทยดวย ทอระบายน้ําจึงเปนกระบวนการบําบัดน้ํา
เสียดวย ปจจุบันความคิดเหลานี้ไดรับการยอมรับโดยทัว่ ไปในหมูนักวิจัยสาขาวิชานี้หลังจากมีการ
ตีพิมพหนังสืออนุสรณเรื่อง “วิศวกรรมกระบวนการทอระบาย-กระบวนการจุลนิ ทรียของระบบทอ
ระบาย” (Sewer processes-Microbial Process Engineering of Sewer Networks-) เขียนโดย Dr. Thorkild
Hvitved-Jacobsen.
จากผลการศึกษาที่ดําเนินการโดยอดีตผูเชีย่ วชาญของโครงการ TCSW ระยะเวลากักพัก
เฉลี่ยในกรุงเทพฯ จะอยูที่ประมาณ 5 วัน พวกเขานําตัวอยางน้ําเสียในสภาพสดและเก็บไวที่อุณหภูมิ 30
o
C และไดมกี ารนําตัวอยางขนาดเล็กมากมาสังเกตดูจุลินทรียทั้งพืช (microflora) และสัตว (microfauna)
ในน้ําตัวอยางนั้น พบวาจํานวนพารามีเซียม (paramecium)เพิ่มขึ้นตามระยะเวลาทีผ่ านไป จุดสูงสุดวัด
ไดที่ 5 วันหลังจากเริ่มทําการสังเกต จํานวนพารามีเซียม สูงสุดนับไดประมาณ 600 ตัวในน้ําเสีย 1 มล.
เมื่อพนชวงเวลาดังกลาวนี้ จะเกิดเชื้อราสีดําขึ้นและคอย ๆ ขยายวงกวางออกจนถึงขีดสุดในวันที่ 11
จากนั้นจะเกิดไรแดงน้ําจืด(daphnia)ขึ้นและขยายวงกวางออกมากขึ้นๆ ในทางกลับกัน ในน้ําทีไ่ หล
ออกจากถังตกตะกอนแรกของระบบบําบัดน้ําเสียสี่พระยา พบพารามีเซียมเปนบริเวณกวาง มีการ
วิเคราะหคา BOD ในลําดับการทดลอง และผลที่ไดก็สอดคลองกับคา BOD ที่สํารวจไดในระบบบําบัด
น้ําเสียสี่พระยา จากขอเท็จจริงเหลานี้ ผูเชี่ยวชาญดังกลาวสรุปไดวาระยะเวลาเก็บกักของน้ําเสียทีม่ าถึง
ระบบบําบัดน้าํ เสียของสี่พระยา เทากับประมาณ 5 วัน เนื่องจากมักจะพบพารามีเซียม ไดบอย ๆ ในน้ํา
เสียเขาระบบฯของโรงบําบัดอื่น เราจึงสามารถสันนิษฐานไดวา โดยทัว่ ไป ระยะเวลาเก็บกักของน้าํ เสีย
กอนที่จะไปถึงระบบบําบัดน้ําเสียในกรุงเทพเฉลี่ยอยูที่ 5 วัน ทั้งนีก้ ็มสี าเหตุหลักมาจากระบบทอมีความ
ลาดเอียงนอย จึงเปนผลใหเกิดการตกตะกอนในเสนทอ

- 18 -
ภาพที่ 6.1 กระบวนการสลายตัวของน้ําเสียและการเปลี่ยนสภาพของจุลินทรีย

7. โลหะหนักในตะกอนน้ําเสีย
ระดับการเจือปนของโลหะหนักในสาธารณูปโภคในการระบบบําบัดน้ําเสียในพื้นทีช่ นบท
ไทยยังไมมีการตรวจสอบเพียงพอ เปนเรือ่ งนากังวลเกี่ยวกับการปนเปอ นของโลหะหนักสูระบบระบาย
น้ําเสียในสวนที่เกี่ยวของกับการปรับปรุงคุณภาพชีวิต ดูเหมือนวาในปจจุบัน การระบายน้าํ เสียทีม่ ีการ
ควบคุมลงสูระบบระบายน้ําเสียหรือแหลงน้ําจากโรงงานขนาดเล็กและการผลิตในครัวเรือนในประเทศ
ไทยจะไมไดรับการตรวจสอบอยางละเอียด ยกเวนในโรงงานขนาดใหญที่ควบคุมโดยกระทรวง
อุตสาหกรรม ดังนั้นการสะสมของโลหะหนักในระบบบําบัดน้ําเสียจึงเปนเรื่องนาหวง ดังนั้น โครงการ
การปรับปรุงการจัดการน้ําเสียจึงไดดําเนินการศึกษาการวิเคราะหโลหะหนัก ดวยการวิเคราะหน้ําเสีย
และน้ําหลังการบําบัด
ไดทําการสุมตัวอยางและวิเคราะหตะกอนที่สะสมในระบบบําบัด ตะกอนทีเ่ ปนสวนเกิน
และตะกอนจากบอบําบัดตางๆ อีกทั้งยังไดมีการวิเคราะหการปนเปอ นโลหะหนักในตะกอนที่อยูใน
ระบบทอระบายน้ําเสีย ในขณะเดียวกันก็ไดวิเคราะหลักษณะตะกอนเบื้องตน ของแข็งทั้งหมด ของแข็ง
ระเหยงาย และคาแคลอรี่ คา CODcr อีกดวย ตารางขางลางนี้เปนรายชื่อระบบบําบัดน้าํ เสียเปาหมายที่จะ
ทําการศึกษา

- 19 -
ตารางที่ 7.1 ระบบบําบัดน้ําเสียที่วางเปาหมายที่จะทําการวิเคราะหโลหะหนักในตะกอน
วิธีการบําบัด ระบบบําบัดน้าํ เสีย
AS 3 แหง หวยขวาง (กทม.) สี่พระยา (กทม.) ชองนนทรี (กทม.)
WSP 3 แหง เทศบาลเมืองกําแพงเพชร เทศบาลตําบลชุมแสง เทศบาลตําบลทาแร
AL 3 แหง เทศบาลเมืองชะอํา เทศบาลนครสงขลา เทศบาลนครเชียงราย
OD 3 แหง เทศบาลเมืองศรีราชา เทศบาลเมืองบานเพ เทศบาลเมืองปทุมธานี
AS คือกระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจ WSP คือระบบบอผึ่ง
AL คือระบบบอเติมอากาศ OD คลองวนเวียน

ตารางที่ 7.2 จํานวนจุดเก็บตัวอยางในแตละพื้นที่เปาหมาย


เทศบาลเมืองปทุมธานี 3 จุด เทศบาลเมืองกําแพงเพชร 2 จุด
เทศบาลเมืองบานเพ 3 จุด เทศบาลตําบลชุมแสง 3 จุด
เทศบาลเมืองศรีราชา 1 จุด

ตารางที่ 7.3 แสดงผลของตะกอนสวนเกินและกอนตะกอนทีน่ ํามาจากระบบบําบัดน้ําเสีย


กระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจของ กทม. ตารางที่ 7.4 แสดงผลของตะกอนทีน่ ํามาจากบอที่ 1 ของ
ระบบบําบัดน้าํ เสียแบบระบบบอผึ่งและระบบเติมอากาศ ตารางที่ 7.5 แสดงผลของตะกอนสวนเกินจาก
บอสูบกลับของระบบคลองวนเวียน ตารางที่ 7.6 และ 7.7 แสดงผลของตะกอนจากบอพักทอระบายตาม
ถนนในทอระบายของเทศบาล ตารางที่ 7.8 แสดงผลลัพธของ COD/VS และความตองการ COD ของ
เฟอรรัส ซัลไฟด (FeS) ของตะกอนในทอระบาย
มาตรฐานโลหะหนักและมาตรฐานที่แนะนําใหใชกับทีด่ ินไดแสดงไวในตารางที่ 7.9 เรื่อง
การพัฒนาตะกอนน้ําเสียมาใชเปนปุย อินทรีย
ตัวอักษรทีแ่ สดงในตารางที่ 7.3, 7.4, 7.5, 7.6, 7.7, 7.8 แสดงคา โลหะหนักที่มีความเขมขน
เกิน 50% ของคามาตรฐาน

- 20 -
ตารางที่ 7.3 ตะกอนสวนเกินและ ตะกอนที่ผานการรีดแลวจากระบบบําบัดน้ําเสียแอกทิเวเต็ดสลัดจใน กทม.
หวยขวาง สี่พระยา ชองนนทรี
ตะกอนยอนกลับ ตะกอนรีดแลว ตะกอนสวนเกิน ตะกอนสวนเกิน
อางอิง
หัวขอ หนวย
ความชื้น
อัตราสวนของแข็งระเหย
คาความรอน
ทองแดง
สังกะสี
เหล็ก
แมงกานีส
โครเมียม
ฟลูออไรด
แคดเมียม
ตะกั่ว
สารหนู
สารปรอท
ซีลีเนียม
โบรอน
นิกเกิล
แบเรียม

ตารางที่ 7.4 ตะกอนที่กนบอนํามาจากบอที่ 1 ของระบบบําบัดน้ําเสียแบบระบบบอผึ่งและระบบบอเติมอากาศ


WSP AL
หัวขอ หนวย ชุมแสง ทาแร ชะอํา สงขลา เชียงราย
ความชื้น
อัตราสวนของแข็งระเหย
คาความรอน
ทองแดง
สังกะสี
เหล็ก
แมงกานีส
โครเมียม
ฟลูออไรด
แคดเมียม
ตะกั่ว
สารหนู
สารปรอท
ซีลีเนียม
โบรอน
นิกเกิล
แบเรียม

- 21 -
ตารางที่ 7.5 ตะกอนสวนเกินจากบอสูบตะกอนกลับของระบบคลองวนเวียน
หัวขอ หนวย OD ศรีราชา บานแพ ปทุมธานี
ครั้งแรก ครั้งที่สอง ครั้งแรก ครั้งที่สอง ครั้งแรก ครั้งที่สอง
ความชื้น
อัตราสวนของแข็งระเหย
คาความรอน
ทองแดง
สังกะสี
เหล็ก
แมงกานีส
โครเมียม
ฟลูออไรด
แคดเมียม
ตะกั่ว
สารหนู
สารปรอท
ซีลีเนียม
โบรอน
นิกเกิล
แบเรียม

ตารางที่ 7.6 ตะกอนกนบอพักของทอระบายน้ําตามถนนของเทศบาล (1/2)


หัวขอ หนวย ปทุมธานี บานแพ

ความชื้น
ของแข็งระเหย
คาความรอน
COD

ทองแดง
สังกะสี
เหล็ก
แมงกานีส
โครเมียม
ฟลูออไรด
แคดเมียม
ตะกั่ว
สารหนู
สารปรอท
ซีลีเนียม
โบรอน
นิกเกิล
แบเรียม

- 22 -
ตารางที่ 7.7 ตะกอนกนบอพักตามถนนในทอระบายน้ําของเทศบาล (2/2)
หัวขอ หนวย ศรีราชา กําแพงเพชร ชุมแสง

ความชื้น
อัตราสวนของแข็งระเหย
คาความรอน
COD

ทองแดง
สังกะสี
เหล็ก
แมงกานีส
โครเมียม
ฟลูออไรด
แคดเมียม
ตะกั่ว
สารหนู
สารปรอท

ซีลีเนียม
โบรอน
นิกเกิล
แบเรียม

7-1 กระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจ
ปริมาณความชื้นของตะกอนสวนเกินมีคา ระหวาง 98.6 - 99.4% w/w ความเขมขนของ
ของแข็งทั้งหมดอยูระหวาง 1.4 - 0.6% อัตราสวนของของแข็งระเหยสูงกวาตะกอนจากระบบบําบัดน้ํา
เสียแบบอื่น เชน ระบบบอผึ่ง บอเติมอากาศ และระบบคลองวนเวียน คือ อยูที่ระหวาง 40 – 80%
ตะกอนน้ําเสียจากระบบบําบัดน้ําเสียในกรุงเทพฯ มีแนวโนมที่จะมีความเขมขนของสังกะสี โครเมียม
แคดเมียม และปรอทประกอบอยูสูงเมื่อเปรียบเทียบกับคามาตรฐานที่ใชในการเกษตร อีกทั้งตะกอนที่
นํามาจากโรงบําบัดน้ําเสียชองนนทรียังมีความเขมขนของแมงกานีส ตะกัว่ และนิกเกิลอยูดวย
คาแคลอรี่ของตะกอนอยูระหวาง 8,000 ถึง 17,000 J/g. ตะกอนสวนใหญไมพบวามีฟลูโอ
ไรด ยกเวนตะกอนจากโรงบําบัดน้ําเสียชองนนทรี ตัวอยางที่สุมไดทั้งหมดมีสารซีลีเนียมประกอบอยู
เพียงเล็กนอย

7-2 ระบบคลองวนเวียน
ความเขมขนของโลหะหนักจะแตกตางกันไปแลวแตสถานที่ พบโลหะหนักอยางนอยหนึ่ง
อยางจากรายการตอไปนี้ สังกะสี ทองแดง แคดเมียม ตะกัว่ ปรอท นิกเกิล ที่ตรวจพบไดในตัวอยาง
และสารเหลานี้แสดงคาสูงกวามาตรฐานสําหรับใชในการเกษตรที่ประเทศญี่ปุน อัตราสวนของแข็ง
ระเหยต่ํากวาตะกอนสวนเกินในโรงบําบัดน้ําเสียของกรุงเทพฯ ประมาณ 5% - 30%

- 23 -
7-3 ระบบบอผึ่งและบอเติมอากาศ
ผลการวิเคราะหโลหะหนักจากตะกอนน้ําเสียที่นํามาจากระบบบอผึ่งและระบบบอเติม
อากาศที่ตั้งอยูในเขตชนบมีคาความเขมขนของโลหะหนักในแตละสถานที่แตกตางกัน ตะกอนที่ชุมแสง
มีการปนเปอนของโลหะหนักนอยกวา ในทางตรงกันขาม มีโรงบําบัดน้ําเสียที่ตะกอนน้ําเสียมีสังกะสี
และปรอทปนเปอนอยูสูงมาก และในสวนของแคดเมียมและตะกั่วก็มีแนวโนมที่จะมีปนเปอนมากกวา
โลหะอื่น ปริมาณความชื้นอยูในชวง 75-93% ความแตกตางเหลานี้อาจจะขึ้นอยูกับวิธีการสุมตัวอยาง
และความหนาแนนของตะกอน
เพื่อที่จะทราบสวนประกอบอินทรียสารในตะกอนน้ําเสีย ไดมีการคํานวณคาแคลอรี่ตอ
หนวยของของแข็งระเหยไดพบคาแคลอรี่ตอหนวยมีคาประมาณ 20kJ/gVS.

7-4 ผลการวิเคราะหตะกอนน้ําเสีย
ผลการวิเคราะหตะกอนแสดงใหเห็นวามีความเขมขนของตะกอนโลหะหนักอยูใ นเกณฑต่ํา
ซึ่งสามารถจะนําไปใชในพืน้ ที่สีเขียวไดโดยปราศจากปญหา แตพบโดยทั่วไปวามีการพบการสะสม
ของสังกะสีในตะกอนทั้งหมด สําหรับตะกัว่ ทองแดง แมงกานีสนัน้ แสดงผลลัพธการปนเปอนใน
ระดับที่แตกตางกัน ซึ่งแสดงใหเห็นวาการปนเปอนเหลานี้ขึ้นอยูกับสถานที่ อาจจะสามารถสืบหาจุด
ตนตอที่ปลอยโลหะหนักไดจากการวิเคราะหตะกอนในบอพักตนทาง
ตารางที่ 7.8 ลักษณะของตะกอนน้ําเสีย
ของแข็งระเหย
COD-g/kg-DS ของแข็งระเหย% COD/ของแข็งระเหย kJ/g-ของแข็งระเหย Fe% COD-FeS%

- 24 -
คา COD ของตะกอนแสดงใหเห็นถึงความตองการออกซิเจนในการลดสารอนินทรีย เชน
เฟอรรัส ซัลไฟด ดังขอมูลแสดงไวในตารางที่ 7.8 สมมุติฐานของสารลดอนินทรีย (เฟอรรัส ซัลไฟด)
ลดความตองการใชออกซิเจนของ COD ลง 10-80% จากปริมาณทั้งหมด คาแคลอรี่ของตะกอนน้าํ เสียมี
คาประมาณ 20kJ/gVS ตัวอยางตะกอนทั้งหมดมีปริมาณความชื้นอยูระหวาง 37 - 84% w/w อัตราสวน
ของแข็งระเหยงายอยูในชวง 9-29%

7-5 การนําไปประยุกตใชดวยความปลอดภัยและกระบวนการกําจัดตะกอนน้ําเสีย
ขอมูลแสดงใหเห็นวาตะกอนน้ําเสียมีความเขมขนของโลหะหนักคอนขางสูงในบางภูมิภาค
การปนเปอนของโลหะหนักมีความเขมขนสูง เมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานการนําไปใชในพืน้ ที่สเี ขียว
โดยเฉพาะอยางยิ่งตะกอนทีน่ ํามาจากระบบบําบัดน้ําเสียในกรุงเทพฯ จะมีการปนเปอนของโลหะหนัก
ในปริมาณสูง
การควบคุมการระบายน้ําเสียสูระบบรวบรวมน้ําเสีย หรือแมน้ําลําคลองจากโรงงานขนาด
เล็กและอุตสาหกรรมในครัวเรือนในประเทศไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งในเขตกรุงเทพฯ จะตองไดรบั การ
ตรวจสอบอยางละเอียดเปนลําดับแรก
การทําความสะอาดระบบทอรวบรวมน้ําเสียเปนการทําใหระบบบําบัดน้ําเสียมีประสิทธิภาพขึ้น
ตะกอนจํานวนมากเกิดขึ้นจากการตกตะกอนในทอ และเกิดจากระบบบําบัดน้ําเสีย ระบบแอกทิเวเต็ดสลัดจ
และระบบคลองวนเวียน การทําความสะอาดและการขุดลอกตะกอนในบอแรกของระบบบอผึ่งและระบบ
บอเติมอากาศไมไดเกิดขึ้นบอยครั้งนัก โดยทําประมาณ 5 ป หรือ10 ปตอครั้ง
ตารางที่ 7.9 มาตรฐานโลหะหนักและอื่นๆ
*1.มาตรฐานโลหะหนักเพื่อนําไปใชในพื้นที่สีเขียว
*2.มาตรฐานที่แนะนํา
*3.ความจําเปนที่ตองแจงตอเกษตรกร
ทองแดง
สังกะสี
โครเมียม

แคดเมียม
ตะกั่ว
สารหนู
สารปรอท

ซีลีเนียม
โบรอน
นิกเกิล
แบเรียม

- 25 -
(เอกสารอางอิง)
Nakatsukasa, การใชตะกอนน้ําเสียเพื่อการเกษตร, การนํากลับมาใช และการใชใหเกิดประโยชน ฉบับที่
25 เลขที่ 95 2002/3
Fukada, การแกไขเพิ่มเติมกฎหมายควบคุมปุยธรรมชาติ, การนํากลับมาใช และการใชใหเกิดประโยชน
ฉบับที่ 23 เลขที่ 88 2000/6

8. การเกิดปญหาสาหรายในระบบบอผึ่ง
สาหรายเปนสวนหนึ่งของระบบบําบัดน้ําเสียแบบบอผึ่ง แตเมื่อสาหรายแพรพันธุอยาง
ผิดปกติในระบบ จะทําใหเกิดปญหาหลาย ๆ อยาง หนึ่งในปญหาดังกลาวก็คือ สาหรายสวนเกินที่
ปรากฏในน้ําเสีย นําไปสูป ญหา BOD และสารแขวนลอยมีคาเกินระดับมาตรฐานคุณภาพน้ําทิง้ หลัง
การบําบัด ปญหาอื่นๆ ไดแก สารพิษจากสาหรายสีนา้ํ เงิน-เขียว สาหรายสีน้ําเงิน-เขียวบางชนิดเชน
Anabena flos aquae, Microcystis aeruginosa, และ Schizothrix calcicola ที่ผลิตสารพิษออกสูภายนอก
(Peptides และ Alkaloids) และสารพิษเขาสูภายใน (lypopolysaccarides) ซึ่งทําใหเกิดอาการตางๆ เชน
กระเพาะอาหารและลําไสอักเสบ มีรายงานวาในบางพื้นที่ในประเทศไทย น้ําเสียที่ระบายออกจาก
ระบบบอผึ่งซึ่งมีปริมาณสาหรายน้ําเงินอมเขียวอยูมากทําใหเกิดอาการอักเสบทางผิวหนังกับเกษตรกรที่
ใชน้ําทิ้งหลังการบําบัดเปนแหลงน้ําในการทํานา
การเพิ่มขึ้นอยางผิดปกติของสาหรายจะเกิดขึ้นในบอบม จึงควรควบคุมการขยายตัวที่มาก
เกินไปของสาหรายเหลานี้ดว ยวิธีการบางอยางเพื่อหลีกเลี่ยงการเกินระดับมาตรฐานน้ําเสียและลดความ
เสี่ยงทางดานสุขภาพ
โดยปกติ มักจะสรางจานกรองหินเพื่อเปนวิธีควบคุมจํานวนสาหรายในน้ําเสีย วิธที ี่เปนไป
ไดอีกวิธีหนึ่งที่จะควบคุมสาหรายคือ ทําใหเกิดรมเงาบางสวนดวยการใชแผนวัสดุลอยน้ําบังแสงแดดที่
สะทอนลงไปในบอ เมื่อแรกเริ่ม วิธีใหมนี้ไดรับการพัฒนาเพื่อควบคุมการขยายตัวของสาหรายในอาง
เก็บน้ําลึกสําหรับผลิตน้ําประปาในประเทศญี่ปุน ขณะนี้ วิธีนี้อยูใ นขัน้ ทดลองในการศึกษาเพื่อนํามาใช
กับระบบบอผึ่งในประเทศไทย
จากประสบการณการทดลองในประเทศญีป่ ุน การใชแผนวัสดุลอยน้ําบังแสงแดดบริเวณ
ผิวหนาน้าํ เพียง 30% นั้นก็เพียงพอที่จะลดจํานวนสิ่งมีชีวิตตอหนวยพื้นที่ของสาหรายสีน้ําเงิน-เขียวให
เขาสูสถานการณที่ไมเปนอันตรายแลว การใชแผนวัสดุลอยน้ําเพื่อใหรมเงากับผิวหนาทะเลสาบตาง ๆ
เพียง 30% จะชวยใหสามารถควบคุมจํานวนสิ่งมีชีวิตตอหนวยพื้นที่ของสาหรายได เราสามารถทําแผน
บังแสงในราคาตนทุนต่ําไดดวยวัสดุที่มีอยู เชน ไมไผ เศษไมที่ทิ้งแลว แผนโฟม และอื่นๆ

- 26 -
ภาพของการนําแผนบังแสงมาใชอยูในภาพประกอบตอไปนี้
บอแฟคคัลเททีฟ บอแฟคคัลเททีฟ
บอบม
หมายเลข 2 หมายเลข 1

แผนวัสดุบังแสงลอยน้ํา
ภาพที่ 8.1 แผนวัสดุบังแสงลอยน้ําสําหรับควบคุมการขยายตัวของสาหราย

9. ผลของน้ําทิ้งหลังการบําบัด
กลาวกันวาจํานวนผลผลิตขาวทั้งหมดในนาขาวที่ใชแหลงน้ําจากคลองที่รับน้ําทิ้งหลังการ
บําบัดแลวจากระบบบอผึ่งที่เทศบาลเมืองกําแพงเพชรมีจาํ นวนลดลง อีกทั้งยังมีรายงานดวยวาสวนใบ
สามารถเจริญเติบโตไดอยางอุดมสมบูรณ แตในสวนเมล็ดขาวกลับมีผลผลิตต่ํา
เปนที่ทราบกันทั่วไปวา ถานาขาวไดรบั ไนโตรเจนมากเกินไป เราจะสามารถสังเกตเห็น
อาการขางตนได มาตรฐานคุณภาพน้ําสําหรับน้ําในการเกษตรในประเทศญี่ปุนแสดงไวในตารางที่ 9.1
และคุณภาพน้าํ ตัวอยางจากระบบบําบัดขั้นที่ 2 ไดแสดงไวในตารางที่ 9.2
น้ําเสียที่ไดรับการบําบัดขั้นที่ 2 สามารถนํามาใชเปนแหลงน้ําในนาขาวได ตารางที่ 9.3
แสดงตัวอยางบางสวนของสถานการณการนําน้ํากลับมาใชในนาขาว น้ําเสียทีไ่ ดรับการบําบัดแลวมี
ความเขมขนของไนโตรเจนสูงกวาน้ําในแมน้ําปกติ น้ําที่มีไนโตรเจนสูงจะกอใหเกิดผลเสียบางอยางกับ
การปลูกขาว สถาบันวิจยั การปฏิบัติงานสาธารณะในประเทศญี่ปุนไดตรวจสอบความเขมขนของ
ไนโตรเจนที่สามารถรับไดในน้ําเสียที่ไดรบั การบําบัดแลวเพื่อการใชในการชลประทาน ในเวลานั้น ผล
การตรวจสอบมีดังนี้
- เมื่อความเขมขนของไนโตรเจนในน้ําเสียนอยกวา 20 มล./ลิตร และไนโตรเจนเปน
ประเภทไนเตรต ผลเสียที่เกิดกับการเพาะปลูกขาวจากการมีสารอาหารมากเกินไป
สามารถแกไขไดโดยการควบคุมการใชปุย
- ไนโตรเจนประเภทไนเตรตทําใหเกิดปญหาของสารอาหารสวนเกินนอยกวา
ไนโตรเจนประเภทแอมโมเนียมในน้ําเสีย
- เมื่อมีไนโตรเจนประเภทแอมโมเนียมประกอบอยูในน้ําเสียที่นํามาใชประโยชนอกี
การปองกันการเจริญเติบโตมากเกินไปของตนขาวดวยการควบคุมปุยเทานั้นเปนไปได

- 27 -
ยาก เนื่องจากปุยไนโตรเจนยังจําเปนตอการเติบโตตามปกติของตนขาว การลดปุย
ไนโตรเจนลงมากจะทําใหผลผลิตขาวลดลงมากดวย

ตารางที่ 9.1 มาตรฐานคุณภาพน้ําสําหรับน้าํ ที่ใชในการเกษตร


ความเปน กรด-ดาง (PH) 6.0-7.5
COD (แมงกานีส) นอยกวา 6.0 มล./ลิตร
สารแขวนลอย นอยกวา 100 มล./ลิตร
DO มากกวา 5.0 มล./ลิตร
T-N นอยกวา 1.0 มล./ลิตร
การนําไฟฟา นอยกวา 0.3 mS
สารหนู นอยกวา 0.05 มล./ลิตร
สังกะสี นอยกวา 0.5 มล./ลิตร
ทองแดง นอยกวา 0.02 มล./ลิตร

ตารางที่ 9.2 คุณภาพน้ําที่มักตรวจพบในน้าํ เสียหลังการบําบัดขั้นที่ 2


หนวย:มล./ลิตร
BOD 5-15
COD 10-20
สารแขวนลอย 10-20
NH4-N 5-15
T-N 10-20
T-P 1-3
TDS 100-300
โคลิฟอรมแบคทีเรีย <2000 cfu/ml
ABS 0.2-0.5

- 28 -
ตารางที่ 9.3 ตัวอยางสถานการณการนําน้ําทิ้งหลังการบําบัดกลับมาใชในนาขาว
อัตราการนํา
ระบบบําบัดน้ํา คุณภาพสัดสวน น้ําเสียที่ไดรับการ ระยะเวลาการ
สถานที่ กลับมาใช ผูใช ปที่เริ่ม
เสีย น้ําเสีย บําบัดแลว ใช
(ลบ./วัน)
อาชิคากะ อาชิคากะ ไดอิจิ 10,000 สหกรณน้ํา 2:8 (น้ํา BOD 2.7 มล./ลิตร 20 มิถุนายน - 1978
ชลประทานชิ ชลประทานที่มี T-N 10.6 20 กันยายน
จิคาโซะ อยู: น้ําเสีย) NH4-N 0.1
NO3-N 9.8
คุมาโมโตะ เรนไดจิ 25,000 สหกรณน้ํา 5:5 BOD 6.4 มล./ลิตร กลางเดือน มิ.ย. 1982
ชลประทาน (น้ําในแมน้ํา: น้ํา T-N 7.1 - ตนเดือน ต.ค.
เสีย) NH4-N 1.0
NO3-N 3.4

10. ผลจากความเขมขนต่ําของน้ําเสียเขาระบบที่มีตอระบบบอผึ่ง
ระบบบอผึ่งในเทศบาลเมืองกําแพงเพชรประกอบดวยบอที่เรียงตอกัน 3 บอ บอแรกคือบอ
แอนแอโรบิก บอที่สองคือบอแฟคคัลเททีฟ และบอที่สามคือบอบม
ในบอแอนแอโรบิก จากการสุมตัวอยางในวันที่ 22 สิงหาคม 2548 การวิเคราะหดว ยกลอง
จุลทรรศนแสดงความหลากหลายของสาหรายขนาดเล็กหลายประเภท คอนขางสูง (เชน Euglena,
Chlorella, Scenedesmus, diatoms เปนตน) แสดงวาบอแรกไมมีสภาพเปนบอแอนแอโรบิก เนื่องจาก
ปริมาณสารอินทรียนอ ยเกินไป
สาหรายในสามบอนี้มีความเขมขนต่ํามากในวันที่ 21 และ 22 สิงหาคม แตในบางพื้นที่
บริเวณใกลๆ มุมบอแตละบอกลับมีความเขมขนของสาหรายที่คอนขางสูง แสดงวาบอเหลานี้มีพื้นที่
เปนจุดอับ (Dead Zone)
เราสามารถสังเกตเห็นวาในรางระบายน้ําทิ้งหลังการบําบัดมีความเขมขนของสาหรายสูง
ทั้งนี้เปนเพราะวามีระยะเวลากักเก็บในรางระบายน้ํานาน รางระบายน้ําไดรับการออกแบบเพื่อรองรับ
น้ําทิ้งหลังการบําบัดจากชองทาง A และชองทาง B แตในสภาพการดําเนินงานปจจุบัน มีการใชชองทาง
A เทานั้น น้ําเสียจากชองทาง A ถูกระบายออกสูรางระบายน้ํา และน้ําที่ถูกระบายออกไมเพียงแตไหลลง
ไปตามกระแสน้ํา แตน้ําบางสวนยังไหลยอนกลับอีกดวย
ดวยเหตุนี้จึงเปนสาเหตุใหในรางระบายน้ําน้ําทิ้งหลังการบําบัดที่ไดรับการบําบัดแลวมี
ระยะเวลาการกักเก็บของน้ํายาวนานจนเกิดการแพรพันธุของสาหรายในรางระบายน้ําน้ําทิ้งหลังการ
บําบัด (ภาพที่ 10.1)

- 29 -
ภาพที่ 10.1 การไหลยอนกลับในรางระบายน้ําเสีย

ไดมีการนํารางระบายน้ําที่มลี ักษณะเหมือนน้ําตกมาใชในระบบการฆาเชื้อโรค เราสามารถ


พบสาหรายชนิด Filamentous บนกอนหินในลําน้ํา ซึ่งชวยทําใหคณ ุ ภาพของน้ําดีขึ้น ซึ่งเปนสิ่งที่มิได
เกิดจากความตั้งใจตั้งแตขั้นตอนการออกแบบ

11. ดัชนีปริมาตรตะกอน (SVI) ต่ํา


ดัชนีปริมาตรตะกอน (SVI) ในระบบการบําบัดของเทศบาลเมืองปทุมธานีมีคาประมาณ 10
มล./กรัม ในเดือนกันยายน 2548 คา SVI ตามอุดมคติคอื 80-120 มล./กรัม เมื่อดัชนีปริมาตรตะกอน
แสดงคามากกวา 150 มล./กรัม คาดวาจะมีสาเหตุมาจากการเกิดภาวการณรวมตะกอนขนาดใหญในบอ
เติมอากาศ การรวมตัวเปนขนาดใหญมสี าเหตุหลักมาจากการเกิดจุลนิ ทรียชนิดที่มลี ักษณะเปนเสนใย
(แบคทีเรียและเชื้อรา) ในบอเติมอากาศ
เมื่อมีการดําเนินกระบวนการวิเคราะหดัชนีปริมาตรตะกอนที่โรงบําบัดน้ําเสียเทศบาลเมือง
ปทุมธานี ในวันที่ 21 กันยายน 2548 การทดสอบการตกตะกอน 30 นาที (SV30) (ดัชนีปริมาตรตะกอน
คํานวณจาก SV30 และ MLSS) แสดงคาประมาณ 10 มล./ลิตร ในเวลานั้น น้ําทีล่ อยอยูเหนือผิวใน
กรวยอิมฮอฟฟ ไมใสเพราะมีอนุภาคเล็กๆ บนผิวน้ํา

- 30 -
ภาพที่ 11.1 SV30 ที่ปทุมธานี

น้ําเสียภายหลังผานบอตกตะกอนพบวาไมมีตะกอนเล็กๆ ปนออกมาดวย ในปจจุบันบอ


ตกตะกอนทั้ง 2 บอรองรับน้ําเสียจากบอเติมอากาศบอเดียว ในอนาคตหากน้ําเสียเขาระบบเต็มขนาด
บําบัด บอตกตะกอน 1 บอจะรับน้ําเสียจากบอเติมอากาศ 1 บอ จึงอาจทําใหเกิดตะกอนเล็ก ๆ หลุด
ออกมาพรอมน้ําที่ไหลลนจากบอตกตะกอนได
ดัชนีปริมาตรตะกอนต่ําไมไดพบเพียงแคทโี่ รงบําบัดน้ําเสียเทศบาลเมืองปทุมธานีเทานั้น
แตยังพบในกระบวนการแอกทิเวเต็ดตะกอนอื่นๆ เชน ศรีราชาและบานเพ ดัชนีปริมาตรตะกอนแสดง
คาต่ําเชนกัน โดยมีคาประมาณ 20-50
เมื่อเราทดสอบ SV30 ที่ระบบบําบัดน้ําเสียเทศบาลเมืองปทุมธานี พบวามีความผันแปรของ
ขอมูลอยางมากเมื่อทําการทดลองหลายครั้ง ทั้งนี้เปนเพราะวาเครื่องปฏิกรณไฟฟาทําการกวนผสมน้ํา
ตัวอยางไมเพียงพอ แมจะเปนเพียงระยะเวลาสั้นๆ แตน้ําตัวอยางก็ตกตะกอนอยางในภาชนะตัวอยาง
ไดโดยงายและทําใหเกิดความแตกตางของความเขมขนในน้ํา หากเราเทน้ําตัวอยางลงในกรวยอิมฮอฟฟ
โดยไมไดกวนอยางเพียงพอ ขอมูลที่เปนผลการวิเคราะหจะแสดงคาต่าํ มาก อีกทั้ง ยังสามารถบอกถึง
การวิเคราะห MLSS ดวยเหตุผลเดียวกัน เมื่อเราประเมินขอมูลคุณภาพที่ไดรับการรายงานจาก
หองทดลอง เราควรจะระมัดระวังเรื่องความนาเชื่อถือของแตละขอมูลดวย

12. ปญหาเกี่ยวกับระบบไฟฟาในระบบบําบัดน้ําเสีย
ระบบบําบัดน้าํ เสียทุกระบบขับเคลื่อนดวยไฟฟา หมายความวาไมมีระบบใดทีจ่ ะทํางานได
หากปราศจากระบบจายไฟฟาที่คงที่ แมแตระบบบอผึ่งที่ทํางานโดยใชพลังงานแสงอาทิตยจาก
ธรรมชาติเปนระบบบําบัด แตไฟฟาก็ยังเปนสิ่งจําเปนในการสงตอน้ําเสียไปยังระบบตางๆ เวนแตจะไม
มีระบบสถานีสูบน้ํา การที่ไฟฟาดับโดยไมคาดคิดจะทําใหเกิดปญหาน้ําเสียทีไ่ มผานการบําบัดลงสู

- 31 -
แมน้ําหรือบางครั้งสูถนนใกลเคียงมากเกินไป
ปญหาที่เกี่ยวกับระบบไฟฟาที่เกิดขึ้นบอยคือ การลัดวงจรของแผงไฟฟา สาเหตุหลักของ
ปญหาเหลานีส้ ามารถแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก จากการที่มีหนู จิง้ จก เขาไปในระบบควบคุมไฟฟา
หรือกัดแทะสายไฟบุกรุกของสัตวเล็ก เชน ตุกแกและหนู และจากการขาดระบบการปองกันแบบสาย
ดิน
อันดับแรก การเขาไปในแผงควบคุมไฟฟาของสัตวเล็กตาง ๆ เกิดจากการปดผนึกรอบๆ
ชองสายไฟไมสนิทหรือมีการเปดฝาตูไว จากการสังเกตแผงไฟฟาที่มีอยู ชองสายไฟของแผงไฟฟาสวน
ใหญยังทําปูนปดรอยรั่วในการปดผนึกไมเสร็จเรียบรอย การเปดออกเชนนีจ้ ะทําใหมีการบุกรุกของ
ตุกแกและสัตวลักษณะเดียวกันอยางตอเนือ่ ง และทายที่สุดจะทําใหเกิดไฟฟาลัดวงจร ภาพที่ 12.1
แสดงตัวอยางเกี่ยวกับปญหานี้

ภาพที1่ 2.1 ตุกแกทําใหเกิดไฟฟาลัดวงจร

อีกตัวอยางหนึ่งของการปลอยใหสายไฟเขาเปดโลงซึ่งไมเหมาะสมเมื่อเทียบกับวิธีการที่
เหมาะสมที่แสดงในภาพที่ 12.2 ความแตกตางทั้งสองแบบไมไดจํากัดอยูเฉพาะเพียงการทิ้งใหเปดโลง
เทานั้น แตยังรวมถึงความเรียบรอยของการพันสายไฟภายในของแผงไฟฟาและความสะอาดภายในดวย

- 32 -
ภาพที่ 12.2 ความแตกตางของการพันรอบชองสายไฟเขา

จะสังเกตเห็นวามีสายไฟทีเ่ สียหายบางสวนเนื่องมาจากการกัดของหนูในภาพที่ 12.3 การ


ปลอยใหบริเวณสายไฟเขาเหลานี้เปดโลงจะทําใหเกิดความเสียหายรายแรงตามมา ควรจะทําการปดให
เรียบรอยตั้งแตในระหวางการกอสราง และผูควบคุมงานควรตรวจสอบดูแลใหเรียบรอย เมื่อผูจัดการ
ไดรับรายงานปญหาดังกลาวนี้ ตองรีบทําการแกไขใหเรียบรอยทันทีเพื่อปองกันไมใหเกิดมีสัตวเขาไป
ในแผงควบคุมไฟฟาอีก

- 33 -
ภาพที่ 12.3 สายไฟเสียหายจากเหตุหนูกดั

ประการที่สอง ประเด็นที่เราตองพิจารณาคือ การขาดระบบสายดินปองกัน เราจะเห็นการ


ขาดระบบสายดินไดในหลายๆ แหง ตัวอยางความผิดพลาดที่ไมมีระบบปองกันเหลานี้เห็นไดที่เทศบาล
เมืองพะเยา ในสถานีสูบน้าํ ที่เทศบาลเมืองพะเยา เราเห็นรองรอยการไหมของแผงไฟฟาและกลองเก็บ
ทอตอสายเคเบิล (ภาพที่ 12.4) ความเสียหายนี้นาจะเกิดขึ้นจากไฟกระชาก ไมใชเกิดจากการใชไฟฟา
เกินกําลัง เมื่อเกิดไฟกระชาก แมวาจะมีการติดตั้งระบบปองกันการใชกระแสไฟฟามากเกินไป (ตอไปนี้
เรียกวา ระบบ OC) (ภาพที่ 12.5) แตระบบ OC ก็จะไมทําการตัดกระแสไฟฟา หากเกิดการกระชากของ
ไฟ กระแสไฟฟาจากการกระชากมีแรงไมมากพอที่จะทําใหระบบ OC เริ่มทํางานได
สําหรับการปองกันความเสียหายที่รุนแรงมากขึ้นดังที่เห็นในภาพที่ 12.4 จําเปนตองติดตั้ง
ระบบสายดินปองกันความผิดพลาดขั้นพืน้ ฐานเขากับเครื่องใชไฟฟาแตละเครื่อง

ภาพที่ 12.4 รองรอยการเกิดเพลิงไหมภายในกลองเก็บทอตอสายเคเบิล

- 34 -
ภาพที่ 12.5 ระบบปองกันการใชกระแสไฟฟามากเกินไป

อีกประการหนึ่งที่เราสังเกตเห็นไดบอยๆ ซึ่งอาจเกิดความเสียหายรุนแรงตอการจายไฟฟาก็
คือ การติดตั้งกลองเก็บสายเคเบิลไวในบริเวณที่สามารถจมน้ําไดงาย ดังที่จะเห็นไดจากภาพที่ 12.6 ควร
จะเก็บรักษาเครื่องใชไฟฟาใหพนจากสภาพเปยกชืน้ เมือ่ น้ําสามารถเขาถึงหรือทวมเครื่องใชไฟฟา จะ
ทําใหไฟฟาลัดวงจรไดงาย ซึ่งเปนสาเหตุทําใหเครื่องใชไฟฟาเกิดความเสียหายรุนแรง สําหรับการ
หลีกเลี่ยงความเสียหายลักษณะนี้ คือควรจะติดตั้งกลองเคเบิลและสาธารณูปโภคที่มีลักษณะเดียวกันนี้
ใหอยางนอยตองสูงกวาระดับพื้นดินและสูงพอที่จะพนระดับน้ําทวมสูงสุด

ภาพที1่ 2.6 กลองเก็บสายเคเบิลที่อยูต่ํากวาระดับพื้นดิน

- 35 -
ประเด็นอืน่ ๆ ที่เราพบเห็นไดบอยคือ คา Power factor ต่ําเกินไป (ภาพที่ 12.7) เมื่อคา Power
factor ต่ํากวา 85% ประจุไฟฟาจะทําใหระบบเสียหาย ปญหาคา Power factor ต่ํานี้อาจแกไขไดดว ยการ
ติตตั้งตัวเก็บประจุไฟฟา (capacitor)

ภาพที่ 12.7 เครื่องหมายแสดงคา Power factor ต่ํา

13. ปญหาเกี่ยวกับเครื่องจักรกลในระบบบําบัดน้ําเสีย
ระบบรวบรวมน้ําเสียไมไดเนนเฉพาะน้ําเสียจากชุมชนเทานั้น แตรวมไปถึงน้ําฝนดวย เมื่อ
ระบบรับน้ําฝนซึ่งชะลางวัสดุตาง ๆ จํานวนมากจากพื้นถนนลงมาสูระบบ โดยปกติ ระบบจะยอมให
ขยะและทรายตาง ๆ ไหลลงสูทอนําสงไปยังสถานีสูบน้ํา และทายสุดไปคือถึงระบบบําบัดน้ําเสีย หาก
เศษขยะไหลลงไปในเครื่องสูบน้ํา เศษขยะเหลานี้อาจทําใหเครื่องสูบน้ําเกิดขัดของได
การปองกันไมใหมีเศษวัสดุนานาประเภทเขาไปเครื่องสูบน้ํานับเปนสิ่งที่จําเปนจะตองทํา
เพื่อปองกันและเพื่อใหเครื่องสูบน้ําทํางานอยางราบรื่น จึงตองมีเครื่องดักขยะมาใชกอนที่น้ําเสียจะไหล
ลงสูเครื่องสูบน้ํา วัสดุกั้นเศษขยะมีลักษณะแตกตางกันไปสองแบบ คือ เครื่องดักขยะหยาบ และเครื่อง
ดักขยะแบบละเอียด เครื่องดักขยะแบบหยาบจะใชระยะหางซี่ตะแกรงในชวงระหวาง 50-150 มม. และ
เครื่องดักขยะแบบละเอียดจะใชระยะหางซี่ตะแกรงในชวงระหวาง 15-50 มม. จะใชเครื่องดักขยะแบบ
ละเอียด สําหรับระบบทอรวม นอกจากนี้ จากรายงาน พบวาเครื่องดักขยะที่ทําดวยเรซินชํารุดเสียหาย
อยูบอยครั้ง เครื่องดักขยะที่ทําดวยเรซินมีความแข็งแรงทนทานต่ํา
ภาพที่ 13.1 แสดงภาพเครื่องดักขยะอัตโนมัติเสียซ้ําหลังจากไดรับการซอมบํารุงอยางดี คาด
กวาสาเหตุของปญหานี้จะเกิดจากทรายที่กองทับถมอยูที่สวนปลายคราดของเครื่องดักขยะอัตโนมัติดังที่
แสดงในภาพที่ 13.2 ทรายที่กองอยูขดั ขวางการเคลื่อนไหวของคราด ซึ่งอาจเปนสาเหตุใหเครื่องเสีย
บอยๆ

- 36 -
ภาพที่ 13.1 เครื่องดักขยะอัตโนมัติที่เสียซ้ํา

สาเหตุของความเสียหายไม
Cause of Destroyed is
ไดมNot
าจากเศษขยะเท านั้น แตเกิด
only Rubbish
จากกBut
อนกรวดที ่ดานลางดวย
also Grit at bottom.

คราดอาจจะกระทบกั บกอนกรวด
Rake maybe hit grit.
จําเป นตองมีการตรวจสอบ
Investigation is necessary. ชนHit
กอนกรวด Grit

ภาพที่ 13.2 ทรายที่กองทับถมกันอาจทําใหเกิดปญหา

เพื่อแกไขปญหานี้ การสรางคันกั้นน้ําเล็กๆไวใกลกับเครื่องดักขยะดังที่แสดงในภาพที่ 13.3


จะชวยปองกันไมใหทรายถูกน้ําพัดเขาไปในเครื่องดักขยะได

- 37 -
ขSuggestion
อแนะนํา
ทําคันกั้นน้ําไวกันเศษกรวด
Make the Dam to prevent settled grit.

คันDam
กั้นน้ํา

เศษกรวด
Grit

ภาพที1่ 3.3 แนวทางในการปองกันการสะสมของทรายที่บริเวณใกลกับตอนทายของเครื่องดักขยะ

เมื่อพบวาสมรรถนะของการสูบน้ําของเครื่องสูบน้ําที่มีกําลังเทากันมีความแตกตางกัน เราก็
ยอมจะของใจวาอะไรเปนสาเหตุของปรากฏการณนี้ เราพบกับกรณีแปลกประหลาดนี้ที่ระบบบําบัดน้ํา
เสียเทศบาลเมืองกําแพงเพชร ในสถานีสูบน้ําเสีย มีการติดตั้งเครื่องสูบน้ําสามเครื่องเพื่อสูบน้ําเขามาใน
ระบบบําบัดน้าํ เสีย เมื่อเราตรวจสอบสมรรถนะของเครื่องสูบน้ําแตละเครื่องโดยใหมีการขับเคลื่อนแยก
จากกันเปนเอกเทศ เครื่องวัดอัตราการไหลของน้ําแสดงอัตราการสูบน้ําที่แตกตางกัน ดังตอไปนี้ เครื่อง
ที่ 1 100 m3/h เครื่องที่ 2 150m3/h และเครื่องที่ 3 ผันแปรในชวงระหวาง 200 ถึง 400 m3/h เครื่องสูบ
น้ําที่มีลักษณะเฉพาะเหมือนกันจะตองมีสมรรถนะเหมือนกัน ดังนั้น เครื่องวัดอัตราการไหลที่
ตรวจสอบอัตราการไหลของการสูบน้ําที่คลอยตามกันชี้ใหเห็นถึงการรั่วซึมของน้ําทีส่ ูบไดไปสูทิศทาง
ที่ไมไดคาดหมายไว การตรวจสอบระบบตาง ๆ อยางละเอียดถี่ถวนทําใหทราบวาการทํางานของวาลว
เปด-ปดและวาลวกันการยอนกลับเกิดความบกพรองขึ้น เมื่อวาลวกันการยอนกลับไมไดหยุดยั้งการ
ไหลยอนกลับ น้ําที่สูบมาก็จะไหลกลับไปที่บอสูบน้ํา ดังที่แสดงในภาพที่ 13.4 หากใชวาลวเปด-ปดที่
ทํางานไดไมเต็มที่ ก็อาจเกิดการทํางานในลักษณะเดียวกันนี้ขึ้นได แตการทดลองในสถานที่จริงโดยใช
วาลวเปด-ปดก็แสดงผลลัพธแบบเดียวกัน ขอเท็จจริงทั้งสองนี้แสดงใหเห็นวาวาลวเปด-ปดและวาลวกัน
การยอนกลับไมไดทํางานอยางมีประสิทธิภาพ

- 38 -
ภาพที่ 13.4 กลไกการไหลกลับ

ไดมีการซอมปรับปรุงวาลวกันยอนจากการตรวจสอบพบปญหาดังกลาว ในการซอม
ปรับปรุงนี้ เราพบวาฝาครอบวาลวไดรับการติดตัง้ ผิดตําแหนงโดยอยูใ นระดับที่ต่ํากวาที่ควรดวยการ
ขยายรูรับของเพลาฝาครอบใหมีขนาดใหญขึ้น ซึ่งทําใหวาลวยอนกลับปดน้ําไดไมสนิท การปลอยใหอยู
ในสภาพเชนนี้เรื่อยไปจะทําใหสูญเสียพลังงานในการสูบน้ําเขา

ภาพที่ 13.5 ฝาครอบวาลวจากภายในของวาลวยอนกลับ

- 39 -
ภาพที่ 13.6 วาลวเปด-ปดไมสามารถหยุดยัง้ น้ําไมใหไหลกลับได แมสภาพวาลวเปด-ปดจะอยูในระดับ
การปดเต็มที่ ก็ยังมีการรัว่ ซึมของน้ําที่สูบไปยังบอสูบ

ควรติดตั้งเครือ่ งวัดอัตราการไหลแบบ Electromagnetic ในระยะหางไมนอยกวา 5 เทาของ


เสนผาศูนยกลางทอน้ําเขาตามขอกําหนดเขาเพื่อใหไดการบงชี้ขอมูลที่แมนยํา แตก็พบการละเมิด
ขอกําหนดนี้บอ ยครั้ง ถาไมเปนไปตามขอกําหนดนี้ ขอมูลการวัดอัตราการไหลก็จะไมนาเชื่อถือ ภาพที่
13.7 แสดงตัวอยางดังกลาว

ภาพที่ 13.7 ตัวอยางของการตั้งมาตรวัดอัตราการไหลแบบแมเหล็กไฟฟาอยางไมเหมาะสม

- 40 -
14. การควบคุมความปลอดภัย
คนงานในระบบบําบัดน้ําเสียประสบกับสถานการณที่เสีย่ งตออันตรายทีเ่ ปนไปไดสูงหลาย
ประการ ในระบบบําบัดน้าํ เสียมีสถานที่ที่ไมปลอดภัยสูงอยูหลายจุด ไดแก เขตกอสรางของระบบ
ตางๆ สถานที่ยกพืน้ สูง ถังเติมอากาศ ภายในทอน้ําเสีย บอสูบ เครื่องรีดตะกอน หองทดลองเคมี ฯลฯ
คนงานและผูจดั การจําเปนตองรูและศึกษาเกี่ยวกับสภาพแวดลอมของตนเปนอยางดี และตองหลีกเลี่ยง
อุบัติเหตุที่เปนอันตรายตอสุขภาพและชีวติ การรักษาความปลอดภัยของคนงานเปนหนาที่อันดับแรก
ของผูจัดการระบบบําบัดน้ําเสีย
ในสถานที่ทํางานหลายแหง เราสังเกตเห็นคนงานทํางานในสภาพที่ไมปลอดภัย คนงาน
หลายคนไมสวมรองเทานิรภัยหรือหมวกชนิดแข็งเพื่อปองกันตัวเองจากอันตรายที่ไมคาดคิด (ภาพที่
14.1)

ภาพที1่ 4.1 หนึ่งในคนงานที่ไมสวมรองเทานิรภัยและหมวกนิรภัย

คนงานแตละคนควรจะมีเครื่องแตงกายปองกันภัยครบชุด เชน รองเทานิรภัย หมวกนิรภัย


และอุปกรณยดึ เหนีย่ วรางกายเพื่อปองกันการพลัดตกจากที่สูง
ความกังวลดานความปลอดภัยอีกประการหนึ่ง คือ การทํางานในที่อบั อากาศ เชน ในบอ
ของสถานีสูบน้ําและในทอระบายน้าํ ในพื้นที่เหลานี้มปี ริมาณออกซิเจนต่ํา และในบางกรณีก็มีปริมาณ
กาซไขเนาสูง นับวาเสี่ยงอยางมากตอชีวิตมนุษย ปริมาณออกซิเจนในอากาศที่นอยกวา 18% ถือวาเปน
ภาวะที่อาจทําใหถึงแกชวี ิตได และปริมาณกาซไขเนาทีส่ ูงเกินกวา 10 ppm ถือวาไมปลอดภัยตอสุขภาพ
และกรณีที่เลวรายที่สุดอาจทําใหเสียชีวิตได สําหรับความปลอดภัยของคนงานที่ทํางานในที่อับนัน้ การ
ระบายอากาศและการวัดปริมาณกาซถือเปนหนาที่ที่ตองปฏิบัติ เราไดรับรายงานเกีย่ วกับอุบัติเหตุที่ครา
ชีวิตมนุษยหลายตอหลายครัง้ ก็เนื่องมาจากการละเลยเรื่องเหลานี้ เพื่อเปนการปองกันเหตุการณเหลานี้

- 41 -
กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมไดออกเกณฑมาตรฐานการจัดการความปลอดภัย สุขอนามัย
และสภาพแวดลอมการทํางานในที่อับขึ้นใน พ.ศ. 2541 เพื่อระบุสภาพการทํางานเพื่อเปนรายละเอียด
สําหรับขอ 6 และ ขอ 9 ของกฎหมายแรงงาน พ.ศ. 2541
การควบคุมความปลอดภัยเปนการกระทําอันจําเปนที่ผูจดั การหรือหัวหนาคนงานควรจะ
ดําเนินการเพื่อความปลอดภัยของคนงาน

15. ระบบบําบัดน้าํ เสียรวม และ ระบบบําบัดน้าํ เสียเฉพาะที่


ในแผนการบําบัดน้ําเสียสวนใหญมักจะเปนแผนการจัดการน้ําเสียแบบรวมศูนย แผนการ
ลักษณะนี้มแี นวโนมที่จะทําใหตองสรางระบบบําบัดน้าํ เสียที่มีตนทุนสูง จึงควรจะมีการพิจารณาใช
ระบบบําบัดน้าํ เสียแบบกลุมยอย หรือ ระบบบําบัดน้ําเสียเฉพาะที่ การตัดสินใจวาควรเลือกระบบใด
ควรจะพิจารณาจากการเปรียบเทียบตนทุนของระบบตางๆ ผลการพิจารณาจะแสดงบนแผนที่ดว ยการ
แบงเขตระบบบําบัดน้ําเสียทีเ่ หมาะสม
ระบบบําบัดน้าํ เสียขนาดใหญมีขอดีอยูที่ตน ทุนตอหนวย ในทางตรงกันขาม ระบบบําบัดน้ํา
เสียขนาดเล็กก็มีตนทุนตอหนวยสูงเมื่อเปรียบเทียบกับระบบบําบัดน้ําเสียขนาดใหญ ราคาตอหนวย
ของระบบบําบัดน้ําเสียเฉพาะที่นั้นตายตัว และการประมาณตนทุนรวมของระบบบําบัดน้ําเสียขนาด
ใหญเปนการทวีคูณปริมาณการบริการ ในภาพที่ 15.1 แสดงความสัมพันธของตนทุนตอหนวยและ
ความหนาแนนของครัวเรือน

ภาพที่ 15.1 การเปรียบเทียบตนทุนระหวางระบบบําบัดแบบรวมศูนยกับระบบบําบัดเฉพาะที่

- 42 -
ในแงนี้ ประเด็นสําคัญคือการหาจุดสมดุลระหวางระบบบําบัดแบบรวมศูนย ซึ่งรวมถึง
ระบบกลุมยอย กับระบบบําบัดน้ําเสียเฉพาะที่ การหาจุดสมดุลจากการเปรียบเทียบตนทุนในการ
กอสรางและคาเดินระบบและบํารุงรักษา รายละเอียดความคิดในการเปรียบเทียบตนทุนนีแ้ สดงไวใน
ภาพที่ 15.2 ควรแสดงผลการเปรียบเทียบตนทุนในมาตราสวนแผนที่ที่เหมาะสมโดยมีการแสดงสี
แบงแยกประเภททางเลือกตางๆ ภาพที่ 15.3 แสดงแผนทีห่ นึ่งที่อธิบายเกี่ยวกับผลของการอภิปราย

ตนทุนการกอสรางระบบบําบัดน้ําเสียสําหรับ ตนทุนการกอสรางระบบบําบัดน้ําเสียสําหรับ (A)


(A+B) +
+ ตนทุนการเดินระบบและการบํารุงรักษาสําหรับ (A)
ตนทุนกอสรางในการเชื่อมตอ B ไปยัง A ในชวงอายุการใชงานทั้งหมดของระบบ
+ +
ตนทุนการเดินระบบและการบํารุงรักษา ตนทุนการกอสรางระบบบําบัดน้ําเสียสําหรับ (B)
สําหรับ (A+B) ในชวงอายุการใชงานทั้งหมด +
ของระบบ ตนทุนการเดินระบบและการบํารุงรักษาสําหรับ (B)
ในชวงอายุการใชงานทั้งหมดของระบบ

กลุมยอยขนาดใหญ หนวยที่แยกตัวเปน
กลุมยอยขนาดใหญ หนวยที่แยกตัวเปน
เอกเทศ หรือบานเดี่ยว
เอกเทศ หรือบานเดี่ยว

ภาพที่ 15.2 ปจจัยชี้ขาดในการเปรียบเทียบตนทุน

- 43 -
ภาพที่ 15.3 ตัวอยางแผนที่นา้ํ เสียในจังหวัดไอจิ ประเทศญี่ปุน

เพื่อการเปรียบเทียบตนทุน การเตรียมการบางอยางเปนสิ่งจําเปนในเรื่องของภาระตนทุน
เมื่อดูจากภาระตนทุน
เราจะสามารถทําการประเมินดังกลาวไดโดยงาย และเปรียบเทียบทางเลือกหลาย ๆ ทาง
ปจจัยตาง ๆ ดานลางนี้คือฟงกชันตนทุนและขอมูลที่จําเปนเบื้องตนที่สดุ สําหรับเปรียบเทียบตนทุน
1) ภาระตนทุนในการสรางระบบบําบัดน้ําเสีย
2) คากอสรางระบบขนาดเล็ก
3) คากอสรางระบบสําหรับบานเดี่ยว

- 44 -
4) คากอสรางสถานีสูบน้ํา
5) ภาระตนทุนในการสรางทอรวบรวมน้ําเสีย
6) การปฏิบัติการและบํารุงรักษาระบบบําบัดน้ําเสีย
7) การเดินระบบและการบํารุงรักษาระบบสูบน้ํา
8) ขอมูลดานอายุการใชงานของระบบตางๆ
9) ขอมูลพื้นฐานอื่น ๆ สําหรับใชวางแผนระบบบําบัดน้ําเสีย เชน จํานวนครัวเรือนโดย
เฉลี่ย ปริมาณน้ําเสียในครัวเรือนโดยเฉลี่ย
ฟงกชั่นตนทุน ควรไดรับการจัดเตรียมครั้งแรกบนพืน้ ฐานของภูมหิ ลังของแตละประเทศ
โดยทั่วไปมีวิธี การสรางฟงกชั่นตนทุนมีอยู 2 วิธี วิธีที่หนึ่งคือวิธีอปุ นัย อีกวิธีหนึ่งคือวิธีนิรนัย วิธี
อุปนัยหมายถึงการรวบรวมขอมูลที่มีอยู เพื่อนํามาคํานวณตนทุนและแบงระดับขอมูลเพื่อหาภาระที่
แมนยําที่สุดที่เปนตัวแทนขอมูลสวนใหญ วิธีนิรนัยหมายถึงการสรางภาระตนทุนดวยการใชการ
คํานวณเชิงสมมุติโดยแบงเปนหลาย ๆ ระดับ ตัวอยางประเภทฟงกชันที่ใชในประเทศญี่ปุน มีดังนี้
1) ระบบบําบัดน้าํ เสีย
CT= 103.5 × Qd0.89
CT: : คากอสรางระบบบําบัดน้ําเสีย หนวยเปน 10,000 เยน
Qd : ปริมาณการไหลสูงสุดในแตละวัน หนวยเปน ลบ./วัน
2) ทอรวบรวมน้าํ เสีย
Cp= 6.3 × m
Cp : คากอสรางทอรวบรวมน้ําเสีย หนวยเปน 10,000 เยน
3) ระบบสําหรับบานเดี่ยว
Cs= 96 × จํานวนบาน
Cs : คากอสรางระบบสําหรับบานเดีย่ ว หนวยเปน 10,000 เยน

16. สรุป
y ประเทศไทยมีระบบบําบัดน้าํ เสียที่ดําเนินการอยู 3 ระบบหลัก ๆ ไดแก ระบบบอผึ่ง (WSP) ระบบ
บอเติมอากาศ (AL) และกระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจ (AS) ซึ่งรวมถึงระบบคลองวนเวียน (OD)
y เกือบ 50% ของระบบที่มีอยู เปนระบบบอผึ่ง และประมาณ 20% เปนระบบบอเติมอากาศ จากสอง
ระบบนี้ ประมาณ 70% ของระบบที่มีอยูจึงเปนการดําเนินการโดยระบบบอ
y ตนทุนการกอสรางระบบบําบัดน้ําเสียตอหนวยอยูที่ประมาณ 23,000 บาท/ ลบ.
y ทอระบายน้ําในประเทศไทยมีความลาดเอียงนอยเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ เชน ประเทศ
ญี่ปุน ทอระบายน้ําทีส่ วนใหญที่มีอยูเชื่อมตอกันในลักษณะเปนเครือขายมากกวาจะเปนแบบ

- 45 -
กิ่งกานสาขาเหมือนในประเทศอื่นๆ เหตุนี้จึงทําใหน้ําเสียที่อยูในชวงการลําเลียงไปยังระบบบําบัด
มีลักษณะเฉพาะอยางมาก
y ปริมาณการใชน้ําเฉลี่ยอยูที่ 160 ลิตร/คน/วัน ยกเวนในเขตกรุงเทพมหานคร แตมีขอมูลบางอยางที่
แสดงวาน้ําที่ถูกระบายออกไปในระบบบําบัดน้ําเสียโดยตรงเปนเพียงครึ่งเดียวของปริมาณการใช
น้ําทั้งหมด หากสามารถนํางานวิจยั นี้มาเปนตัวแทนสภาพโดยทัว่ ไป การวางแผนระบบบําบัดน้ําเสีย
ที่ใชอยูก็ออกแบบมาเกินความจําเปนอยางมหาศาลแมจะมองจากแงนี้เพียงแงเดียวก็ตาม
y คุณภาพน้ําเสียที่ไหลเขาระบบ เชน คา BOD หรือ COD มีคาต่ํา ประมาณ 30-40 มล./ลิตร ในสวน
ของ BOD ทั้งนี้มีสาเหตุหลัก 3 ประการคือ น้ําเสียที่ระบายออกลงไปในระบบเปนน้ําใชจากอาคาร
บานเรือนที่ไมรวมน้ําจากสวม อุณหภูมิเฉลี่ยอยูที่ 30 องศาเซลเซียส และมีระยะเวลากักพักยาวนาน
มากในทอระบายน้ําเสีย ควรจะคํานึงถึงขอเท็จจริงนีใ้ นการออกแบบระบบบําบัดน้ําเสียคราวหนา
หากหลีกเลี่ยงการออกแบบระบบที่เกินจําเปนไดกจ็ ะไมกอใหเกิดปญหาในการปฏิบัติงาน
y มีรายงานถึงการเกิดปญหาสาหรายของน้ําในระบบบอผึง่ การเกิดสาหรายสีน้ําเงินอมเขียวที่อาจ
เปนพิษตอมนุษย ในการควบคุมสาหรายสีน้ําเงินอมเขียวเหลานี้ ควรนําวิธีการวางแผนบังแสงลอย
น้ําบางสวนทีพ่ ัฒนาในประเทศญี่ปุนเร็ว ๆ นี้ซึ่งเปนวิธีทมี่ ีตนทุนต่ํามาใช
y มีรายงานวาทุง นาบางแหงทีใ่ ชน้ําเสียทีไ่ ดรับการบําบัดแลวมาเปนน้ําชลประทาน ผลผลิตขาวมี
จํานวนนอยเอง คาดวามีสาเหตุมาจากปริมาณความเขมขนไนโตรเจนสูงในน้ําเสียที่ไดรับการ
บําบัดแลว เพือ่ ปองกันเหตุการณเชนนี้ ไนโตรเจนทั้งหมดตองไดรับการควบคุมโดยการลดปริมาณ
ปุยไนโตรเจนในทุงนานั้น
y ขอมูลดัชนีปริมาตรตะกอน (SVI) แสดงคาต่ํามากในกระบวนการแอกทิเวเต็ดตะกอนหลายแหง
ในกรณีเหลานีส้ ังเกตเห็นวามีอนุภาคเล็ก ๆ ที่ตานทานการตกตะกอนและนําไปสูน้ําที่ใสไมเพียงพอ
y มีการพบการลัดวงจรไฟฟาในแผงไฟฟาอยูบ อยครั้ง เนื่องมาจากการปลอยใหบริเวณรอบ ๆ ชอง
สายไฟเขาเปดโลง ซึ่งควรปดใหมดิ ชิด
y ระบบสายดินปองกันความผิดพลาดขนาดใหญเปนเรื่องที่ขาดเสียมิไดในระบบไฟฟาตางๆ แตกรณี
ที่พบสวนใหญคือ ไมมีการติดตั้งระบบสายดินปองกัน ระบบนี้เปนสิ่งสําคัญในการปองกันความ
เสียหายรุนแรง
y มีการวางกลองเก็บสายเคเบิลในระดับความสูงที่น้ําทวมถึง เครื่องใชไฟฟาควรเก็บใหหางจากสภาพ
ที่เปยกชืน้
y มีรายงานวาเครื่องดักขยะอัตโนมัติเสียอยูบอ ยครั้ง ปญหานี้อาจปองกันไดโดยการทําคันกั้นน้ําเล็ก ๆ
ไวเพื่อปองกันทรายไหลตามน้ําเขาไปใตเครื่อง
y งานบํารุงรักษาวาลวที่ไมรัดกุมเพียงพอทําใหมีการไหลยอนกลับจากวาลวกันยอน เพียงการ
ปรับปรุงสภาพเหลานี้กจ็ ะทําใหประหยัดพลังงานไดอยางมาก
y การจัดการความปลอดภัยเปนเรื่องสําคัญสําหรับผูจัดการ ควรจะแจกจายเครื่องมือและเครื่องแตง

- 46 -
กายในการปองกันอันตรายทางรางกายครบชุดใหแกคนงานแตละคน และควรปฏิบัติตามขอบังคับ
การทํางานในที่อับ
y ควรจะมีการพิจารณาเรื่องตนทุนของระบบบําบัดแบบรวมศูนยโดยเปรียบเทียบกับทางเลือกอื่น เชน
ระบบกลุมยอย และระบบบําบัดเฉพาะที่

- 47 -

You might also like