You are on page 1of 95

หลักเกณฑ์ประกอบการพิจารณาตั้ง

งบประมาณ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

มานัส ปานมน
สานักป้องกัน ปราบปราม และควบคุมไฟป่า
มกราคม 2555
คานา

การจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีเป็นสิ่งที่มีความสาคัญต่อการบริหารราชการ
ของส่วนราชการ ดังนั้นในการจัดทาคาของบประมาณจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ผู้จัดทาต้องมีข้อมูล
พื้นฐานต่างๆ หลักเกณฑ์การขอตั้งงบประมาณ ราคามาตรฐานครุภัณฑ์ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น
เพื่ อ ให้ ก ารจั ด ท าค าของบประมาณประจ าปี เป็ น ไปในท านองเดี ย วกั น จึ ง ได้ ด าเนิ น การรวบรวม
หลักเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาคาของบประมาณ เพื่อ เป็นการอานวยความสะดวกและเป็น
แนวทางของเจ้าหน้าที่จัดทางบประมาณ นาไปใช้ประโยชน์ตอ่ ไป

มานัส ปานมน
สารบัญ
หน้า
1 หลักการจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ 1
2 อัตราค่าใช้จ่ายในการขอตัง้ งบประมาณประจาปี งบดาเนิน 30
3 หลักเกณฑ์การขอตัง้ งบประมาณรายจ่ายค่าซ่อมแซมบารุงรักษายานพาหนะ 33
4 เกณฑ์ประกอบการพิจารณาตัง้ งบประมาณค่าจ้างเหมาบริการทาความสะอาด 34
อาคารสถานที่ของทางราชการ
5 เกณฑ์ประกอบการพิจารณาตัง้ งบประมาณค่าเช่าเครื่องถ่ายเอกสาร 35
6 อัตราค่าใช้จ่ายในการขอตัง้ งบประมาณประจาปี ค่าวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลืน่ 36
7 อัตราค่าใช้จ่ายในการขอตัง้ งบประมาณประจาปี ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม 38
ประชุม และสัมมนา
8 หลักเกณฑ์ แนวทาง และขอบเขตการพิจารณางบประมาณรายการโฆษณา 40
ประชาสัมพันธ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2554
9 หลักเกณฑ์การปรับลด คณะอนุกรรมาธิการฝึกอบรมฯ ประจาปีงบประมาณ 54
พ.ศ. 2554
10 ราคามาตรฐานครุภัณฑ์ ปี 2554 56
11 เกณฑ์ราคากลางและคุณลักษณะพื้นฐานครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 68
ประจาปีงบประมาณ 2554
12 อัตราราคางานต่อหน่วย (งานดาเนินการเอง) 90
หลักการจาแนกประเภทรายจ่าย
ตามงบประมาณ
(ฉบับปรับปรุง)

รายจ่ายตามงบประมาณจาแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่


1. รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
2. รายจ่ายงบกลาง
1. รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ หมายถึง รายจ่ายซึ่งกาหนดไว้สาหรับ
แต่ละส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจโดยเฉพาะ จาแนกออกเป็น 5 ประเภทงบรายจ่าย ได้แก่
1.1 งบบุคลากร
1.2 งบดาเนินงาน
1.3 งบลงทุน
1.4 งบเงินอุดหนุน
1.5 งบรายจ่ายอื่น
1.1 งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จา่ ยเพื่อการบริหารงานบุคคล
ภาครัฐ ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะเงินเดือน ค่าจ้างประจา ค่าจ้างชั่วคราว และค่าตอบแทน
พนักงานราชการรวมถึงรายจ่ายที่กาหนดให้จา่ ยจากงบรายจ่ายอื่นใดในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว
1.1.1 เงินเดือน หมายถึง เงินที่จ่ายให้แก่ขา้ ราชการและพนักงานของรัฐทุก
ประเภทเป็นรายเดือน รวมถึงเงินที่กระทรวงการคลังกาหนดให้จา่ ยในลักษณะเงินเดือน และเงินเพิ่ม
อื่นที่จ่ายควบกับเงินเดือน เช่น
(1) เงินประจาตาแหน่งและเงินเพิ่มของประธานรัฐสภา ประธาน
วุฒิสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร
(2) เงินประจาตาแหน่งและเงินเพิ่มของรองประธานวุฒิสภา รอง
ประธานสภาผู้แทนราษฎร และผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร
(3) เงินประจาตาแหน่งและเงินเพิ่มของสมาชิกวุฒิสภา และสมาชิก
สภาผูแ้ ทนราษฎร
(4) เงินประจาตาแหน่งและเงินเพิ่มของประธานศาลรัฐธรรมนูญ
และตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
(5) เงินประจาตาแหน่งขององคมนตรีและรัฐบุรุษ
2

(6) เงินประจาตาแหน่งของข้าราชการ
(7) เงินเพิ่มสาหรับตาแหน่งข้าราชการการเมือง
(8) เงินเพิ่มค่าวิชา (พ.ค.ว.)
(9) เงินเพิ่มพิเศษค่าภาษามลายู (พ.ภ.ม.)
(10) เงินเพิ่มพิเศษสาหรับผู้ซึ่งดารงตาแหน่งครูช่างอาชีวศึกษา
ตามโครงการเงินกู้เพื่อพัฒนาอาชีวศึกษา (พ.ค.ช)
(11) เงินเพิ่มพิเศษสาหรับการสู้รบ (พ.ส.ร.)
(12) เงินเพิ่มประจาตาแหน่งที่ตอ้ งฝ่าอันตรายเป็นปกติ
(13) เงินเพิ่มพิเศษผูท้ าหน้าที่ปกครองโรงเรียนตารวจ (พ.ร.ต)
(14) เงินเพิ่มพิเศษสาหรับข้าราชการซึ่งมีตาแหน่งหน้าที่ประจา
อยู่ในต่างประเทศ (พ.ข.ต.)
(15) เงินสวัสดิการสาหรับการปฏิบัติงานประจาสานักงานในพืน้ ที่
พิเศษ
(16) เงินค่าตอบแทนเป็นรายเดือนของข้าราชการ
(17) เงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของข้าราชการ
1.1.2 ค่าจ้างประจา หมายถึง เงินที่จ่ายเป็นค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างประจาของส่วน
ราชการ รวมถึงเงินที่กระทรวงการคลังกาหนดให้จา่ ยในลักษณะค่าจ้างประจา และเงินเพิ่มอื่นที่จ่าย
ควบกับค่าจ้างประจา เช่น
(1) เงินเพิ่มพิเศษสาหรับการสู้รบ (พ.ส.ร.)
(2) เงินสวัสดิการสาหรับการปฏิบัติงานประจาสานักงานในพืน้ ที่พเิ ศษ
(3) เงินค่าตอบแทนเป็นรายเดือนของลูกจ้างประจา
(4) เงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของลูกจ้างประจา
1.1.3 ค่าจ้างชั่วคราว หมายถึง เงินที่จ่ายเป็นค่าจ้างสาหรับการทางานปกติ
แก่ลูกจ้างชั่วคราวของส่วนราชการ รวมถึงเงินเพิ่มอื่นที่จา่ ยควบกับค่าจ้างชั่วคราว
1.1.4 ค่าตอบแทนพนักงานราชการ หมายถึง เงินที่จ่ายเป็นค่าตอบแทน
การปฏิ บัติงานให้แ ก่ พ นัก งานราชการตามอั ตราที่คณะกรรมการบริหารพนัก งานราชการก าหนด
รวมถึงเงินที่กาหนดให้จ่ายในลั กษณะค่าตอบแทนพนัก งานราชการ และเงินเพิ่มอื่น ที่จ่ายควบกั บ
ค่าตอบแทนพนักงานราชการ เช่น เงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของพนักงานราชการ

1.2 งบดาเนินงาน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จา่ ยเพื่อการบริหารงานประจา


ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลั กษณะค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูป โภค รวมถึง
รายจ่ายที่กาหนดให้จา่ ยจากงบรายจ่ายอื่นใดในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว
1.2.1 ค่าตอบแทน หมายถึง เงินที่จ่ายตอบแทนให้แก่ผู้ที่ปฏิบัติงานให้ทาง
ราชการตามที่กระทรวงการคลังกาหนด เช่น
(1) เงินค่าเช่าบ้านข้าราชการ
(2) เงิ นตอบแทนตาแหน่ง และเงิ นอื่ นๆ ให้แ ก่ ก านัน ผู้ ใ หญ่บ้ า น
แพทย์ป ระจาตาบล สารวั ตรก านัน ผู้ช่วยผู้ใ หญ่บ้านฝ่ายรัก ษาความสงบ ผู้ช่วยผู้ใ หญ่บ้านฝ่าย
ปกครอง อาทิ เงินช่วยเหลือเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร เงินช่วยเหลือในการทาศพ
(3) ค่าตอบแทนกานัน ผู้ใหญ่บ้าน และสมาชิกอาสารักษาดินแดน
ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเลือกตั้ง
(4) ค่ า ตอบแทนกรรมการตรวจคะแนน กรรมการส ารอง และ
เสมียนคะแนนในการเลือกตั้ง
(5) ค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจ้างและควบคุมงานก่อสร้าง
ที่มคี าสั่งแต่งตัง้ จากทางราชการ
(6) ค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติงานด้านการรักษาความเจ็บป่วยนอกเวลา
ราชการและในวันหยุดราชการ
(7) เงินรางวัลกานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล สารวัตรกานัน
และผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บ้าน
(8) เงินประจาตาแหน่งผูบ้ ริหารในมหาวิทยาลัย
(9) เงินสมนาคุณกรรมการสอบสวนวินัยข้าราชการ
(10) เงินสมนาคุณวิทยากรในการฝึกอบรมของส่วนราชการ
(11) เงินสมนาคุณอาจารย์สาขาวิชาที่ขาดแคลนในสถาบันอุดมศึกษา
ของรัฐ
(12) เงินค่าฝ่าอันตรายเป็นครั้งคราว
(13) เงินค่าที่พักผูเ้ ชี่ยวชาญชาวต่างประเทศ
(14) เงินพิเศษที่จ่ายให้แก่ลูกจ้างของสานักราชการในต่างประเทศ
ตามประเพณีท้องถิ่น
(15) เงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ

(16) เงินค่าสอนพิเศษและค่าสอนเกินภาระงานสอนในสถานศึกษา
และสถาบันอุดมศึกษา
(17) เงินค่าตอบแทนการสอบ
(18) ค่าพาหนะเหมาจ่าย
(19) ค่าเบีย้ ประชุมกรรมการ
(20) ค่ารักษาพยาบาลข้าราชการซึ่งมีตาแหน่งหน้าที่ป ระจาอยู่ใ น
ต่างประเทศ
(21) เงินช่วยเหลือการศึกษาบุตรของข้าราชการซึ่งมีตาแหน่งหน้าที
ประจาอยู่ในต่างประเทศ
(22) เงินตอบแทนพิเศษของข้าราชการผู้ได้รับเงินเดือนถึงขั้นสูงของ
อันดับ
(๒๓) เงินตอบแทนพิเศษของลูกจ้างประจาผูไ้ ด้รับค่าจ้างขัน้ สูงของ
ตาแหน่ง
(๒๔) เงินตอบแทนเหมาจ่ายแทนการจัดหารถประจาตาแหน่ง
(๒๕) เงินตอบแทนพิเศษรายเดือนสาหรับผูป้ ฏิบัติงานในเขตพืน้ ที่
พิเศษ
1.2.2 ค่าใช้สอย หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ยกเว้นบริการ
สาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม) รายจ่ายที่เกี่ยวกับการรับรองและพิธีการ และรายจ่ายที่
เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายอื่น ๆ
รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ เช่น
(1) ค่าปักเสาพาดสายภายนอกสถานที่ราชการเพื่อให้ราชการได้ใช้
บริการไฟฟ้า รวมถึงค่าติดตัง้ หม้อแปลง เครื่องวัด และอุปกรณ์ไฟฟ้าซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของการไฟฟ้า
(2) ค่ า จ้ า งเหมาเดิ น สายไฟฟ้ า และติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า เพิ่ ม เติ ม
รวมถึงการซ่อมแซม บารุงรักษาหรือปรับปรุงระบบไฟฟ้า การเพิ่มกาลังไฟฟ้า การขยายเขตไฟฟ้า
(3) ค่าวางท่อประปาภายนอกสถานที่ราชการ เพื่อให้ราชการได้ใช้
บริการน้าประปา รวมถึงค่าติดตัง้ มาตรวัดน้าและอุปกรณ์ประปา ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของการประปา
(4) ค่าจ้า งเหมาเดิน ท่อประปาและติดตั้ งอุป กรณ์ป ระปาเพิ่มเติ ม
รวมถึง การซ่อมแซม บารุงรักษาหรือปรับปรุงระบบประปา
(5) ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งโทรศัพท์พืน้ ฐาน

(6) ค่าเช่าทรัพย์สิน รวมถึงเงินที่ต้องจ่ายพร้อมกับการเช่าทรัพย์สิน


เช่น ค่าเช่ารถยนต์ ค่าเช่าอาคารสิ่งปลูกสร้าง ค่าเช่าที่ดิน ค่าเช่า รับล่วงหน้า ยกเว้นค่าเช่าบ้าน และ
ค่าเช่าตู้ไปรษณีย์
(7) ค่าภาษี เช่น ค่าภาษีโรงเรือน เป็นต้น
(8) ค่าธรรมเนียม ยกเว้น ค่าธรรมเนียมการโอนเงินในระบบบริหาร
การเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)
(9) ค่าเบีย้ ประกัน
(10) ค่าจ้างเหมาบริการ เพื่อให้ผู้รับจ้างทาการอย่างหนึ่งอย่างใด
ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง แต่มิใช่เป็นการประกอบ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุง ครุภัณฑ์
ที่ดนิ และสิ่งก่อสร้าง
(11) ค่าซ่อมแซมบ ารุงรัก ษาทรัพย์สิน เพื่ อให้สามารถใช้งานได้
ตามปกติ
กรณีเป็นการจ้างเหมาทั้งค่าสิ่งของและค่าแรงงาน ให้จา่ ยจากค่า
ใช้สอย ส่วนกรณีที่ส่วนราชการเป็นผู้ดาเนินการซ่อมแซมบารุงรักษาทรัพย์สินเองให้ปฏิบัติ ดังนี้
1. ค่าจ้างเหมาแรงงานของบุคคลภายนอกให้จา่ ยจากค่าใช้สอย
2. ค่ า สิ่ ง ของที่ ส่ ว นราชการซื้ อ มาใช้ ใ นการซ่ อ มแซมบ ารุ ง รั ก ษา
ทรัพย์สินให้จ่ายจากค่าวัสดุ
รายจ่ายเกี่ยวกับการรับรองและพิธีการ เช่น
(1) ค่ารับรอง หมายถึง รายจ่ายในการเลีย้ งรับรองของทางราชการ
(2) ค่ารับรองประเภทเครื่องดื่ม
(3) ค่าใช้จ่ายในพิธีทางศาสนา
รายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายอื่น ๆ เช่น
(1) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ในประเทศ) เช่น ค่าเบี้ยเลี้ยง
ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ เป็นต้น
(2) ค่าเบีย้ เลีย้ งทหาร หรือตารวจ
(3) ค่าเบีย้ เลีย้ งพยาน หรือผูต้ ้องหา
(4) ค่าของขวัญ ของรางวัล หรือเงินรางวัล
(5) ค่าพวงมาลัย ช่อดอกไม้ กระเช้าดอกไม้ หรือพวงมาลา

(6) ค่ า ชดใช้ ค่ า เสี ย หาย ค่ า สิ น ไหมทดแทน กรณี เ กิ ด อุ บั ติ เ หตุ


เนื่องจากการปฏิบัติงานราชการ
(7) เงินรางวัลตารวจคุ้มกันทรัพย์สินของทางราชการ
(8) เงินรางวัลเจ้าหน้าที่
(9) เงินประกันสังคม (ในฐานะนายจ้าง)
(10) ค่าตอบแทนผูเ้ สียหายในคดีอาญา
(11) ค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา
(12) ค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายแก่พยาน
1.2.3 ค่ า วั ส ดุ หมายถึ ง รายจ่ า ยเพื่ อ ให้ ไ ด้ ม าซึ่ ง สิ่ ง ของโดยสภาพมี
ลักษณะเมื่อใช้แล้วย่อมสิ้น เปลือง หมดไป แปรสภาพ หรือไม่คงสภาพเดิม และให้หมายความรวมถึง
รายจ่าย ดังต่อไปนี้
(1) รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของลักษณะคงทนถาวรที่มีราคาต่อหน่วย
หรือต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาท
(2) รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือ
ต่อชุดไม่เกิน 20,000 บาท
(3) รายจ่ า ยเพื่ อ ประกอบขึ้ น ใหม่ ดั ด แปลง ต่ อ เติ ม หรื อ ปรั บ ปรุ ง
ครุภัณฑ์ ที่มวี งเงินไม่เกิน 5,000 บาท
(4) รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้นใหม่ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุง ที่ดิน
และหรือสิ่งก่อสร้างที่มวี งเงินไม่เกิน 50,000 บาท
(5) รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบารุงรักษาทรัพย์สินให้สามารถใช้งานได้
ตามปกติ แต่ไม่รวมถึงค่าจัดหาเครื่องยนต์ใหม่เพื่อใช้ในการซ่อมแซมรถยนต์
รายจ่ายตามวรรคหนึ่ง ให้รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชาระพร้อมกัน เช่น
ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง
1.2.4 ค่า สาธารณูป โภค หมายถึ ง รายจ่า ยค่าบริ ก ารสาธารณูป โภค
สื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชาระพร้อมกัน เช่น ค่าบริการ ค่าภาษี เป็นต้น ตาม
รายการดังนี้
(1) ค่าไฟฟ้า
(2) ค่าประปา ค่าน้าบาดาล
(3) ค่าบริการโทรศัพท์ เช่น ค่าโทรศัพท์พืน้ ฐาน
ค่าโทรศัพท์เคลื่อนที่

(4) ค่าบริการไปรษณีย์ เช่น ค่าไปรษณีย์ ค่าธนาณัติ ค่าดวงตรา


ไปรษณียากร ค่าเช่าตู้ไปรษณีย์ ค่าธรรมเนียมการโอนเงินในระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบ
อิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)
(5) ค่าบริการสื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จ่ายเพื่อให้ได้มา
ซึ่งบริการสื่อสารและโทรคมนาคม เช่น ค่าโทรภาพ (โทรสาร) ค่าเทเลกซ์ ค่าวิทยุติดตามตัว ค่าวิทยุ
สื่อสาร ค่าสื่อสารผ่านดาวเทียม ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้ระบบอินเทอร์เน็ต รวมถึงอินเทอร์เ น็ตการ์ด
และค่าสื่อสารอื่น ๆ เช่น ค่าเคเบิล้ ทีวี ค่าเช่าช่องสัญญาณดาวเทียม เป็นต้น
1.3 งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่
จ่ายในลักษณะค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รวมถึงรายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอื่น
ใด ในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว
1.3.1 ค่าครุภัณฑ์ หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งของโดยสภาพมี
ลัก ษณะคงทนถาวรที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 5,000 บาท และให้หมายความรวมถึง
รายจ่าย ดังต่อไปนี้
(1) รายจ่ายเพื่อประกอบขึน้ ใหม่ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุง
ครุภัณฑ์ที่มวี งเงินเกินกว่า 5,000 บาท
(2) รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือ
ต่อชุดเกินกว่า 20,000 บาท
(3) รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบ ารุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์ขนาด
ใหญ่ เช่น เครื่องบิน เครื่องจักรกลยานพาหนะ ซึ่งไม่รวมถึงค่าซ่อมบารุงปกติหรือค่าซ่อมกลาง
(4) รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาในการจัดหาหรือปรับปรุงครุภัณฑ์
รายจ่ายตามวรรคหนึ่ง ให้รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชาระพร้อมกัน เช่น
ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง
1.3.2 ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดินและ
หรือสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งต่าง ๆ ที่ตดิ ตรึงกับที่ดนิ และหรือสิ่งก่อสร้าง โดยมีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใด
ดังต่อไปนี้
(1) รายจ่ายเพื่อจัดหาที่ดนิ
(2) รายจ่ายเพือ่ ปรับปรุงที่ดินให้มมี ูลค่าเพิ่มขึน้ และมีวงเงินเกินกว่า
50,000 บาท

(3) รายจ่ ายเพื่ อประกอบขึ้ น ใหม่ ดั ดแปลง ต่ อ เติม หรื อ ปรั บ ปรุ ง
สิ่งก่อสร้างให้มีมูลค่าเพิ่มขึน้ และมีวงเงินเกินกว่า 50,000 บาท
(4) รายจ่ายเพื่อติดตั้งระบบไฟฟ้าหรือระบบประปา รวมถึงอุปกรณ์
ต่าง ๆ ซึ่งเป็นการติดตั้งครั้งแรกในอาคาร ทั้งที่เป็นการดาเนินการพร้อมกันหรือภายหลังการก่อสร้าง
อาคารรวมถึงการติดตั้งครั้งแรกในสถานที่ราชการ
(5) รายจ่ายเพื่อจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงานที่จ่ายให้แก่เอกชน
หรือนิตบิ ุคคล
(6) รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาในการจัดหาหรือปรับปรุงที่ดินและหรือ
สิ่งก่อสร้าง
(7) รายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง เช่น ค่าเวนคืน
ที่ดนิ ค่าชดเชยกรรมสิทธิ์ที่ดนิ ค่าชดเชยผลอาสิน
1.4 งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเป็ นค่าบารุงหรือเพื่อ
ช่วยเหลือสนับสนุนการดาเนินงานหน่วยงานขององค์กรตามรัฐธรรมนูญหรือหน่วยงานของรัฐ ซึ่งมิใช่
ราชการส่ ว นกลางตามพระราชบัญ ญั ติร ะเบีย บบริหารราชการแผ่นดิ น หน่วยงานในก ากั บ ของรั ฐ
องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สภาตาบล องค์การระหว่างประเทศ นิติ
บุคคล เอกชนหรือกิจการอันเป็นสาธารณประโยชน์ รวมถึงเงินอุดหนุนงบพระมหากษัตริย์ เงินอุดหนุน
การศาสนา และรายจ่ายที่สานักงบประมาณกาหนดให้ใช้จา่ ยในงบรายจ่ายนี้
งบเงินอุดหนุนมี 2 ประเภท ได้แก่
(1) เงินอุดหนุนทั่วไป หมายถึง เงินที่กาหนดให้จ่ายตามวัตถุประสงค์ของ
รายการ เช่น ค่าบารุงสมาชิกองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก ค่าบารุงสมาชิ กสหภาพวิทยุกระจายเสียง
แห่งเอเชีย เงินอุดหนุนเพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติด เงินอุดหนุนเพื่อบูรณะท้องถิ่น เป็นต้น
(2) เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ หมายถึง เงินที่กาหนดให้จ่ายตามวัตถุประสงค์
ของรายการและตามรายละเอี ย ดที่ สานั ก งบประมาณก าหนด เช่ น รายการค่ า ครุ ภั ณ ฑ์ หรื อ ค่ า
สิ่งก่อสร้าง เป็นต้น
รายจ่ายงบเงินอุดหนุนรายการใดจะเป็นรายจ่ายประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป หรือ
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ให้เป็นไปตามที่สานักงบประมาณกาหนด

หน่วยงานขององค์กรตามรัฐธรรมนูญซึ่งมิใช่ราชการส่วนกลางตาม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน เช่น
(1) สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
(2) สานักงานผูต้ รวจการแผ่นดิน
หน่วยงานในกากับของรัฐ เช่น
(1) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
(2) มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย
(3) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(4) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
(5) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
(6) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
(7) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
องค์การมหาชน เช่น
(1) สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(2) สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน
(3) สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ
(4) ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
(5) สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา
องค์การระหว่างประเทศ เช่น
(1) องค์การการค้าโลก
(2) องค์การพลังงานโลก
(3) องค์การสหประชาชาติ
(4) สถาบันทางสื่อสารมวลชนแห่งเอเชีย
(5) สมาคมไหมโลก
(6) สถาบันสถิติระหว่างประเทศ
(7) กองทุนประชากรแห่งประชาชาติ
(8) องค์การอนามัยโลก
(9) กรรมการกาชาดระหว่างประเทศ
(10) สมาคมมหาวิทยาลัยระหว่างชาติ
๑๐

(11) สมาคมระหว่างประเทศต่าง ๆ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น
(1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด
(2) เทศบาล
(3) องค์การบริหารส่วนตาบล
(4) กรุงเทพมหานคร
(5) เมืองพัทยา
นิติบุคคล เอกชน หรือกิจการอันเป็นสาธารณประโยชน์ เช่น
(1) นักเรียน นิสติ นักศึกษา
(2) คณะกรรมการโอลิมปิก
(3) สภาลูกเสือแห่งชาติ
(4) โครงการวิจัย
(5) สันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย
(6) สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย
(7) สภากาชาดไทย
(8) สภาทนายความ
(9) เนติบัณฑิตยสภา
(10) สมาคม หรือมูลนิธิตา่ งๆ
เงินอุดหนุนงบพระมหากษัตริย์ เช่น
(1) ค่าใช้จ่ายในพระองค์
(2) ค่าใช้จ่ายในพระราชฐานที่ประทับ
(3) เงินพระราชกุศล
(4) เงินค่าข้าวพระแก้วและเครื่องสังเวยพระสยามเทวาธิราช
(5) เงินปีพระบรมวงศานุวงศ์
(6) เงินเบี้ยหวัดข้าราชการฝ่ายใน
เงินอุดหนุนการศาสนา เช่น
(1) ค่าใบเบิกของรถไฟของสังฆาธิการ
(2) เงินอุดหนุนบูรณะวัด
(3) เงินอุดหนุนการศึกษาปริยัตธิ รรม
๑๑

(4) เงินอุดหนุนการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยของคณะสงฆ์
(5) เงินอุดหนุนคณะกรรมการกลางอิสลาม
(6) เงินอุดหนุนฐานะจุฬาราชมนตรี
(7) เงินอุดหนุนมิซซังต่างๆ
(8) เงินอุดหนุนกิจกรรมของศาสนาอื่น
(9) เงินอุดหนุนบูรณะศาสนสถานของศาสนาอื่น
(10) เงินอุดหนุนยุวพุทธิกสมาคม
(11) เงินอุดหนุนพุทธสมาคม
(12) เงินนิตยภัต
(13) เงินพระกฐิน
(14) เงินบูชากัณฑ์เทศน์
รายจ่ายที่สานักงบประมาณกาหนดให้ใช้จ่ายในงบเงินอุดหนุน เช่น
(1) ค่าฌาปนกิจ
(2) ค่าสินบน
(3) ค่ารางวัลนาจับ
1.5 งบรายจ่ายอื่น หมายถึง รายจ่ายที่ไ ม่เ ข้าลัก ษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบ
รายจ่ายหนึ่ง หรือรายจ่ายที่สานักงบประมาณกาหนดให้ใช้จา่ ยในงบรายจ่ายนี้ เช่น
(1) เงินราชการลับ
(2) เงินค่าปรับที่จ่ายคืนให้แก่ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง
(3) ค่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษา วิจัย ประเมินผล หรือพัฒนาระบบต่างๆ ซึ่ง
มิใช่เพื่อการจัดหา หรือปรับปรุงครุภัณฑ์ ที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง
(4) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว
(5) ค่าใช้จ่ายสาหรับหน่วยงานขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ (ส่วนราชการ)
(6) รายจ่ายเพื่อชาระหนี้เงินกู้
(7) ค่าใช้จ่ายสาหรับกองทุน หรือเงินทุนหมุนเวียน
2. รายจ่ายงบกลาง
รายจ่ายงบกลาง หมายถึง รายจ่ายที่ตงั้ ไว้เพื่อจัดสรรให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ
โดยทั่วไปใช้จ่าย ตามรายการดังต่อไปนี้
๑๒

(1) “เงินเบี้ยหวัดบาเหน็จบานาญ” หมายความว่า รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อจ่ายเป็นเงิน


บาเหน็จบานาญข้าราชการ เงินบาเหน็จลูกจ้างประจา เงินทาขวัญข้าราชการและลูกจ้าง เงินทดแทน
ข้า ราชการวิส ามัญ เงิน ค่า ทดแทนสาหรั บ ผู้ ที่ไ ด้ รับ อัน ตรายในการรัก ษาความมั่ นคงของประเทศ
เงินช่วยพิเศษข้าราชการบานาญเสียชีวิต เงินสงเคราะห์ผู้ประสบภัยเนื่องจากการช่วยเหลือราชการ
การปฏิบัติงานของชาติหรือการปฏิบัติตามหน้าที่มนุษยธรรม และเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัด
บานาญ
(2) “เงินช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ ” หมายความว่า รายจ่าย
ที่ตั้งไว้เพื่อจ่ายเป็นเงินสวัสดิการช่วยเหลือในด้านต่างๆ ให้แก่ข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ
ได้แก่ เงินช่วยเหลือการศึกษาของบุตร เงินช่วยเหลือบุตร และเงินพิเศษในกรณีตายในระหว่างรับ
ราชการ
(3) “เงินเลื่อนเงินเดือนและเงินปรับวุฒิข้าราชการ” หมายความว่า รายจ่ายที่ตั้งไว้
เพื่อจ่ายเป็นเงินเลื่อนเงินเดือนข้าราชการประจาปี เงินเลื่อนเงินเดือนข้าราชการที่ได้รับเลื่อนระดับและ
หรือแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่งระหว่างปี และเงินปรับวุฒิขา้ ราชการ
(4) “เงินสารองเงินสมทบและเงินชดเชยของข้าราชการ” หมายความว่า ร่ายจ่ายที่ตั้ง
ไว้ เพื่อจ่ายเงินเป็นเงินสารอง เงินสมทบ และเงินชดเชยที่รัฐบาลนาส่งเข้ากองทุนบาเหน็จบ านาญ
ข้าราชการ
(5) “เงินสมทบของลูกจ้างประจา” หมายความว่า รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อจ่ายเป็นเงิน
สมทบที่รัฐบาลนาส่งเข้ากองทุนสารองเลีย้ งชีพลูกจ้างประจา
(6) “ค่าใช้จ่ายเกี่ ย วกั บการเสด็จพระราชดาเนินและต้อนรับ ประมุขต่างประเทศ”
หมายความว่า รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสนับสนุนพระราชภารกิจในการเสด็จพระราชดาเนิน
ภายในประเทศและหรือต่างประเทศ และค่าใช้จ่ายในการต้อนรับประมุขต่างประเทศที่มาเยือนประเทศไทย
(7) “เงินสารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น” หมายความว่า รายจ่ายที่ตั้งสารองไว้
เพื่อจัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น
(8) “ค่าใช้จ่ายตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ” หมายความว่า รายจ่าย
ที่ตงั้ ไว้ เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
(9) “ค่ าใช้จ่า ยในการรัก ษาพยาบาลข้า ราชการ ลูก จ้า งและพนัก งานของรัฐ ”
หมายความว่ า รายจ่ า ยที่ ตั้ ง ไว้ เ ป็ น ค่ า ใช้ จ่ า ยในการช่ ว ยเหลื อ ค่ า รั ก ษาพยาบาลข้ า ราชการ
ลูกจ้างประจาและพนักงานของรัฐ
๑๓

อนึง่ นอกจากรายจ่ายรายการต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นซึ่งเป็นรายการหลักแล้ว


พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปียังอาจตั้งรายจ่ายรายการอื่นๆ ไว้ในรายจ่ายงบกลาง
ตามความเหมาะสมในแต่ละปี

---------------

สานักกฎหมายและระเบียบ
สานักงบประมาณ
มกราคม 2553
ตารางเปรียบเทียบ
การปรับปรุงหลักการจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ

หลักการจาแนกฯ ฉบับปัจจุบนั หลักการจาแนกฯ ฉบับปรับปรุงใหม่ เหตุผล


1.1 งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จา่ ยเพื่อการ 1.1 งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จา่ ยเพื่อการ - ถ้อยคาคงเดิม
บริหารงานบุคคลภาครัฐ ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะเงินเดือน ค่าจ้าง บริหารงานบุคคลภาครัฐ ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะเงินเดือน
ประจา ค่าจ้างชั่วคราว และ... ค่าจ้างประจา ค่าจ้างชั่วคราว และ…
1.1.1 เงินเดือน หมายถึง เงินที่จ่ายให้แก่ข้าราชการและพนักงาน 1.1.1 เงินเดือน หมายถึง เงินที่จ่ายให้แก่ขา้ ราชการและ - ตัดความ “โดยมีอัตราตามที่
ของรัฐทุกประเภทเป็นรายเดือน โดยมีอัตราตามที่กาหนด พนักงานของรัฐทุกประเภทเป็นรายเดือน รวมถึงเงินที่กระทรวงการคลัง กาหนดไว้ในบัญชีถือจ่ายเงินเดือน
ไว้ในบัญชีถือจ่ายเงินเดือนประจาปี รวมถึงเงินที่กระทรวงการคลังกาหนดให้ กาหนดให้จ่ายในลักษณะเงินเดือน และเงินเพิ่มอื่นที่จ่ายควบกับเงินเดือน ประจาปี” ออกเนื่องจากปัจจุบนั
จ่ายในลักษณะเงินเดือนและเงินเพิ่มอื่นที่จ่ายควบกับ เช่น ไม่ใช้ “บัญชีถือจ่ายเงินเดือน” แล้ว
เงินเดือน เช่น
(15) เงินเบีย้ กันดาร (บ.ก.) (15) เงินสวัสดิการสาหรับการปฏิบัตงิ านประจาสานักงาน - ปรับถ้อยคาตัวอย่างอันดับ (15)
ในพืน้ ที่พิเศษ และ (17) เดิม เพื่อให้สอดคล้องกับ
(16) เงินค่าตอบแทนรายเดือน… (16) เงินค่าตอบแทนรายเดือน… ระเบียบกระทรวงการคลัง
(17) เงินช่วยเหลือการครองชีพข้าราชการระดับต้น (17) เงินเเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของข้าราชการ

1.1.2 ค่าจ้างประจา หมายถึง เงินที่จ่ายเป็นค่าจ้างให้แก่ 1.1.2 ค่าจ้างประจา หมายถึง เงินที่จ่ายเป็นค่าจ้าง - ตัดความ “โดยมีอัตราตามที่
ลูกจ้างประจาของส่วนราชการ โดยมีอัตราตามที่กาหนดไว้ใน ให้แก่ลูกจ้างประจาของส่วนราชการ รวมถึงเงินที่กระทรวงการคลัง กาหนดไว้ในบัญชีถือจ่ายค่าจ้าง
บัญชีถือจ่ายค่าจ้างประจา รวมถึงเงินที่กระทรวงการคลังกาหนดให้ กาหนดให้จ่ายในลักษณะค่าจ้างประจา และเงินเพิ่มอื่นที่จ่าย ประจา” ออก เนื่องจากปัจจุบัน
จ่ายในลักษณะค่าจ้างประจา และเงินเพิ่มอื่นที่จ่ายควบกับค่าจ้างประจา ควบกับค่าจ้างประจา เช่น ไม่ใช้” บัญชีถือจ่ายค่าจ้างประจา”
เช่น แล้ว

14
หลักการจาแนกฯ ฉบับปัจจุบนั หลักการจาแนกฯ ฉบับปรับปรุงใหม่ เหตุผล
(2) เงินเบีย้ กันดาร (บ.ก) (2) เงินสวัสดิการสาหรับการปฏิบัตงิ านประจาสานักงาน - ปรับถ้อยคาตัวอย่างอันดับ (2)
ในพืน้ ที่พิเศษ และ (4) เดิม เพื่อให้สอดคลอ้ง
(3) เงินค่าตอบแทนรายเดือน... (3) เงินค่าตอบแทนรายเดือน... กับระเบียบกระทรวงการคลัง
(4) เงินช่วยเหลือการครองชีพพิเศษ (4) เงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของลูกจ้างประจา

1.1.4 ค่าตอบแทนพนักงานราชการ หมายถึง เงินที่จ่ายเป็น 1.1.4 ค่าตอบแทนพนักงานราชการ หมายถึง เงินที่จ่ายเป็น - ปรับปรุงถ้อยคาให้ได้ความ


ค่าตอบแทนการปฏิบัตงิ านให้แก่พนักงานราชการ ตามอัตราทีก่ าหนด ค่าตอบแทนการปฏิบัตงิ านให้แก่พนักงานราชการ ตามอัตราที่ ชัดเจนยิ่งขึน้ พร้อมปรับปรุง
ในประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ รวมถึงเงินที่กาหนด คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการกาหนด รวมถึงเงินที่กาหนด ตัวอย่างให้สอดคล้องตาม
ให้จ่ายในลักษณะดังกล่าว และเงินเพิ่มอื่นที่จ่ายควบกับ ให้จ่ายในลักษณะค่าตอบแทนพนักงานราชการ และเงินเพิ่มอื่นที่ ระเบียบกระทรวงการคลัง
ค่าตอบแทนพนักงานราชการ เช่น เงินช่วยเหลือการครองชีพพิเศษ จ่ายควบกับค่าตอบแทนพนักงานราชการ เช่น เงินเพิ่มการครองชีพ
เป็นต้น ชั่วคราวของพนักงานราชการ

1.2 งบดาเนินงาน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพื่อ 1.2 งบดาเนินงาน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพื่อ - ถ้อยคาคงเดิม


การบริหารงานประจา ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะค่าตอบแทน... การบริหารงานประจา ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะค่าตอบแทน...
1.2.1 ค่าตอบแทน หมายถึง เงินที่จ่ายตอบแทนให้แก่ 1.2.1 ค่าตอบแทน หมายถึง เงินที่จ่ายตอบแทนให้แก่ - ถ้อยคาคงเดิม
ผู้ที่ปฏิบัตงิ านให้ทางราชการตามที่กระทรวงการคลังกาหนด เช่น ผู้ทีป่ ฏิบัตงิ านให้ทางราชการตามที่กระทรวงการคลังกาหนด เช่น
(15) ค่าจ้างนอกเวลา ค่าอาหารทาการนอกเวลา (15) เงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ - ปรับปรุงถ้อยคาตัวอย่างอันดับ

15
หลักการจาแนกฯ ฉบับปัจจุบนั หลักการจาแนกฯ ฉบับปรับปรุงใหม่ เหตุผล
(16) เงินค่าสอนพิเศษในสถานศึกษาของทางราชการ (16) เงินค่าสอนพิเศษและค่าสอนเกินภาระงานสอนใน (15) (16) และ (17) เดิม เพื่อ
สถานศึกษาและสถาบันอุดมศึกษา ให้สอดคล้องตามระเบียบ
(17) เงินรางวัลกรรมการสอบ (17) เงินตอบแทนการสอบ กระทรวงการคลัง

1.2.2 ค่าใช้สอย หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ... 1.2.2 ค่าใช้สอย หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ - ถ้อยคาคงเดิม


รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ เช่น รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ เช่น - ถ้อยคาคงเดิม
(8) ค่าธรรมเนียม ยกเว้น ค่าธรรมเนียมการโอนเงิน (8) ค่าธรรมเนียม ยกเว้น ค่าธรรมเนียมการโอนเงิน - ปรับถ้อยคาตัวอย่างอันดับ (8)
ผ่านธนาคาร ในระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ให้สอดคล้องตามหนังสือเวียน
กระทรวงการคลัง

1.2.3 ค่าวัสดุ หมายถึง รายจ่ายดังต่อไปนี้ 1.2.3 ค่าวัสดุ หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งของโดยสภาพมี - ปรับปรุงคานิยามให้


(1) รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของซึ่งโดยสภาพเมื่อใช้แล้ว ลักษณะเมื่อใช้แล้วย่อมสิ้นเปลือง หมดไป แปรสภาพ หรือไม่คงสภาพเดิม เหมาะสมและชัดเจนยิ่งขึน้
ย่อมสิน้ เปลืองหมดไป แปรสภาพ หรือไม่คงสภาพเดิม หรือสิ่งของที่มี และให้หมายความรวมถึงรายจ่าย ดังต่อไปนี้ โดยคงหลักการเดิม
ลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาท (1) รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของลักษณะคงทนถาวรที่มีราคา
รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชาระพร้อมกัน เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาท
ค่าประกันภัย ค่าติดตัง้ เป็นต้น
(2) รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคา (2) รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคา
ต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 20,000 บาท ต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 20,000 บาท

16
หลักการจาแนกฯ ฉบับปัจจุบนั หลักการจาแนกฯ ฉบับปรับปรุงใหม่ เหตุผล
(3) รายจ่ายเพื่อประกอบดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุง (3) รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้นใหม่ ดัดแปลง ต่อเติมหรือ
ครุภัณฑ์ ที่มีวงเงินไม่เกิน 5,000 บาท ที่ดนิ และหรือสิ่งก่อสร้าง ปรับปรุง ครุภัณฑ์ที่มีวงเงินไม่เกิน 5,000 บาท
ที่มีวงเงินไม่เกิน 50,000 บาท
(4) รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุง (4) รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้นใหม่ ดัดแปลง ต่อเติมหรือ
ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ที่มีวงเงินไม่เกิน 5,000 บาท ปรับปรุง ที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้างที่มวี งเงินไม่เกิน 50,000 บาท
(5) รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบารุงรักษาทรัพย์สนิ เพื่อให้สามารถ (5) รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบารุงรักษาทรัพย์สนิ ให้สามารถใช้
ใช้งานได้ตามปกติ งานได้ตามปกติ แต่ไม่รวมถึงค่าจัดหาเครื่องยนต์ใหม่
เพื่อใช้ในการซ่อมแซมรถยนต์
รายจ่ายตามวรรคหนึ่ง ให้รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชาระพร้อม
กัน เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตัง้
1.2.4 ค่าสาธารณูปโภค หมายถึง รายจ่ายค่าบริการ 1.2.4 ค่าสาธารณูปโภค หมายถึง รายจ่ายค่าบริการ - ถ้อยคาคงเดิม
สาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จา่ ยที่ต้องชาระพร้อม สาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จา่ ยที่ต้องชาระพร้อม
กัน เช่น ค่าบริการ ค่าภาษี เป็นต้น ตามรายการดังนี้ กัน เช่น ค่าบริการ ค่าภาษี เป็นต้น ตามรายการดังนี้
(3) ค่าบริการโทรศัพท์ เช่น ค่าโทรศัพท์พนื้ ฐาน ค่า (3) ค่าบริการโทรศัพท์ เช่น ค่าโทรศัพท์พนื้ ฐาน - ตัดตัวอย่าง “บัตรโทรศัพท์ บัตร
โทรศัพท์เคลื่อนที่ รวมถึงบัตรโทรศัพท์ บัตรเติมเงินโทรศัพท์ ค่าโทรศัพท์เคลื่อนที่ เติมเงินโทรศัพท์” ออก เนื่องจาก
ไม่มรี ะเบียบรองรับ
ให้ใช้จ่าย

17
หลักการจาแนกฯ ฉบับปัจจุบนั หลักการจาแนกฯ ฉบับปรับปรุงใหม่ เหตุผล
(4) ค่าบริการไปรษณียโ์ ทรเลข เช่น ค่าไปรษณีย์ ค่าโทรเลข (4) ค่าบริการไปรษณีย์ เช่น ค่าไปรษณีย์ ค่าธนาณัติ - ปรับรายการให้ถูกต้องตาม
ค่าธนาณัติ ค่าดวงตราไปรษณียากร ค่าเช่าตู้ไปรษณีย์ ค่าธรรมเนียมการ ค่าดวงตราไปรษณียากร ค่าเช่าตูไ้ ปรษณีย์ ค่าธรรมเนียมการโอนเงินใน ข้อเท็จจริง และปรับถ้อยคาของ
โอนเงินผ่านธนาคาร เป็นต้น ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ตัวอย่างค่าธรรมเนียมฯ ให้
สอดคล้องตามหนังสือเวียน
กระทรวงการคลัง

1.3 งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ 1.3 งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ - ถ้อยคาคงเดิม
รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดนิ และสิ่งก่อสร้าง รวมถึง รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดนิ และสิ่งก่อสร้าง รวมถึง
รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอื่นใดในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอื่นใดในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว
1.3.1 ค่าครุภัณฑ์ หมายถึง รายจ่ายดังต่อไปนี้ 1.3.1 ค่าครุภัณฑ์ หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึง่ สิ่งของ โดย - ปรับปรุงคานิยามให้
(1) รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร สภาพมีลักษณะคงทนถาวรที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุด เหมาะสมและชัดเจนยิ่งขึน้
และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 5,000 บาท รวมถึงค่าใช้จ่าย เกินกว่า 5,000 บาท และให้หมายความรวมถึงรายจ่าย ดังต่อไปนี้ โดยคงหลักการเดิม
ที่ต้องชาระพร้อมกัน เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตัง้ (1) รายจ่ายเพื่อประกอบขึน้ ใหม่ ดัดแปลง ต่อเติมหรือ
เป็นต้น ปรับปรุง ครุภัณฑ์ที่มีวงเงินเกินกว่า 5,000 บาท
(2) รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคา (2) รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อ
ต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 20,000 บาท หน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 20,000 บาท

18
หลักการจาแนกฯ ฉบับปัจจุบนั หลักการจาแนกฯ ฉบับปรับปรุงใหม่ เหตุผล
(3) รายจ่ายเพื่อประกอบดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุง (3) รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบารุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์
ครุภัณฑ์ รวมทั้งครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ที่มีวงเงินเกินกว่า 5,000 บาท ขนาดใหญ่ เช่น เครื่องบิน เครื่องจักรกลยานพาหนะ
ซึ่งไม่รวมถึงค่าซ่อมบารุงปกติหรือค่าซ่อมกลาง
(4) รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบารุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์ (4) รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาในการจัดหาหรือปรับปรุง
ขนาดใหญ่ เช่น เครื่องบิน เครื่องจักรกลยานพาหนะ เป็นต้น ซึ่งไม่รวมถึง ครุภัณฑ์
ค่าซ่อมบารุงปกติหรือค่าซ่อมกลาง รายจ่ายตามวรรคหนึ่ง ให้รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชาระพร้อม
(5) รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาเพื่อการจัดหาหรือปรับปรุง กัน เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตัง้
ครุภัณฑ์

1.3.2 ค่าทีด่ ินและสิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มา 1.3.2 ค่าทีด่ ินและสิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ - ปรับปรุงคานิยามให้เหมาะสม
ซึ่งที่ดนิ และหรือสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งต่างๆ ซึ่งติดตรึงกับที่ดนิ ได้มาซึ่งที่ดนิ และหรือสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งต่าง ๆ ที่ติดตรึงกับที่ดนิ และชัดเจนยิ่งขึน้ โดยคงหลักการ
และหรือสิ่งก่อสร้าง เช่น อาคาร บ้านพัก สนามเด็กเล่น สนามกีฬา สนามบิน และหรือสิ่งก่อสร้าง โดยมีลกั ษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ เดิม
สระว่ายน้า สะพาน ถนน รั้ว บ่อน้า อ่างเก็บน้า เขื่อน
เป็นต้น รวมถึงรายจ่ายดังต่อไปนี้
(1) ค่าติดตัง้ ระบบไฟฟ้า หรือระบบประปา รวมถึง (1) รายจ่ายเพื่อจัดหาที่ดนิ
อุปกรณ์ตา่ งๆ ซึ่งเป็นการติดตั้งครั้งแรกในอาคารหรือสถานที่ราชการ (2) รายจ่ายเพื่อปรับปรุงที่ดนิ ให้มมี ูลค่าเพิ่มขึ้นและมีวงเงิน
ทั้งที่เป็นการดาเนินการพร้อมการก่อสร้างอาคารหรือภายหลัง เกินกว่า 50,000 บาท
การก่อสร้างอาคาร

19
หลักการจาแนกฯ ฉบับปัจจุบนั หลักการจาแนกฯ ฉบับปรับปรุงใหม่ เหตุผล
(2) รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือ ปรับปรุงที่ดนิ (3) รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้นใหม่ ดัดแปลง ต่อเติมหรือ
และหรือสิ่งก่อสร้าง รวมถึงรายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งก่อสร้างหรือสิ่งต่างๆ ปรับปรุงสิ่งก่อสร้างให้มีมูลค่าเพิ่มขึน้ และมีวงเงินเกินกว่า 50,000 บาท
ซึ่งติดตรึงกับที่ดนิ และหรือสิ่งก่อสร้าง เช่น ค่าจัดหาสิ่งก่อสร้างใหม่ซึ่งไม่ (4) รายจ่ายเพื่อติดตั้งระบบไฟฟ้าหรือระบบประปา รวมถึง
รวมถึงค่าจัดหาที่ดนิ รายจ่ายเพื่อดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงที่ดนิ และ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ซึ่งเป็นการติดตัง้ ครัง้ แรกในอาคาร ทัง้ ที่เป็นการดาเนินการ
หรือสิ่งก่อสร้างให้มมี ูลค่าเพิ่มขึน้ เช่น ค่าจัดสวน พร้อมกันหรือภายหลังการก่อสร้างอาคาร รวมถึงการติดตัง้ ครัง้ แรกใน
ค่าถมดิน ค่าปรับปรุงอาคาร เป็น สถานที่ราชการ
รายจ่ายที่มีวงเงินค่าใช้จ่ายในแต่ละรายการเกินกว่า 50,000
บาท ให้ใช้จา่ ยในงบลงทุน ลักษณะค่าที่ดนิ และสิ่งก่อสร้าง แต่หากมีวงเงิน
ค่าใช้จ่ายในแต่ละรายการไม่เกิน 50,000 บาท ให้ใช้จ่ายในงบดาเนินงาน
ลักษณะค่าวัสดุ
(3) รายจ่ายเพื่อจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงานที่จา่ ยให้แก่ (5) รายจ่ายเพื่อจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงานที่จา่ ยให้แก่
เอกชน หรือนิตบิ ุคคล เอกชนหรือนิตบิ ุคคล
(4) รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาเพื่อการจัดหา หรือปรับปรุงที่ดนิ (6) รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาในการจัดหาหรือปรับปรุงที่ดนิ
และหรือสิ่งก่อสร้าง และหรือสิ่งก่อสร้าง
(5) รายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับที่ดนิ และหรือสิ่งก่อสร้าง เช่น ค่า (7) รายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับที่ดนิ และหรือสิ่งก่อสร้าง เช่น ค่า
เวนคืนที่ดนิ ค่าชดเชยกรรมสิทธิ์ที่ดนิ ค่าชดเชยผลอาสิน เป็นต้น เวนคืนที่ดนิ ค่าชดเชยกรรมสิทธิ์ที่ดนิ ค่าชดเชยผลอาสิน

20
หลักการจาแนกฯ ฉบับปัจจุบนั หลักการจาแนกฯ ฉบับปรับปรุงใหม่ เหตุผล
1.4 งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จา่ ยเป็นค่าบารุงหรือ 1.4 งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเป็นค่าบารุงหรือ - ปรับถ้อยคา “หน่วยงาน”
เพื่อช่วยเหลือ สนับสนุนการดาเนินงานของหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ เพื่อช่วยเหลือ สนับสนุนการดาเนินงานหน่วยงานขององค์กร องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
หรือหน่วยงานของรัฐซึ่งมิใช่ราชการส่วนกลางตามพระราชบัญญัตริ ะเบียบ ตามรัฐธรรมนูญหรือหน่วยงานของรัฐ ซึ่งมิใช่ราชการส่วนกลาง ให้สอดคล้องตามรัฐธรรมนูญ
บริหารราชการแผ่นดิน หน่วยงานใน ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน หน่วยงานใน
กากับของรัฐ ... กากับของรัฐ ...

หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญซึ่งมีใช่ราชการส่วนกลางตาม หน่วยงานขององค์กรตามรัฐธรรมนูญซึ่งมิใช่ราชการ - ปรับถ้อยคาให้สอดคล้องตาม


พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน เช่น ส่วนกลางตามพระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน เช่น รัฐธรรมนูญ
(1) สานักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ (1) สานักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้ - ถ้อยคาคงเดิม
(2) สานักงานผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา (2) สานักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน - ปรับถ้อยคาให้สอดคล้องตาม
รัฐธรรมนูญ
หน่วยงานในกากับของรัฐ เช่น หน่วยงานในกากับของรัฐ เช่น - ถ้อยคาคงเดิม
(3) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (3) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - ถ้อยคาและอันดับคงเดิม
(4) โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (4) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี - ตัดตัวอย่างอันดับ (4) เดิม
(5) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (5) ................... “โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์”
(6) ................... ออก เนื่องจากเป็นองค์การมหาชน
ที่จัดตัง้ ขึน้ โดยตรา
เป็นพระราชกฤษฎีกาตาม
พระราชบัญญัติ

21
หลักการจาแนกฯ ฉบับปัจจุบนั หลักการจาแนกฯ ฉบับปรับปรุงใหม่ เหตุผล
องค์การมหาชน พ.ศ. 2542
จึงต้องขยับอันดับ (5) เดิม เป็น
อันดับ (4) ตามลาดับ
1.5 งบรายจ่ายอื่น หมายถึง รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภท 1.5 งบรายจ่ายอื่น หมายถึง รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภท - ถ้อยคาคงเดิม
งบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึ่ง หรือรายจ่ายที่สานักงบประมาณกาหนดให้ใช้ งบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึ่ง หรือรายจ่ายที่สานักงบประมาณกาหนดให้
จ่ายในงบรายจ่ายนี้ เช่น ใช้จ่ายในงบรายจ่ายนี้ เช่น
(3) ค่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษา วิจัย ประเมินผล หรือ (3) ค่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษา วิจัย ประเมินผล หรือ - ถ้อยคาคงเดิม
พัฒนาระบบต่างๆ ซึ่งมิใช่เพื่อการจัดหา หรือปรับปรุงครุภัณฑ์ พัฒนาระบบต่างๆ ซึ่งมิใช่เพื่อการจัดหา หรือปรับปรุงครุภัณฑ์
ที่ดนิ และหรือสิ่งก่อสร้าง ที่ดนิ และหรือสิ่งก่อสร้าง
(4) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว (4) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว - ถ้อยคาคงเดิม
(5) ค่าใช้จ่ายสาหรับหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ (5) ค่าใช้จ่ายสาหรับหน่วยงานขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ - ปรับถ้อยคาให้สอดคล้อง
(ส่วนราชการ) (ส่วนราชการ) ตามรัฐธรรมนูญ

22
หลักการจาแนกฯ ฉบับปัจจุบนั หลักการจาแนกฯ ฉบับปรับปรุงใหม่ เหตุผล
2. รายจ่ายงบกลาง 2. รายจ่ายงบกลาง
รายจ่ายงบกลาง หมายถึง รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อจัดสรรให้สว่ นราชการ รายจ่ายงบกลาง หมายถึง รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อจัดสรรให้สว่ นราชการ - ถ้อยคาคงเดิม
และรัฐวิสาหกิจ โดยทั่วไปใช้จ่าย ตามรายการดังต่อไปนี้ และรัฐวิสาหกิจ โดยทั่วไปใช้จ่าย ตามรายการดังต่อไปนี้
(3) “เงินเลื่อนขั้นเลื่อนอันดับเงินเดือนและเงินปรับวุฒขิ ้าราชการ” (3) “เงินเลื่อนเงินเดือนและเงินปรับวุฒขิ ้าราชการ” หมายความว่า - ปรับปรุงรายการ (3) เดิมให้
หมายความว่า รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อจ่ายเป็นเงินเลื่อนขั้นเลื่อนอันดับเงินเดือน รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อจ่ายเป็นเงินเลื่อนเงินเดือนข้าราชการประจาปี เงินเลื่อน สอดคล้องตามพระราชบัญญัติ
ข้าราชการประจาปี เงินเลื่อนขั้นเลื่อนอันดับเงินเดือนข้าราชการที่ได้รับเลื่อน เงินเดือนข้าราชการที่ได้รับเลื่อนระดับและหรือแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่ง ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.
ระดับและหรือแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่งระหว่างปี และเงินปรับวุฒขิ ้าราชการ ระหว่างปี และเงินปรับวุฒขิ ้าราชการ 2551
(4) “เงินสารองเงินสมทบและเงินชดเชยของข้าราชการ” หมายความว่า (4) “เงินสารองเงินสมทบและเงินชดเชยของข้าราชการ” หมายความ - ถ้อยคาคงเดิม
... ว่า ...
(5) “เงินสมทบของลูกจ้างประจา” หมายความว่า ... (5) “เงินสมทบของลูกจ้างประจา” หมายความว่า ... - ถ้อยคาคงเดิม
(6) “ค่าใช้จา่ ยเกี่ยวกับการเสด็จพระราชดาเนินและต้อนรับประมุข (6) “ค่าใช้จา่ ยเกี่ยวกับการเสด็จพระราชดาเนินและต้อนรับประมุข - ถ้อยคาคงเดิม
ต่างประเทศ” หมายความว่า ... ต่างประเทศ” หมายความว่า ...
(7) “เงินสารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น” หมายความว่า ... (7) “เงินสารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น” หมายความว่า .. - ถ้อยคาคงเดิม
(8) “ค่าใช้จา่ ยในการดาเนินการรักษาความมั่นคงของประเทศ” (8) “ค่าใช้จา่ ยตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ” หมายความ - ตัดรายการ (8) และ (9) เดิม ให้
หมายความว่า รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อเป็นค่าใช้จา่ ยในการดาเนินงาน ว่า.... สอดคล้องตามรัฐธรรมนูญแห่ง
รักษาความมั่นคงของประเทศ (9) “ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้างและพนักงาน ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
ของรัฐ” หมายความว่า.... (มาตรา 167 วรรคสอง) ซึ่ง

23
หลักการจาแนกฯ ฉบับปัจจุบนั หลักการจาแนกฯ ฉบับปรับปรุงใหม่ เหตุผล
(9) “เงินราชการลับในการรักษาความมั่นคงของประเทศ” หมายความว่า ปัจจุบันได้ตั้งงบประมาณไว้ที่
รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อเบิกจ่ายเป็นเงินราชการลับในการดาเนินงานเพื่อรักษา กอ.รมน. สานักนายกรัฐมนตรีตาม
ความมั่งคงของประเทศ พระราชบัญญัตงิ บประมาณ
(10) “ค่าใช้จ่ายตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ” หมายความ รายจ่ายประจาปี จึงต้องขยับ
ว่า ... รายการ (10) และ (11) เดิม เป็น
(11) “ค่าใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้างและพนักงาน รายการ (8) และ (9) ถ้อยคาคงเดิม
ของรัฐ” หมายความว่า ...
อนึ่ง นอกจากรายจ่ายรายการต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นซึ่งเป็นรายการหลัก อนึ่ง นอกจากรายจ่ายรายการต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นซึ่งเป็นรายการ ปรับปรุงข้อความในวรรคสอง
แล้ว พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปียังอาจตัง้ รายจ่ายรายการ หลักแล้ว พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปียังอาจตัง้ รายจ่าย ให้สอดคล้องกับบทบัญญัตขิ อง
อื่นๆ ไว้ในรายจ่ายงบกลางตามความเหมาะสมในแต่ละปี รายการอื่นๆ ไว้ในรายจ่ายงบกลางตามความเหมาะสม รัฐธรรมนูญ
เช่น ค่าใช้จ่ายการปรับเงินค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐ ค่าใช้จา่ ยในการชาระ ในแต่ละปี
หนี้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ค่าใช้จา่ ยเพื่อการเสริมสร้างศักยภาพการ
แข่งขัน และการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ และค่าใช้จ่าย การพัฒนาจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ เป็นต้น

24
๒๕

สาระสาคัญการปรับปรุงหลักการจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ

1. งบดาเนินงาน
- ปรับปรุงคานิยามค่าวัสดุ ให้เหมาะสมและชัดเจนยิ่งขึ้น โดยคงหลักการเดิม เป็นดังนี้
“ค่าวัสดุ หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งของโดยสภาพมีลักษณะเมื่อใช้แล้วย่อม
สิน้ เปลือง หมดไป แปรสภาพ หรือไม่คงสภาพเดิม และให้หมายความรวมถึงรายจ่าย ดังต่อไปนี้
(1) รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของลักษณะคงทนถาวรที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน
5,000 บาท
(2) รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เ กิน
20,000 บาท
(3) รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้นใหม่ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุ ง ครุภัณฑ์ที่มีวงเงิน
ไม่เกิน 5,000 บาท
(4) รายจ่ า ยเพื่ อ ประกอบขึ้ น ใหม่ ดั ด แปลง ต่ อ เติ ม หรื อ ปรั บ ปรุ ง ที่ ดิ น และหรื อ
สิ่งก่อสร้างที่มวี งเงินไม่เกิน 50,000 บาท
(5) รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบารุงรักษาทรัพย์สินให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ แต่ไม่
รวมถึงค่าจัดหาเครือ่ งยนต์ใหม่เพื่อใช้ในการซ่อมแซมรถยนต์
รายจ่ายตามวรรคหนึ่ง ให้รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชาระพร้อมกัน เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี
ค่าประกันภัย ค่าติดตัง้ ”
2. งบลงทุน
2.1 ปรับปรุงคานิยายค่าครุภัณฑ์ ให้เหมาะสมและชัดเจนยิ่งขึ้น โดยคงหลักการเดิม
เป็นดังนี้
“ค่าครุภัณฑ์ หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งของโดยสภาพมีลักษณะคงทนถาวร
ที่มรี าคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 5,000 บาท และให้หมายความรวมถึงรายจ่าย ดังต่อไปนี้
(1) รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้นใหม่ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุง ครุภัณฑ์ที่มีวงเงิน
เกินกว่า 5,000 บาท
(2) รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า
20,000 บาท
(3) รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบารุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่องบิน
เครื่องจักรกลยานพาหนะ ซึ่งไม่รวมถึงค่าซ่อมบารุงปกติหรือค่าซ่อมกลาง
๒๖

(4) รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาในการจัดหาหรือปรับปรุงครุภัณฑ์
รายจ่ายตามวรรคหนึ่ง ให้รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชาระพร้อมกัน เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี
ค่าประกันภัย ค่าติดตัง้ ”
2.2 ปรับปรุงคานิยามค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ให้เหมาะสมและชัดเจนยิ่งขึ้น โดยคง
หลักการเดิม เป็นดังนี้
“ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง
รวมถึงสิ่งต่างๆ ที่ติดตรึงกับที่ดนิ และหรือสิ่งก่อสร้าง โดยมีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(1) รายจ่ายเพื่อจัดหาที่ดนิ
(2) รายจ่ายเพื่อปรับปรุงที่ดินให้มีมูลค่าเพิ่มขึน้ และมีวงเงินเกินกว่า 50,000 บาท
(3) รายจ่ายเพื่อประกอบขึ้นใหม่ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับ ปรุงสิ่งก่อสร้าง ให้ มี
มูลค่าเพิ่มขึน้ และมีวงเงินเกินกว่า 50,000 บาท
(4) รายจ่ายเพื่อติดตั้งระบบไฟฟ้าหรือระบบประปา รวมถึงอุป กรณ์ต่างๆ ซึ่งเป็น
การติดตั้งครั้งแรกในอาคาร ทั้งที่เป็นการดาเนินการพร้อมกันหรือภายหลังการก่อสร้างอาคาร
รวมถึงการติดตัง้ ครัง้ แรกในสถานที่ราชการ
(5) รายจ่ายเพื่อจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงานที่จ่ายให้แก่เอกชนหรือนิตบิ ุคคล
(6) รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาในการจัดหาหรือปรับปรุงที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง
(7) รายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง เช่น ค่าเวนคืนที่ดิน ค่าชดเชย-
กรรมสิทธิ์ที่ดิน ค่าชดเชยผลอาสิน”
3. ปรับปรุงรายการรายจ่ายงบกลาง ให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (มาตรา 167 วรรคสอง) ซึ่งปัจจุบันได้ตั้งงบประมาณรายจ่าย
รายการ “ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการรักษาความมั่นคงของประเทศ” และรายการ “เงินราชการลับใน
การรักษาความมั่นคงของประเทศ” ไว้ที่กองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.
รมน.) ส านักนายกรัฐ มนตรี ตามพระราชบัญญั ติงบประมาณรายจ่ายประจาปี จึงตัดรายการ (8)
“ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการรักษาความมั่นคงของประเทศ” และ (9) “เงินราชการลับในการรักษา
ความมั่นคงของประเทศ” เดิม
4. ปรับถ้อยคาในงบรายจ่ายต่างๆ และรายจ่ายงบกลาง ให้สอดคล้องกับกฎหมายและ
ระเบียบที่ได้ปรับปรุง ดังนี้
๒๗

4.1 งบบุคลากร
1) ปรับปรุงคานิยามเงินเดือน เป็น “เงินเดือน หมายถึง เงินที่จ่ายให้แก่ข้าราชการ
และพนักงานของรัฐทุกประเภทเป็นรายเดือน รวมถึงเงินที่กระทรวงการคลังกาหนดให้จ่ายในลักษณะ
เงินเดือน และเงินเพิ่มอื่นที่จ่ายควบกับเงินเดือน เช่น...........................
(15) เงินสวัสดิการสาหรับการปฏิบัติงานประจาสานักงานในพื้นที่พิเศษ
(16) เงินค่าตอบแทน ........................
(17) เงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของข้าราชการ”
2) ปรับปรุงคานิยามค่าจ้างประจา เป็น “ค่าจ้างประจา หมายถึง เงินที่จ่ายเป็น
ค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างประจาของส่วนราชการ รวมถึงเงินที่กระทรวงการคลังกาหนดให้จ่ายในลักษณะ
ค่าจ้างประจา และเงินเพิ่มอื่นที่จ่ายควบกับค่าจ้างประจา เช่น ...................
(2) เงินสวัสดิการสาหรับการปฏิบัติงานประจาสานักงานในพื้นที่พิเศษ
(3) เงินค่าตอบแทน ........................
(4) เงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของลูกจ้างประจา”
3) ปรั บ ปรุ ง ค านิ ย ามค่ า ตอบแทนพนัก งานราชการ เป็ น “ค่ า ตอบแทนพนัก งาน
ราชการ หมายถึ ง เงิ น ที่ จ่ า ยเป็ น ค่ า ตอบแทนการปฏิ บั ติ ง านให้ แ ก่ พ นั ก งานราชการตามอั ต ราที่
คณะกรรมการบริหารพนัก งานราชการกาหนด รวมถึงเงินที่กาหนดให้จ่ายในลักษณะค่าตอบแทน
พนักงานราชการและเงินเพิ่มอื่นที่จ่ายควบกับค่าตอบแทนพนักงานราชการ เช่น เงินเพิ่มการครองชีพ
ชั่วคราวของพนักงานราชการ”
4.2 งบดาเนินงาน
1) ค่าตอบแทน
(15) ค่าจ้างนอกเวลา ค่าอาหารทาการนอกเวลา ปรับปรุงเป็น “(15) เงินตอบ
แทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ”
(16) ค่าสอนพิเศษในสถานศึกษาของทางราชการ ปรับปรุงเป็น “(16) เงินค่าสอน
พิเศษและค่าสอนเกินภาระงานสอนในสถานศึกษาและสถาบันอุดมศึกษา”
(17) เงินรางวัลกรรมการสอบ ปรับปรุงเป็น “(17) เงินค่าตอบแทนการสอบ”
2) ค่าใช้สอย รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ เช่น ..............................
(8) ค่าธรรมเนียม ยกเว้น ค่าธรรมเนียมการโอนเงินผ่านธนาคาร ปรับปรุงเป็น
“(8) ค่าธรรมเนียม ยกเว้น ค่าธรรมเนีย มการโอนเงินในระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐ แบบ
อิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)”
๒๘

3) ค่าสาธารณูปโภค
(3) ค่าโทรศัพท์ เช่น ......... ปรับปรุงเป็น “(3) ค่าบริการโทรศัพท์ เช่น ค่าโทรศัพท์
พืน้ ฐาน ค่าโทรศัพท์เคลื่อนที่”
(4) ค่าบริการไปรษณีย์โทรเลข เช่น ......... ปรับปรุงเป็น “(4) ค่าบริการไปรษณีย์
เช่น ค่าไปรษณีย์ ค่าธนาณัติ ค่าดวงตราไปรษณีย์ ค่าเช่าตู้ไปรษณีย์ ค่าธรรมเนียมการโอนเงินในระบบ
บริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)”
4.3 งบเงินอุดหนุน
1) ปรับปรุงคานิยามงบเงินอุดหนุน เป็น “รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเป็นค่าบารุงหรือ
เพื่อช่ว ยเหลือสนับสนุนการด าเนินงานหน่วยงานขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรือหน่ว ยงานของรัฐ
ซึ่งมิใช่ราชการส่วนกลางตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน หน่วยงานในกากับของรัฐ
......................”
2) หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญซึ่งมิใช่ราชการส่วนกลางตามพระราชบัญญัติ
ระเบี ยบบริ หารราชการแผ่ นดิ น ปรั บปรุ งเป็ น “หน่ วยงานขององค์ กรตามรั ฐธรรมนู ญซึ่ งมิ ใช่
ราชการส่วนกลางตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน”
3) ส านั ก งานตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ของรั ฐ สภา ปรั บ ปรุ ง เป็ น “ส านั ก งานผู้ ต รวจการ
แผ่นดิน”
4) ตัดตัวอย่างอันดับ (4) “โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์” ออก
4.4 งบรายจ่ายอื่น
(5) ค่าใช้จ่ายสาหรับหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ (ส่วนราชการ) ปรับปรุงเป็น
“(5) ค่าใช้จ่ายสาหรับหน่วยงานขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ (ส่วนราชการ)”
4.5 รายจ่ายงบกลาง
1) ปรั บ ปรุ ง รายการ (3) “เงิ น เลื่ อ นขั้ น เลื่ อ นอั น ดั บ เงิ น เดื อ นและเงิ น ปรั บ วุ ฒิ
ข้าราชการ” หมายความว่า..... เป็น (3) “เงินเลื่อนเงินเดือนและเงินปรับวุฒิข้าราชการ” หมายความว่า
รายจ่ายที่ตงั้ ไว้เพื่อจ่ายเป็นเงินเลื่อนเงินเดือนข้าราชการประจาปี เงินเลื่อนเงินเดือนข้าราชการที่ได้รับ
เลื่อนระดับและหรือแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่งระหว่างปี และเงินปรับปรุงวุฒขิ ้าราชการ
2) ปรับปรุงข้อความในวรรคสองของรายจ่ายงบกลางให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (มาตรา 167 วรรคสอง) ดังนี้
จากข้อความเดิม “อนึ่ง นอกจากรายจ่ายรายการต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นซึ่งเป็น
รายการหลักแล้ว พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปียังอาจตั้งรายจ่ายรายการอื่นๆ ไว้ใน
รายจ่ายงบกลางตามความเหมาะสมในแต่ละปี เช่น ค่าใช้จ่ายการปรับเงินค่าตอบแทน บุคลากรภาครัฐ
๒๙

ค่าใช้จ่ายในการชาระหนี้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง ค่าใช้จ่ายเพื่อ การเสริมสร้างศักยภาพการ


แข่งขันและการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ และค่าใช้จ่าย การพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นต้น”
เป็นข้อความใหม่ “อนึ่ง นอกจากรายจ่ายรายการต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นซึ่งเป็น
รายการหลักแล้ว พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปียังอาจตั้งรายจ่ายรายการอื่นๆ ไว้ใน
รายจ่ายงบกลางตามความเหมาะสมในแต่ละปี”

________________________
๓๐
อัตราค่าใช้จ่ายในการขอตั้งงบประมาณประจาปี
งบดาเนินงาน

1. ค่าตอบแทน (บาท:ชัว่ โมง) รายละเอียดค่าใช้จ่าย


ค่าอาหารทาการนอกเวลา
- วันธรรมดา ชั่วโมงละ 50 ตามระเบียบเบิกได้ไม่เกิน
วันละ 4 ชั่วโมง
- วันหยุดราชการ ชั่วโมงละ 60 ตามระเบียบเบิกได้ไม่เกิน
วันละ 7 ชั่วโมง

2. ค่าใช้สอย
2.1 ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พกั และค่าพาหนะ
1) ค่าเบี้ยเลี้ยง (บาท:วัน)
- ประเภททั่วไป ระดับอาวุโส ลงมา 240
- ประเภทวิชาการ ระดับชานาญการพิเศษ ลงมา 240
- ประเภทอ
ประเภท
านวยการต้
ข น หรือ ตาแหน่งระดับ 240
8 ลงมา หรือตาแหน่งที่เทียบเท่า
- ประเภททั
ประเภท
่วไป ระดั
ก บทักษะพิเศษ 270
- ประเภทวิ
ประเภท
ชาการข ระดับเชี่ยวชาญ ขึ้นไป 270
- ประเภทอ
- ระดับานวยการสู
9 ขึ้นไป ง 270
- ประเภทบริ
ประเภท หารกหรือตาแหน่งระดับ 9 ขึ้นไป 270
หรือตาแหน่งที่เทียบเท่า

2) ค่าเช่าที่พกั ห้องพักคนเดียว ห้องพักคู่


(บาท:วัน:คน) (บาท:วัน:คน)
2.1) กรณีเบิกในลักษณะจ่ายจริง
- ประเภททั่วไป ระดับอาวุโส ลงมา 1,500 850
- ประเภทวิชาการ ระดับชานาญการพิเศษ ลงมา 1,500 850
- ประเภทอานวยการต้น หรือ ตาแหน่งระดับ 8 ลงมา 1,500 850
หรือตาแหน่งที่เทียบเท่า
๓๑

2) ค่าเช่าที่พกั ห้องพักคนเดียว ห้องพักคู่


(บาท:วัน:คน) (บาท:วัน:คน)
- ประเภททั่วไป ระดับทักษะพิเศษ 2,200 1,200
- ประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ 2,200 1,200
- ประเภทอานวยการสูง 2,200 1,200
- ประเภทบริหารระดับต้น หรือตาแหน่งระดับ 9 2,200 1,200
หรือตาแหน่งที่เทียบเท่า
- ประเภทวิชาการ ระดับทรงคุณวุฒิ 2,500 1,400
- ประเภทบริหารระดับสูง หรือตาแหน่งระดับ 10 2,500 1,400
ขึ้นไป หรือตาแหน่งที่เทียบเท่า

2.2) กรณีเบิกในลักษณะเหมาจ่าย อัตรา


(บาท:วัน:คน)
- ประเภททั่วไป ระดับอาวุโส ลงมา 800
- ประเภทวิชาการ ระดับชานาญการพิเศษ ลงมา 800
- ประเภทอานวยการต้น หรือ ตาแหน่งระดับ 800
8 ลงมา หรือตาแหน่งที่เทียบเท่า

- ประเภททั่วไป ระดับทักษะพิเศษ 1,200


- ประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ ขึ้นไป 1,200
- ประเภทอานวยการสูง 1,200
- ประเภทบริหาร หรือตาแหน่งระดับ 9 ขึ้นไป 1,200
หรือตาแหน่งที่เทียบเท่า
3) ค่าพาหนะ
ประมาณการตามค่าใช้จ่ายจริงตามความเหมาะสม

2.2 ค่าซ่อมแซมครุภัณฑ์ ค่าใช้จ่าย


(บาท: เครื่อง)
- วิทยุ VHF/FM กาลังส่ง 5 วัตต์ 2,200
- วิทยุ VHF/FM กาลังส่ง 25 วัตต์ 2,200
- วิทยุ SSB 2,200
- วิทยุ VHF/FM ชนิดติดตัง้ ประจาที่ 3,300
๓๒

2.3 ค่าซ่อมแซมสิ่งก่อสร้าง ค่าใช้จ่าย รายละเอียดค่าใช้จ่าย


(บาท: หลัง)
- ค่าซ่อมแซมสิง่ ก่อสร้าง 11,000 คิดอัตราเฉลีย่ ต่อหลัง

3. ค่าวัสดุ
3.1 วัสดุคอมพิวเตอร์ ค่าใช้จ่าย รายละเอียดค่าใช้จ่าย
(บาท: เครื่อง)
- ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ 22,000 - ราคาเฉลีย่ ต่อเครื่องคอมพิวเตอร์
1 เครื่อง
๓๓
หลักเกณฑ์การขอตั้งงบประมาณรายจ่าย
ค่าซ่อมแซม บารุงรักษายานพาหนะ

หน่วย: บาท:คัน:ปี
ประเภทยานพาหนะ ค่าซ่อมบารุงปกติ ค่าซ่อมกลาง
ค่าวัสดุและค่าแรงงาน ค่าวัสดุและค่าแรงงาน
๑. รถยนต์นั่งธรรมดา
- เครื่องยนต์เบนซิน ๗,๐๐๐ ๕๓,๐๐๐
- เครื่องยนต์ดีเซล ๘,๒๐๐ ๔๙,๔๐๐
๒. รถไมโครบัส
- เครื่องยนต์เบนซิน ๘,๗๐๐ ๕๙,๗๐๐
- เครื่องยนต์ดีเซล ๘,๖๐๐ ๕๙,๘๐๐
๓. รถบรรทุก
ขนาดไม่เกิน ๑ ตัน
- เครื่องยนต์เบนซิน ๙,๓๐๐ ๗๓,๔๐๐
- เครื่องยนต์ดีเซล ๙,๐๐๐ ๖๒,๙๐๐
๔. รถขับเคลื่อน ๔ ล้อ
- เครื่องยนต์เบนซิน ๑๒,๖๐๐ ๘๑,๗๐๐
- เครื่องยนต์ดีเซล ๑๒,๗๐๐ ๘๓,๒๐๐
๕. รถจักรยานยนต์
- เครื่องยนต์เบนซิน ๕,๗๐๐ -

หมายเหตุ: ๑. ค่าซ่อมบารุงปกติ หมายถึง ค่าซ่อมบารุงยานพาหนะที่ส่วนราชการจัดซือ้ ใหม่ และยังใช้งาน


ไม่เกิน ๖๐,๐๐๐ กิโลเมตร (๓-๖ ปี) หรือยานพาหนะเดิมที่มีการซ่อมกลางไปแล้ว และนามา
ใช้งานอีกไม่เกิน ๖๐,๐๐๐ กิโลเมตร
๒. ค่าซ่อมกลาง หมายถึง การซ่อมบารุงยานพาหนะที่มีอายุการใช้งาน ๖๐,๐๐๐ กิโลเมตรขึ้นไป
๓๔

เกณฑ์ประกอบการพิจารณาตั้งงบประมาณรายจ่าย
รายการค่าจ้างเหมาบริการทาความสะอาด อาคารสถานที่ของราชการ

รายการ ราคาจ้างเหมาบริการ

1. พื้นที่ทาการตัง้ แต่ 10,000 ตารางเมตร ขึ้นไป ไม่เกิน 6.50 บาท/ตารางเมตร/เดือน


2. พื้นที่ทาการน้อยกว่า 10,000 ตารางเมตร ไม่เกิน 7.15 บาท/ตารางเมตร/เดือน
๓๕
เกณฑ์ประกอบการพิจารณาตั้งงบประมาณค่าเช่าเครื่องถ่ายเอกสาร

ลาดับ รายการ บาท/เดือน หมายเหตุ


1 เครื่องถ่ายเอกสารแบบไม่มีการถ่ายย่อ-ขยาย
- ปริมาณการถ่ายขั้นต่า 1,000 แผ่น/เดือน 1,500 มากกว่า 1,000 แผ่น
ค่าบริการเพิ่มแผ่นละ
0.50 บาท
- ปริมาณการถ่ายขั้นต่า 3,000 แผ่น/เดือน 2,750 มากกว่า 3,000 แผ่น
ค่าบริการเพิ่มแผ่นละ
0.50 บาท
2 เครื่องถ่ายเอกสารแบบมีการถ่ายย่อเอกสาร
- ปริมาณการถ่ายขั้นต่า 1,000 แผ่น/เดือน 1,800 มากกว่า 1,000 แผ่น
ค่าบริการเพิ่มแผ่นละ
0.50 บาท
- ปริมาณการถ่ายขั้นต่า 3,000 แผ่น/เดือน 2,850 มากกว่า 3,000 แผ่น
ค่าบริการเพิ่มแผ่นละ
0.50 บาท
3 เครื่องถ่ายเอกสารแบบมีการถ่ายย่อ-ขยาย
- ปริมาณการถ่ายขั้นต่า 3,000 แผ่น/เดือน 3,800 มากกว่า 3,000 แผ่น
ค่าบริการเพิ่มแผ่นละ
0.50 บาท
- ปริมาณการถ่ายขั้นต่า 10,000 แผ่น/เดือน 8,500 มากกว่า 10,000 แผ่น
ค่าบริการเพิ่มแผ่นละ
0.50 บาท
- ปริมาณการถ่ายขั้นต่า 15,000 แผ่น/เดือน 11,250 มากกว่า 15,000 แผ่น
ค่าบริการเพิ่มแผ่นละ
0.50 บาท
- ปริมาณการถ่ายขั้นต่า 20,000 แผ่น/เดือน 13,500 มากกว่า 20,000 แผ่น
ค่าบริการเพิ่มแผ่นละ
0.50 บาท
๓๖
อัตราค่าใช้จ่ายในการขอตั้งงบประมาณประจาปี
ค่าวัสดุเชือ้ เพลิงและหล่อลื่น

รายการ บาท/ปี บาท/กม.


1. รถยนต์นั่งธรรมดา รถบรรทุกขนาดไม่เกิน 1 ตัน และ
รถขับเคลื่อน 4 ล้อ
- เครื่องยนต์เบนซิน ค่าออกเทน 91 39,300 3.93
- เครื่องยนต์ดีเซล 39,700 3.97
- แก๊สโซฮอล์ออกเทน 95 35,800 3.58
- ดีเซล-ปาล์ม (ไบโอดีเซล) 39,100 3.91
- ก๊าซธรรมชาติ (NGV) (กิโลกรัม) 9,700 0.97
2. รถไมโครบัส
- เครื่องยนต์เบนซิน ค่าออกเทน 91 42,500 4.25
- เครื่องยนต์ดีเซล 43,000 4.30
- แก๊สโซฮอล์ออกเทน 95 38,700 3.87
- ดีเซล-ปาล์ม (ไบโอดีเซล) 42,200 4.22
- ก๊าซธรรมชาติ (NGV) (กิโลกรัม) 10,400 1.04
3. รถจักรยานยนต์
- เครื่องยนต์เบนซิน ค่าออกเทน 91 10,300 1.72

หมายเหตุ: 1. รถยนต์ใช้ในราชการปกติวิ่งเฉลีย่ 10,000 กม./คัน/ปี ส่วนรถยนต์ที่ใช้ระยะทางน้อยกว่าหรือ


ใช้ราชการสนาม ให้คานวณในราคาเฉลีย่ บาท/กม. ตามแผนการปฏิบัติงานเพื่อให้สอดคล้อง
กับผลผลิต
2. รถจักรยานยนต์วิ่งเฉลีย่ ปีละ 6,000 กม.
งน้อยกว่าหรือ
๓๗

หลักเกณฑ์สานักงบประมาณ

ค่าวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น ส้าหรับยานพานะ ครุภัณฑ์อ่นื ๆ เช่น เครื่องสูบน้า เครื่องก้าเนิด


ไฟฟ้า เครื่องตัดหญ้า เป็นต้น
1. ให้ใช้ราคาน้ามันเบนซินออกเทน 91 ลิตรละ 35.00 บาท
2. ให้ใช้ราคาน้ามันดีเซล ลิตรละ 25.00 บาท
3. การค้านวณอัตราสินเปลืองน้ามันเชือเพลิงของเครื่องจักรกล/ชั่วโมง
ก. เครื่องยนต์เบนซิน = 0.15 * จ้านวนแรงม้าของเครื่องยนต์
หน่วยลิตร/ช.ม.
ข. เครื่องยนต์ดีเซล = 0.22 * 0.70 * จ้านวนแรงม้าของเครื่องยนต์
หน่วยลิตร/ช.ม.
4. การค้านวณค่าน้ามันหล่อลื่น
ก. เครื่องยนต์เบนซิน = 10 % ของค่าใช้จ่ายน้ามันเชือเพลิง
ข. เครื่องยนต์ดีเซล = 15 % ของค่าใช้จ่ายน้ามันเชือเพลิง

ส้านักมาตรฐานงบประมาณ
กุมภาพันธ์ 2553
38

อัตราค่าใช้จ่ายในการขอตั้งงบประมาณประจําปี
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ประชุม และสัมมนา
1. อัตราค่าอาหารในการฝึกอบรมในประเทศ
(บาท: คน: วัน)
ระดับการฝึกอบรม การฝึกอบรมในสถานที่ของทางราชการ การฝึกอบรมในสถานที่ของเอกชน
ครบทุกมื้อ ไม่ครบทุกมื้อ ครบทุกมื้อ ไม่ครบทุกมื้อ
1. การฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกิน 700 ไม่เกิน 500 ไม่เกิน 1,000 ไม่เกิน 700
2. การฝึกอบรมประเภท ข ไม่เกิน 500 ไม่เกิน 300 ไม่เกิน 800 ไม่เกิน 600
และการฝึกอบรมบุคคล
ภายนอก

2. ค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่มสําหรับการจัดประชุม
(บาท: คน: มื้อ)
ระดับการฝึกอบรม/ประชุม ค่าอาหาร ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
การประชุม ไม่เกิน 80 ไม่เกิน 25

3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสําหรับการฝึกอบรม
(บาท: คน: มื้อ)
ระดับการฝึกอบรม/ประชุม การฝึกอบรมในสถานที่ของทางราชการ การฝึกอบรมในสถานที่ของเอกชน
อาหารว่างและ อาหารว่างและ
เครื่องดื่ม เครื่องดื่ม
ฝึกอบรมทุกระดับ ไม่เกิน 25 ไม่เกิน 25

4. อัตราค่าเช่าที่พักในการฝึกอบรมในประเทศ
(บาท: คน: วัน)
ระดับการฝึกอบรม ค่าเช่าห้องพักคนเดียว ค่าเช่าห้องพักคู่
1. การฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกิน 2,000 ไม่เกิน 1,100
2. การฝึกอบรมประเภท ข ไม่เกิน 1,200 ไม่เกิน 750
และการฝึกอบรมบุคคล
ภายนอก
39
5. อัตราค่าสมนาคุณวิทยากร
(บาท: ชั่วโมง)
ระดับการฝึกอบรม วิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ วิทยากรที่มิใช่บุคลากรของรัฐ
1. การฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกินชั่วโมงละ 800 ไม่เกินชั่วโมงละ 1,600

2. การฝึกอบรมประเภท ข ไม่เกินชั่วโมงละ 600 ไม่เกินชั่วโมงละ 1,200


และการฝึกอบรมบุคคล
ภายนอก

หมายเหตุ: 1. การฝึกอบรมประเภท ก หมายถึง การฝึกอบรมที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่ง


เป็นบุคลากรของรัฐ ซึ่งเป็นข้าราชการตําแหน่ง ประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ
ประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญและระดับทรงคุณวุฒิ ประเภทอํานวยการระดับสูง
ประเภทบริหารระดับต้นและระดับสูง หรือตําแหน่งที่เทียบเท่า
2. การฝึกอบรมประเภท ข หมายถึง การฝึกอบรมที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่ง
เป็นบุคลากรของรัฐ ซึ่งเป็นข้าราชการตําแหน่ง ประเภททั่วไประดับปฏิบัติงาน
ระดับชํานาญงานและระดับอาวุโส ประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ
ระดับชํานาญการ และระดับชํานาญการพิเศษ ประเภทอํานวยการระดับต้น
หรือตําแหน่งที่เทียบเท่า
3. การเบิกค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม ตามข้อที่ 2 และ 3 เป็นไปตาม
มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2552
4. การเบิกค่าใช้จ่ายในการประชุมของทางราชการ ใช้อัตราเดี่ยวกันไม่ว่าจะจัดใน
สถานที่ราชการหรือสถานที่เอกชน

ที่มา: ๑. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ


(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552
๒. มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2552
๔๐

หลักเกณฑ์ แนวทาง และขอบเขตการพิจารณา


งบประมาณรายการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

1. ความหมาย
ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่หน่วยงานใช้ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
เรื่องราว องค์ความรู้ โดยการถ่ายทอดผ่านสื่อประเภทต่างๆ ไปสู่ประชากรกลุ่มเป้าหมายถึงวัสดุโฆษณา
และเผยแพร่
สารคดี หมายถึ ง เรื่องเกี่ย วกั บข้อเท็จจริง เรื่องราวเกี่ย วกั บบุคคลที่มีตัวตนจริง เหตุการณ์ที่
เกิดขึ้นจริง มีเจตนาเบือ้ งต้นในการให้สาระ ความรู้ ความคิดอีกทั้งให้เกิดความเพลิดเพลิน
สปอต หมายถึง สื่อซึ่งผลิต ขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทางด้านทางการโฆษณา และได้ผ่านการบันทึก
เรียบร้อยแล้ว เพื่อนาไปออกอากาศตามสถานีวิทยุ และโทรทัศน์ต่าง ตามที่ก าหนดไว้ในแผนงาน สื่อ
โฆษณาในลักษณะสปอตจะอยู่ในรูปของแผ่นเสียง เทป CD หรือ DVD แล้วแต่ชนิดของการใช้งานและความ
ต้ อ งการของแต่ ล ะสถานี โดยสปอตมาตรฐานส าหรั บ สถานี วิ ท ยุ จ ะมี ค วามยาว 30 วิ น าที ส าหรั บ
สถานีโทรทัศน์จะมีความยาว 1 นาที
** ข้อความที่ผจู้ ัดรายการอ่านสดๆ โฆษณาสินค้าไม่นับว่าเป็นสปอต
โปสเตอร์ หมายถึง ภาพหรือข้อความโฆษณา ที่ทาขึ้นโดยใช้วัสดุชนิดใดก็ได้ที่สามารถเขียน พิมพ์
ติด ฉลุ ภาพหรือข้อความนั้นๆลงไปได้ อาจจะเป็นผ้า กระดาษ ไม้อัด สังกะสี กระจก พลาสติก หรือโลหะ
เพื่อเร่งเร้าให้ผู้พบเห็นเกิดความสนใจ เร้าใจให้มีความเห็นคล้อยตาม ข้อความนั้นต้องสั้นกะทัดรัด อาจเป็น
คาคม คาพังเพย หรือข้อความคล้องจองกัน ซึ่งทาให้ผู้ดูเข้าใจ จดจาได้ง่ายและรวดเร็ว ตลอดจนระลึกถึง
และนาไปปฏิบัติตาม
แผ่นพับ หมายถึง สิ่งพิมพ์ใดๆ ที่มกี ารพับเข้าหรือกางออกขณะใช้งาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการ
โฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรือเป็นคู่มือสินค้า เช่น แผ่นพับแนะนาสินค้า แผ่นพับแนะนาบริการ แผ่นพับ
ส่งเสริมการขาย แผ่นพับแนะนาองค์กร แผ่นพับแนะนาสถานที่สาคัญ แผ่นผับแนะนาสถานศึกษา แผ่นพับ
แนะนาสถานที่ท่องเที่ยว แผ่นพับแจ้งข่าวสาร แผ่นพับแนะนาร้านค้า แผ่นพับรับสมัครสมาชิก แผ่นพับคู่มือ
สินค้า แผ่นพับคู่มอื การใช้บริการ แผ่นพับแผนที่ ฯลฯ
CD-ROM หมายถึง แผ่น Compact Disc ที่เก็บข้อมูลชนิดตัวอักษร ภาพเคลื่อนไหว แสง สี เสียง ไว้
ในแผ่นเดียวกัน ใช้กับเครื่องอ่านซีดรี อมของเครื่องคอมพิวเตอร์
DVD5 หรือ Single-Side, Single Layer เป็น DVD (digital video disc) ประเภทหนึ่งซึ่งจัดเก็บภาพ
ได้เพียงชั้นเดียวหรือหน้าเดียว โดยสามารถบันทึกข้อมูลได้ 4.7 กิกะไบต์ (Gigabyte) ข้อมูลที่เก็บจะเป็นได้
ทั้งภาพ เสียง และข้อความ โดยมีขนาดเท่ากับแผ่นซีดี ซึ่งดีวีดที ี่ใช้สาหรับเก็บข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์
๔๑

จะเรียกว่า DVD-ROM ส่วนที่ใช้ในการดูหนังฟังเพลงก็จะเรียกว่า DVD หรือ DVD-Video ซึ่งดีวีดีจะให้


คุณภาพทั้งภาพและเสียงที่ดีกว่าซีดี
2. แนวทางการพิจารณางบประมาณรายการประชาสัมพันธ์
2.1 การขอตั้งงบประมาณเพื่อการประชาสัมพันธ์ จะต้องตอบสนองต่อผลผลิตวัตถุประสงค์
ภารกิจของหน่วยงาน และควรเป็นภาพรวมของหน่วยงานที่มีทิศทางสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของ
กระทรวงและนโยบายของรัฐบาล
2.2 ส่ว นราชการจะต้องจาแนกวงเงินที่จัดสรรเพื่อ “การประชาสัมพันธ์ ” ออกเป็น “รายการ
ค่าใช้จ่ายประชาสัมพันธ์ ” อยู่ในหมวดรายจ่ายของงบดาเนินงาน ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการประมวลข้อมูล
รายการประชาสัมพันธ์ในภาพรวมของประเทศ
2.3 ส่วนราชการควรเลือกใช้ส่อื เทคโนโลยีที่ทันสมัย มีต้นทุนต่า เช่น ใช้แผ่นCD-ROM / DVD หรือ
ใช้ส่อื ประชาสัมพันธ์ผ่านอินเตอร์เน็ต
3. หลักเกณฑ์ในการพิจารณางบประมาณรายการประชาสัมพันธ์
3.1 ส่วนราชการต้องกาหนดวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมายไว้อย่างชัดเจน เช่น ต้องการสร้าง
ความเข้าใจในเรื่องใด หรือต้องการเผยแพร่งาน กิจกรรมที่ได้จัดทาขึ้นแก่ประชาชนกลุ่มใด โดยมีการจัดทา
แผนการด าเนิ น งานไว้ ล่ ว งหน้ า และอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทั้ ง นี้ ต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ ภารกิ จ ของหน่ ว ยงาน และ
เหมาะสมกับเรื่องที่จะดาเนินการประชาสัมพันธ์
3.2 กรณีที่ก าหนดให้ก ารประชาสัมพันธ์เป็น “กิจกรรม” ต้องพิจารณา ว่ากิจกรรมนั้ นส่งผล
สัมฤทธิ์ให้แก่ผลผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.3 การเลือกประเภทของสื่อในการประชาสัมพันธ์ จะต้องเหมาะสมกับประชากรกลุ่มเป้าหมาย
โดยก าหนดค่า ใช้ จ่า ยในการด าเนิ น งาน การเลือ กช่ วงระยะเวลาและความถี่ใ นการประชาสั มพั นธ์ ใ ห้
เหมาะสม โดยเฉพาะการใช้สื่อทางวิทยุ โทรทัศน์ ควรเลือกใช้ส่อื ที่เป็นของ ส่วนราชการเป็นอันดับแรก
3.4 รายการค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์เพื่อจัดทา ปฏิทิน และไดอารี่ ให้ใช้จ่ายจากเงินนอก
งบประมาณ
4. อัตราค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ ผ่านสถานีโทรทัศน์ สถานีวิทยุ หนังสือพิมพ์ CD-ROM / DVD 5
โปสเตอร์ และแผ่นพับ
๔๒

4.1 สถานีโทรทัศน์
หน่วย : บาท
ราคา
เผยแพร่สปอต เผยแพร่สารคดีสั้นและรายการสั้น
ช่วงเวลา (ต่อนาที) (ต่อ 5 นาที)
วันธรรมดา วันหยุด วันธรรมดา วันหยุด
06.01 – 08.00 น. 20,000 15,000 3,000 2,000
08.01 – 12.00 น. 15,000 15,000 2,000 2,000
12.01 – 13.00 น. 20,000 20,000 3,000 3,000
13.01 – 18.0๐ น. 15,000 20,000 2,000 3,000
18.01 – 23.00 น. 30,000 30,000 4,000 4,000
23.01 – 24.00 น. 20,000 20,000 3,000 3,000
24.01 – 06.00 น. 15,000 15,000 2,000 2,000

4.2 สถานีวิทยุ
หน่วย : บาท

รายการ ช่วงการเสนอ / ระบบ ราคา

1. ค่าเผยแพร่สปอต
ข่าวช่วงเวลา
07.00 – 07.30 น.
เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล 12.00 – 12.30 น. 6,000
19.00 – 19.30 น.
ช่วงข่าวต้นชั่วโมง 3,000
ช่วงในรายการ 2,000
เครือข่ายทั่วประเทศ ช่วงในรายการ 4,000
ระบบ FM ไม่เกิน 100
เขตต่างจังหวัด ระบบ AM 50
๔๓

4.2 สถานีวิทยุ (ต่อ)


หน่วย : บาท

รายการ ช่วงการเสนอ / ระบบ ราคา

2. ค่าเผยแพร่ สารคดี บทความ


ระบบ FM 4,000
เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ระบบ AM 2,000
ระบบ FM ไม่เกิน 500
เขตต่างจังหวัด ระบบ AM 300
หมายเหตุ : - สปอตความยาวครั้งละไม่เกิน 30 วินาที
- สารคดี บทความ ความยาวครั้งละไม่เกิน 5 วินาที

4.3 หนังสือพิมพ์
หน่วย : บาท : คอลัมน์
ขนาดคอลัมน์ ประเภท ราคาต่อคอลัมน์
6 X 10 นิว้ ขาวดา 061,000
6 X 10 นิว้ สี 100,000
10 X 12 นิว้ ขาวดา 120,000
10 X 12 นิว้ สี 200,000

4.4 CD-ROM / DVD5


หน่วย : บาท : แผ่น
ชนิด ปริมาณ (แผ่น) ราคา
CD-ROM 1 – 500 27.66
501 – 1,000 14.24
1,001 – 5,000 9.83
5,001 -10,000 7.69
10,001 ขึน้ ไป 7.20
๔๔

4.4 CD-ROM / DVD5 (ต่อ)


หน่วย : บาท : แผ่น
DVD5 1 – 500 35.00
501 – 1,000 27.50
1,001 – 5,000 21.67
5,001 -10,000 15.25
10,001 ขึน้ ไป 12.75
หมายเหตุ : ราคานี้รวมค่าแม่พมิ พ์ (Stamper) และปริ๊นสกรีน 5 สีแล้ว แต่ไม่รวมค่าบรรจุภัณฑ์ (ปก – กล่อง)

4.5 โปสเตอร์
หน่วย : บาท : ใบ
จานวน (ใบ) ขนาด (เซนติเมตร) ชนิดกระดาษอาร์ทมัน (gsm) ราคา
A3 130 6.20
(29.7 x 42) 160 7.00
1 – 3,000 A2 130 5.40
(42 x 59.4) 160 9.00
A3 130 3.47
(29.7 x 42) 160 4.05
3,001 – 5,000 A2 130 3.26
(42 x 59.4) 160 5.52
A3 130 2.80
(29.7 x 42) 160 3.33
5,001 ขึน้ ไป A2 130 2.90
(42 x 59.4) 160 4.85
หมายเหตุ : ราคาสาหรับพิมพ์ออฟเซ็ท 4 สี 1 ด้าน
๔๕

4.6 แผ่นพับ
หน่วย : บาท : ใบ
จานวน (ใบ) ขนาด (เซนติเมตร) ราคา
A4 พับครึ่งเป็น A5
(29.7 x 21) เป็น (14.8 x 21) 4.90
1 – 3,000 A3 พับครึ่งเป็น A4
(29.7 x 42) เป็น (29.7 x 21) 6.50
A4 พับครึ่งเป็น A5
(29.7 x 21) เป็น (14.8 x 21) 2.39
3,001 – 5,000 A3 พับครึ่งเป็น A4
(29.7 x 42) เป็น (29.7 x 21) 3.35
A4 พับครึ่งเป็น A5
(29.7 x 21) เป็น (14.8 x 21) 1.65
5,001 ขึน้ ไป A3 พับครึ่งเป็น A4
(29.7 x 42) เป็น (29.7 x 21) 2.54
หมายเหตุ : แผ่นพับใช้กระดาษอาร์ทมัน 130 gsm พิมพ์ออฟเซ็ท 4 สี 2 ด้าน
๔๖

ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

การตั้งค่าใช้จ่ายในรายการเหล่านี้มีค่าใช้จ่ายต่อหน่วยและอัตราค่าจ้างที่ยังไม่เหมาะสมมีลักษณะ
สูงเกินสมควรและไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เห็นควรให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกาหนดราคาค่ าใช้จ่าย และ
อัตราค่าจ้างรวมถึงค่าจ้างเหมาบริการให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับราคาในท้องตลาดทั่วไป ที่
สะท้อนความเป็นจริงตามกลุ่มเป้าหมาย พื้นที่ และลักษณะการดาเนินงานของหน่วยงาน สาหรับ การ
ฝึกอบรมสัมมนาประเภท การให้ความรู้แก่ประชาชน หน่วยงานควรกาหนดกลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาของ
โครงการ มีการติดตามประเมินผล และจัดพืน้ ที่ที่เป็นภูมิลาเนาของผูเ้ ข้าร่วมสัมมนาส่วนใหญ่

ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

1. การใช้จา่ ยในการประชาสัมพันธ์ ซึ่งเป็นการจัดทาเอกสารจดหมายข่าว การเผยแพร่ผลงานวิจัย


ทางวิท ยุ การผลิตภาพนิท รรศการและป้ายโฆษณา คณะอนุก รรมาธิการฯ มีความเห็นว่า เพื่อให้ก าร
ประชาสัมพันธ์ข่าวสารต่างๆ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้มากขึ้น หน่วยงานควรปรับปรุงเทคนิคหรือวิธีการ
ประชาสัมพันธ์ให้ทันสมัย และทั่วถึงมากขึ้นการเผยแพร่ผลงานวิชาการอาจจะบันทึกลงแผ่น CD/DVD แทน
การพิมพ์เอกสารเพื่อประหยัดงบประมาณ
2. ค่าใช้จ่ายในการจัดทาเอกสารเพื่อประชาสัมพันธ์ การจัดทาป้ายโฆษณา ฯลฯ ไม่มีการระบุ
คุณลักษณะของสื่อโฆษณาเหล่านีจ้ งึ พิจารณาได้ยาก อย่างไรก็ตามคณะอนุกรรมาธิการฯ มีความเห็นว่าใน
ปีงบประมาณต่อไป สานักงบประมาณควรกาหนดให้หน่วยงานที่จะเสนอรับการจัดสรรงบประมาณเป็น
ค่าใช้จ่ายในการจัด ทาสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ จะต้องระบุคุณลัก ษณะของสื่อแต่ละชนิดให้ละเอีย ด
ชัดเจน เช่น ใช้กระดาษอะไร สีและขนาดอย่างไร เป็นต้น
3. การใช้ Website ของหน่วยงานเพื่อเผยแพร่ข้อมูลผลงานวิชาการ ข้อมูลการติดต่อร้องทุกข์ รัฐ
ลงทุนไปมาก เช่น กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและหน่วยงานราชการควรจัดทาให้เป็น
สากลและประชาชนเข้ามาใช้บริการมากขึ้น
๔๗

ตัวอย่างค่าเช่าสถานที่จัดนิทรรศการ เช่น
1. ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิรกิ ิติ์ แบ่งขนาดของการจัดงานเป็น ขนาด 80 , 210 , 280 บูธ
รายละเอียดดังตารางข้างล่างนี้

พื้นที่ 1 ห้อง จานวนบูธใน ค่าเช่าพื้นที่ อัตราค่าเช่าพื้นที่


(ตร.ม.) 1 ห้อง (บาท / วัน) (บาท / ตร.ม. / 1 วัน)
(1) (2) (3) (3) / (1)
1,458 80 400,000 274
3,198 210 700,000 219
4,656 280 900,000 193

2. IMPACT เมืองทองธานี ขนาดการจัดงานไม่เกินห้องละ 200 บูธ พื้นที่ห้อง 5,000 ตร.ม.


และคิดค่าเช่าห้อง ตร.ม. ละ 91 บาทต่อวัน (รวม VAT) จึงเท่ากับค่าเช่าพืน้ ที่ 455,000 บาท
3. ศูนย์การประชุม BITEC ขนาดการจัดงานไม่เกินห้องละ 200 บูธ พื้นที่ห้อง 5,000 ตร.ม.
และคิดค่าเช่าห้อง ตร.ม. ละ 110 บาทต่อวัน (รวม VAT) จึงเท่ากับค่าเช่าพืน้ ที่ 550,000 บาท

ตารางเปรียบเทียบอัตราค่าเช่าพื้นที่ของสถานที่จัดงานทั้ง 3 แห่ง

สถานที่ / 80 บูธ 200 บูธ 280 บูธ


จานวนบูธ พื้นที่ท่เี ช่า อัตราค่าเช่า ค่าเช่า พื้นที่ท่เี ช่า อัตราค่า ค่าเช่า พื้นที่ท่เี ช่า อัตราค่า ค่าเช่า
เช่า เช่า
ต่อห้อง พื้นที่ พื้นที่ พื้นที่
(ตร.ม.) (บาท / (บาท /วัน) (ตร.ม.) (บาท / (บาท /วัน) (ตร.ม.) (บาท / (บาท /วัน)
ตร.ม./ วัน) ตร.ม./ ตร.ม./
วัน) วัน)
(1) (2) (1) x (2)
BITEC 5,000 110 550,000
ศูนย์สิริกิติ์ 1,458 274 400,000 3,198 219 700,000 4,656 193 900,000
IMPACT 5,000 91 455,000
๔๘

ตัวอย่างวิธีการคานวณราคาพื้นฐานในการจัดนิทรรศการ
1. โครงการสร้างราคาประกอบด้วย ค่าเช่าพื้นที่ ค่าบริการบูธ และค่าจ้างตัวแทนจัดงาน (ถ้ามี)
2. ค่าบริการบูธจะเป็นค่าใช้จ่ายครั้งเดียว ขึน้ อยู่กับรายละเอียดที่ตกลงกัน ส่วนอัตราค่าเช่าพื้นที่
ต่อ ตร.ม. ต่อวัน ขึ้นอยู่กับสถานที่
3. การเลือกสถานที่จัดงานควรคานึงถึง ความคุ้มค่า ผลประโยชน์ที่ได้รับกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าชม
งาน ขนาดของพื้นที่จัดงานที่เหมาะสมและประหยัด
หน่วย : บาท
ในเขต กทม.
1. ค่าเช่าพืน้ ที่ต่อ ตร.ม. ต่อวัน x,xxx
คูณ จานวนพืน้ ที่ xx
คูณ จานวนวัน xx
รวมค่าเช่าพื้นที่ x,xxx
2. ค่าบริการบูธต่อครัง้ x,xxx
คูณ จานวนบูธ xx
รวมค่าบริการบูธ x,xxx
3. ค่าจ้างตัวแทนจัดงาน (organizer) x,xxx ประมาณ 15 % ของวงเงิน
จัดงาน ทั้งนี้ไม่รวมค่า
กิจกรรมการแสดงบนเวที
รวมราคาพื้นฐานในการจัดงาน (1 + 2 + 3) x,xxx
หมายเหตุ : ตารางนีเ้ ป็นวิธีคิดเบือ้ งต้นของสถานที่จัดงาน 3 แห่ง ได้แก่ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสริ ิกิต์ิ
ศูนย์การประชุม BITEC และ IMPACT เมืองทองธานี ที่ใช้ในการคานวณให้เช่าพืน้ ที่
๔๙

อัตราค่าผลิตสื่อโฆษณาทางโทรทัศน์

ชนิด ราคา (ต่อครั้ง)


สปอตทั่วไปลักษณะบรรยายประกอบภาพ ไม่เกิน 30,000 บาท
สปอตเชิงละครที่มีบทสนทนาพร้อมตัวแสดง ไม่เกิน 100,000 บาท
สารคดีสั้นและรายการสั้นทั่วไป ไม่เกิน 60,000 บาท
หมายเหตุ : - สปอตความยาวไม่เกิน 30 วินาที
- สารคดีสั้น และรายการความยาวไม่เกิน 5 นาที

อัตราค่าผลิตสื่อโฆษณาทางวิทยุ

เขต ชนิด ราคา (ต่อครั้ง)


ค่าผลิตสปอต 1,000 บาท
กรุงเทพฯ และปริมณฑล ค่าผลิต สารคดี บทความ 1,500 บาท
ค่าผลิตสปอต 1,000 บาท
ต่างจังหวัด ค่าผลิต สารคดี บทความ 1,500 บาท
หมายเหตุ : - สปอตความยาวไม่เกิน 30 วินาที
- สารคดี บทความ ความยาวไม่เกิน 5 นาที
๕๐

รายละเอียดค่าใช้จ่ายในการผลิตสื่อโทรทัศน์
อ้างตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค. 0406.6/13666 ลงวันที่ 29 พฤษภาคม 2551
1. ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานให้เบิกจ่ายได้ตามอัตราดังนี้
รายการ เงื่อนไข อัตราค่าตอบแทนต่อรายการ
1.1 ค่าพิธีกร ค่าผูด้ าเนินรายการ ไม่เกิน 5 นาที คนละไม่เกิน 2,000 บาท
ค่าวิทยากร ค่าผู้แสดงนา ไม่เกิน 10 นาที คนละไม่เกิน 3,000 บาท
ไม่เกิน 15 นาที คนละไม่เกิน 4,000 บาท
ไม่เกิน 30 นาที คนละไม่เกิน 6,000 บาท
ไม่เกิน 60 นาที คนละไม่เกิน 10,000 บาท
60 นาทีข้นึ ไป คนละไม่เกิน 20,000 บาท
1.2 ค่าผู้ช่วยพิธีกร ไม่เกิน 5 นาที คนละไม่เกิน 1,000 บาท
ค่าผู้แสดงประกอบ ไม่เกิน 10 นาที คนละไม่เกิน 1,500 บาท
ค่าผู้ร่วมรายการ ไม่เกิน 15 นาที คนละไม่เกิน 2,000 บาท
ไม่เกิน 30 นาที คนละไม่เกิน 3,000 บาท
ไม่เกิน 60 นาที คนละไม่เกิน 4,000 บาท
60 นาทีข้นึ ไป คนละไม่เกิน 5,000 บาท
1.3 ค่าบรรยาย ค่าพากย์ ไม่เกิน 5 นาที คนละไม่เกิน 2,000 บาท
ไม่เกิน 10 นาที คนละไม่เกิน 2,500 บาท
ไม่เกิน 15 นาที คนละไม่เกิน 3,000 บาท
ไม่เกิน 30 นาที คนละไม่เกิน 4,000 บาท
30 นาทีข้นึ ไป คนละไม่เกิน 5,000 บาท
1.4 ค่าตอบแทนช่างภาพโทรทัศน์ 1 วัน คนละไม่เกิน 2,000 บาท
1.5 ค่าตอบแทนผู้ช่วยช่างภาพโทรทัศน์ 1 วัน คนละไม่เกิน 1,000 บาท
1.6 ค่าตอบแทนผูค้ วบคุมเสียง 1 วัน คนละไม่เกิน 1,000 บาท
1.7 ค่าตอบแทนผูค้ วบคุมแสง 1 วัน คนละไม่เกิน 1,000 บาท
1.8 ค่าตอบแทนผู้แสดงละครหุ่นเชิดมือ 1 วัน คนละไม่เกิน 1,000 บาท
1.9 ค่าตอบแทนผู้แสดงดนตรี ไม่เกิน 60 นาที
- เครื่องดนตรี 1-3 ชิน้ คนละไม่เกิน 7,000 บาท
- เครื่องดนตรี 4-6 ชิน้ คนละไม่เกิน 4,000 บาท
- เครื่องดนตรี 7 ชิน้ ขึน้ ไป คนละไม่เกิน 3,000 บาท
- นักร้อง คนละไม่เกิน 10,000 บาท
๕๑

รายการ เงื่อนไข อัตราค่าตอบแทนต่อรายการ


1.10 ค่าตอบแทนผูผ้ ลิตดนตรีและเพลง
- ค่าแต่งเนื้อร้อง เพลงละไม่เกิน 10,000 บาท
- ค่าแต่งทานอง เพลงละไม่เกิน 10,000 บาท
- ค่าเรียบเรียงประสานและบรรเลง เพลงละไม่เกิน 10,000 บาท
ดนตรี
- ค่านักร้อง เพลงละไม่เกิน 10,000 บาท
1.11 ค่าเขียนบทโทรทัศน์ บทวีดีทัศน์ ไม่เกิน 5 นาที ไม่เกิน 3,000 บาท
ไม่เกิน 10 นาที ไม่เกิน 4,000 บาท
ไม่เกิน 15 นาที ไม่เกิน 5,000 บาท
ไม่เกิน 30 นาที ไม่เกิน 6,000 บาท
ไม่เกิน 60 นาที ไม่เกิน 3,000 บาท
(ถ่ายทอดสด)
1.12 ค่าเขียนบทละคร ไม่เกิน 5 นาที ไม่เกิน 4,000 บาท
ไม่เกิน 10 นาที ไม่เกิน 5,000 บาท
ไม่เกิน 15 นาที ไม่เกิน 6,000 บาท
ไม่เกิน 30 นาที ไม่เกิน 7,000 บาท
1.13 ค่าเขียนคู่มอื ค่าเขียนเอกสาร หน้า A-4 หน้าละไม่เกิน 300 บาท
ประกอบ
1.14 ค่าผูก้ ากับการแสดง ไม่เกิน 5 นาที ไม่เกิน 2,000 บาท
ไม่เกิน 10 นาที ไม่เกิน 3,000 บาท
ไม่เกิน 15 นาที ไม่เกิน 4,000 บาท
ไม่เกิน 30 นาที ไม่เกิน 5,000 บาท
ไม่เกิน 60 นาที ไม่เกิน 10,000 บาท
60 นาทีข้นึ ไป ไม่เกิน 15,000 บาท
1.15 ค่าผูช้ ่วยผูก้ ากับการแสดง ไม่เกิน 5 นาที ไม่เกิน 1,000 บาท
ไม่เกิน 10 นาที ไม่เกิน 1,500 บาท
ไม่เกิน 15 นาที ไม่เกิน 2,000 บาท
ไม่เกิน 30 นาที ไม่เกิน 3,000 บาท
ไม่เกิน 60 นาที ไม่เกิน 5,000 บาท
60 นาทีข้นึ ไป ไม่เกิน 8,000 บาท
๕๒

รายการ เงื่อนไข อัตราค่าตอบแทนต่อรายการ


1.16 ค่าผูก้ ากับเวที ค่าผู้กากับรายการ ไม่เกิน 5 นาที ไม่เกิน 1,000 บาท
ไม่เกิน 10 นาที ไม่เกิน 1,500 บาท
ไม่เกิน 15 นาที ไม่เกิน 2,000 บาท
ไม่เกิน 30 นาที ไม่เกิน 3,000 บาท
ไม่เกิน 60 นาที ไม่เกิน 4,000 บาท
60 นาทีข้นึ ไป ไม่เกิน 5,000 บาท
1.17 ค่าผูช้ ่วยผูก้ ากับเวที ค่าผู้ช่วย ไม่เกิน 5 นาที ไม่เกิน 500 บาท
ผูก้ ากับรายการ ไม่เกิน 10 นาที ไม่เกิน 1,000 บาท
ไม่เกิน 15 นาที ไม่เกิน 1,500 บาท
ไม่เกิน 30 นาที ไม่เกิน 2,000 บาท
ไม่เกิน 60 นาที ไม่เกิน 2,500 บาท
60 นาทีข้นึ ไป ไม่เกิน 4,000 บาท
1.18 ค่าตอบแทนผู้กากับความถูกต้อง ไม่เกิน 4,000 บาท
ของเนื้อหารายการ
1.19 ค่าตอบแทนผูป้ ระสานงานการผลิต ไม่เกิน 2,000 บาท
รายการ
1.20 ค่าตอบแทนผูจ้ ัดหารวบรวมข้อมูล
- ข้อมูลทั่วไป ไม่เกิน 3 นาที รายการละไม่เกิน 3,000 บาท
- ข้อมูลข่าว สารคดี ไม่เกิน 10 นาที เรื่องละไม่เกิน 1,500 บาท
- ข้อมูลข่าว สารคดี ไม่เกิน 30 นาที เรื่องละไม่เกิน 5,000 บาท
1.21 ค่าตอบแทนผู้ประกาศรายการ ผลัดละ 8 ชั่วโมง คนละไม่เกิน 800 บาทต่อผลัด
โทรทัศน์
1.22 ค่าตอบแทนผูต้ ัดต่อรายการ วันละไม่เกิน 1,000 บาท
(ใช้อุปกรณ์ของทางราชการ)
1.23 ค่าตอบแทนผู้แต่งหน้าและทาผม
- ใช้อุปกรณ์ของทางราชการ วันละไม่เกิน 3,000 บาท - ไม่ได้กาหนด
- ใช้อุปกรณ์ของผู้แต่งหน้าทาผม วันละไม่เกิน 5,000 บาท
1.24 ค่าตอบแทนในการจัดทาภาพวาด ขนาดไม่ต่ากว่า A3 แผ่นละไม่เกิน 1,500 บาท
1.25 ค่าจัดทาสิ่งพิมพ์ออกแบบตัวอักษร หน้าละไม่เกิน 300 บาท
คอมพิวเตอร์กราฟิก
๕๓

รายการ เงื่อนไข อัตราค่าตอบแทนต่อรายการ


1.26 ค่าออกแบบและจัดทาภาพ
คอมพิวเตอร์กราฟิก
- แบบไม่เคลื่อนไหว หน้าละไม่เกิน 2,000 บาท
- แบบเคลื่อนไหว วินาทีละไม่เกิน 1,000 บาท
1.27 ค่าจัดทาเสียงพิเศษด้วย รายการละไม่เกิน 2,000 บาท
คอมพิวเตอร์
1.28 ค่าตอบแทนในการออกแบบฉาก ฉากละไม่เกิน 5,000 บาท
1.29 ค่าตอบแทนในการสร้างฉาก ฉากละไม่เกิน 50,000 บาท
1.30 ค่าแปลเอกสาร บทภาพยนตร์
บทวีดิทัศน์ต้นฉบับสาหรับเอกสาร
- มีศัพท์ทางเทคนิควิชาการเฉพาะ หน้า A4 หน้าละไม่เกิน 1,500 บาท
เช่น ศัพท์ทางกฎหมาย
- เป็นศัพท์ธรรมดาทั่วไป หน้า A4 หน้าละไม่เกิน 1,000 บาท
1.31 ค่าแปลจากภาพยนตร์ วีดิทัศน์ หน้าละ 300 บาท
เทปเสียงในกรณีไม่มบี ทหรือ
เอกสารประกอบ

2. ค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่มของพิธีกร วิทยากร ผู้รว่ มรายการและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง


เช่น ช่า งภาพ ช่ างเทคนิค สามารถเบิ ก จ่า ยได้ ตามความจ าเป็ น ไม่เ กินมื้ อละ 100 บาท ต่อ คน ทั้ง นี้
หลักฐานการเบิกจ่ายให้ใช้หลักฐานการจ่ายเงินตามระเบียบของทางราชการ โดยให้เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ
ในการผลิตรายการเป็นผู้รับรองการผลิตรายการ รวมทั้งจานวนและรายชื่อผู้ที่จาเป็นต้องจัดอาหารว่าง
และเครื่องดื่มให้โดยไม่ต้องแนบบัญชีลายมือชื่อ
3. ค่าใช้จ่ายอื่นที่จาเป็นในการผลิตรายการ โทรทัศน์ เช่น ค่าธรรมเนียมเข้าอุทยาน ค่าบัตรผ่าน
ประตู เท่าที่จ่ายจริง
4. ค่าเครื่องแต่งกายผู้แสดง พิธีกร เช่น เสื้อผ้า เครื่องประดับ ซึ่งมีไว้ใช้เป็นส่วนกลางหมุนเวียน
มิได้มีการมอบให้บุคคลใดโดยเฉพาะในอัตราชิ้นละไม่เกิน 5,000 บาท ทั้งนี้ การดาเนินการให้ถือปฏิบัติ
ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
5. ค่าใช้จ่ายในการจัดและผลิตรายการโทรทัศน์ และวีดิทัศน์เพื่อการศึกษา นอกจากที่กาหนดไว้
ในข้อตกลงนี้ ให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีที่กาหนดไว้
๕๔

หลักเกณฑ์การปรับลด
คณะอนุกรรมาธิการฝึกอบรม สัมมนา ประชาสัมพันธ์ งบดาเนินงาน ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าจ้างที่ปรึกษา
การวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี ค่าเช่า ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปต่างประเทศ กองทุน เงินอุดหนุนและ
รายจ่ายอื่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

รายการอบรม สัมมนา โฆษณา ประชาสัมพันธ์ ค่าจ้างที่ปรึกษา ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง


ไปต่างประเทศ ปรับลดงบประมาณตามคู่มือหลักเกณฑ์ที่สานักงบประมาณกาหนด ปรากฏตาม Website
สานักงบประมาณ (http://www.bb.go.th) และมติคณะอนุกรรมการฝึกอบรม สัมมนาฯ ที่กาหนดเพิ่มเติม ดังนี้
1. ค่าอาหารสาหรับการฝึกอบรม
- กรณีจัดฝึกอบรมในสถานที่ราชการเบิกได้ไม่เกินคนละ 150 บาทต่อมือ้
- กรณีจัดฝึกอบรมในสถานที่เอกชนเบิกได้ไม่เกินคนละ 400 บาทต่อมือ้
และหากจัดเลีย้ ง 2 มื้อขึ้นไปเบิกได้ไม่เกินคนละ 600 บาทต่อวัน
2. ค่าโดยสารเครื่องบิน
- กรณีเดินทางในประเทศเบิกค่าใช้จ่ายชัน้ ประหยัด ยกเว้น ผูด้ ารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
รองนายกรัฐมนตรี ประธาน/รองประธานสภาศาลฎีกา ประธาน/รองประธานรัฐสภา ฯลฯ
- กรณีเดินทางไปต่างประเทศเบิกค่าใช้จ่ายตามสิทธิ แต่ไม่เกินชั้นธุรกิจ ยกเว้น ประธาน
ของฝ่ายบริหาร ตุลาการ และนิติบัญญัติ รวมถึงคณะรัฐมนตรี
3. รายการค่าโฆษณาประชาสัมพันธ์ ให้นาสถิติข้อมูลที่ได้รับส่วนลดจากการดาเนินการจริงใน
ปีงบประมาณที่ผ่านมา มาประกอบการพิจารณาปรับลด
รวมทั้งปรับลดตามหลักเกณฑ์โฆษณา ประชาสัมพันธ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 (ที่แก้ไข)
รายการอัตราค่าผลิตสื่อโฆษณาทางวิทยุ เขตต่างจังหวัด ทั้งค่าผลิตสปอต และค่าผลิตสารคดี บทความให้
เท่ากับเขตกรุงเทพและปริมณฑล เนื่องจากพิมพ์คลาดเคลื่อน ดังนี้

หน้า ข้อความเดิม ขอแก้ไขใหม่


บรรทัด
ผ-6
บรรทัดที่
อัตราค่าผลิตสื่อโฆษณาทางวิทยุ อัตราค่าผลิตสื่อโฆษณาทางวิทยุ
ต่างจังหวัด ต่างจังหวัด
12 ค่าผลิตสปอต ค่าผลิตสปอต
13 12,000 1,000
ค่าผลิต สารคดี บทความ 6,000 ค่าผลิต สารคดี บทความ ๑,๕๐๐
๕๕

4. ค่าจ้างที่ปรึกษา ให้ปรับลดไม่ต่ากว่าร้อยละ 10
หมายถึง การปรับลดทุกรายการ รวมถึงการบริหารโครงการ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน
ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บข้อมูล ค่าวัสดุสานักงาน ค่าติดต่อสื่อสาร เป็นต้น
ยกเว้น รายการจ้ างที่ป รึก ษาในส่ว น ค่าใช้ จ่ายในการอบรม สัมมนา ค่าใช้จ่ ายในการ
เดิ น ทางไปราชการทั้ ง ในและต่ า งประเทศ ให้ ป รั บ ลดตามหลั ก เกณฑ์ ก ารอบรม สั ม มนาฯ ที่ ส านั ก
งบประมาณที่กาหนด เช่น ค่าอาหารสาหรับการฝึกอบรมในสถานที่ราชการ เบิกได้ไม่เกินคนละ 150 บาท
ต่อมือ้ การอบรมในสถานที่เอกชน เบิกได้ไม่เกินคนละ 400 บาทต่อมือ้ และหากจัดเลี้ยง 2 มื้อขึ้นไปเบิก
ได้ไม่เกินคนละ 600 บาทต่อวัน เป็นต้น
สาหรับ อัตราการจ้างบุคลากรหลัก ที่ปรึก ษาโครงการ ให้พิจารณาจากประสบการณ์
(จานวนปี) ตามหลักเกณฑ์ของสานักงบประมาณ เช่น ค่าจ้างที่ปรึกษาไทย ประสบการณ์ 5-10 ปี อัตรา
จ้างไม่เกิน 70,000 บาท/เดือน เป็นต้น ส่วนอัตราค่าจ้างบุคลากรสนับสนุนให้ปรับลดร้อยละ 50
5. ค่าใช้จ่ายการวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี ให้ปรับลดไม่ต่ากว่าร้อยละ 10
6. ค่าซ่อมแซมครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง ให้ปรับลดไม่ต่ากว่าร้อยละ 10
7. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปดูงานในต่างประเทศที่ไม่มีพันธกรณีหรือข้อตกลงกับองค์กรหรือ
หน่วยงานระหว่างประเทศ ไม่ให้ตั้งงบประมาณ สาหรับกรณีค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปประชุม สัมมนา
เจรจาธุรกิจนานาชาติ ให้เสนอปรับลดตามหลักเกณฑ์
8. นาข้อมูลผลการเบิก จ่ายและการโอนเปลี่ย นแปลงงบประมาณ พ.ศ.2552 - 2553 มา
ประกอบการพิจารณาปรับลด
1) กรณี ผ ลการเบิ ก จ่ า ยต่ ากว่ า งบประมาณที่ ตั้ ง ไว้ หรื อ มี ก ารโอนเปลี่ ย นแปลง
งบประมาณให้ทบทวนการปรับลดงบประมาณ ปี 2554 ที่ได้ตงั้ งบประมาณไว้
2) กรณีรายการที่มีเงินเหลือจ่าย มีผลการดาเนินงานและการเบิกจ่ายล่าช้า และมีการตั้ง
งบประมาณต่อเนื่องในปี 2554 ให้พิจารณาปรับลด
9. พิจารณาทบทวนปรับลดงบประมาณของกองทุนและเงินทุนหมุนเวียน และหน่วยงานองค์การ
มหาชนให้เป็นไปอย่างประหยัด ตามหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
10. หากพบว่ารายการที่มีผลประโยชน์ทับซ้อนให้พิจารณาปรับ ลดงบประมาณ เช่น การจ้าง
บุคคลที่มคี วามสัมพันธ์เกี่ยวข้องเป็นเครือญาติในครอบครัวมาเป็นที่ปรึกษา เป็นต้น

.......................................................

คณะอนุกรรมาธิการฝึกอบรม สัมมนาฯ
29 มิถุนายน 2553
๕๖
ราคามาตรฐานครุภัณฑ์ ปี 2554

ลาดับ ประเภท/รายการ/ขนาดครุภัณฑ์ หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย หมายเหตุ


ที่ (บาท)
ครุภัณฑ์ก่อสร้าง ราคาครุภัณฑ์ทุกประเภท
ทีก่ าหนด เป็นราคาทีร่ วม
1 รอก ชุด ภาษีมูลค่าเพิม่ แล้ว
1.1 ขนาด 2 ตัน 7,200
1.2 ขนาด 3 ตัน 9,500
1.3 ขนาด 5 ตัน 15,000
2 เครื่องผสมคอนกรีต เครื่อง
2.1 ชนิดเหล็กเหนียว 45,000
2.2 ชนิดเหล็กหล่อ 46,000
3 เครื่องสัน่ คอนกรีต เครื่อง
3.1 ขนาด 25 มิลลิเมตร 17,500
3.2 ขนาด 38 มิลลิเมตร 18,500
3.3 ขนาด 45 มิลลิเมตร 19,500
4 เครื่องตบดิน เครื่อง 19,000
5 รถขุดตีนตะขาบ คัน
5.1 ขนาด 120 แรงม้า 3,900,000
5.2 ขนาด 150 แรงม้า 4,200,000
5.3 ขนาด 200 แรงม้า 5,700,000
6 รถแทรกเตอร์ตีนตะขาบ คัน
6.1 ขนาด 120 แรงม้า 5,500,000
6.2 ขนาด 165 แรงม้า 6,900,000
7 รถตักหน้าขุดหลัง คัน
7.1 ชนิดขับเคลือ่ น 2 ล้อ 2,750,000
7.2 ชนิดขับเคลือ่ น 4 ล้อ 3,000,000
8 รถตักล้อยาง คัน
8.1 ขนาด 100 แรงม้า
- น้าหนักใช้งาน 7,800 กิโลกรัม 3,400,000
- น้าหนักใช้งาน 8,500 กิโลกรัม 3,700,000
8.2 ขนาด 150 แรงม้า 4,500,000
9 เครื่องอัดอากาศ ขนาด 300 ลิตรต่อนาที เครื่อง 65,500
๕๗

ลาดับ ประเภท/รายการ/ขนาดครุภัณฑ์ หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย หมายเหตุ


ที่ (บาท)
ครุภัณฑ์การเกษตร
1 รถฟาร์มแทรกเตอร์ คัน
ชนิดขับเคลือ่ น 4 ล้อ
1.1 ขนาด 25 แรงม้า 343,000
1.2 ขนาด 40 แรงม้า 550,000
1.4 ขนาด 85 แรงม้า 1,100,000
2 รถไถ คัน
2.1 ขนาด 8 แรงม้า 61,500
2.2 ขนาด 10 แรงม้า 65,500
3 เครื่องพ่นยา เครื่อง
3.1 แบบใช้แรงลม
-ขนาด 1.5 แรงม้า 7,500
3.2 แบบใช้แรงดันของเหลว
ชนิดสะพายหลัง
-ขนาด 1.5 แรงม้า 12,500
ชนิดตัง้ พืน้
-ขนาด 2.5 แรงม้า 13,500
-ขนาด 3.5 แรงม้า 15,000
4 เครื่องชัง่ เครื่อง
4.1 ขนาด 1,000 กิโลกรัม 18,000
4.2 ขนาด 2,000 กิโลกรัม 19,500
5 เครื่องสูบน้า เครื่อง
เครื่องยนต์เบนซิน
5.1 สูบน้าได้ 450 ลิตรต่อนาที 9,500
5.2 สูบน้าได้ 1,100 ลิตรต่อนาที
5.2.1 ขนาด 5 แรงม้า 15,000
5.2.2 ขนาด 7 แรงม้า 23,000
เครื่องยนต์ดีเซล
5.3 สูบน้าได้ 1,750 ลิตรต่อนาที 45,000
5.4 สูบน้าได้ 3,800 ลิตรต่อนาที 95,000
มอเตอร์ไฟฟ้า
5.5 สูบน้าได้ 450 ลิตรต่อนาที 11,000
5.6 สูบน้าได้ 1,130 ลิตรต่อนาที 16,000
๕๘

ลาดับ ประเภท/รายการ/ขนาดครุภัณฑ์ หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย หมายเหตุ


ที่ (บาท)
5.7 สูบน้าได้ 1,500 ลิตรต่อนาที 20,000

ครุภัณฑ์การแพทย์
1 เตียงเฟาว์เลอร์ เตียง
1.1 แบบ ก 22,000
1.2 แบบ ข 16,000
2 เตียงตรวจภายใน เตียง 17,000
3 เตียงทาคลอด เตียง 39,600
4 รถเข็นชนิดนัง่ คัน 6,500
5 รถเข็นชนิดนอน คัน 20,000
6 รถเข็นทาแผล คัน 9,000
7 รถเข็นอาหาร คัน 8,000
8 รถเข็นผ้าเปือ้ น คัน 7,000
9 หม้อต้มเครื่องมือ เครื่อง 12,000
10 ตูอ้ บเด็ก ตู้ 350,000
11 เครื่องดูดเสมหะ เครื่อง 11,000
12 เครื่องชัง่ น้าหนัก เครื่อง 13,000
13 กล้องจุลทรรศน์ กล้อง
13.1 ชนิดตาเดียว 10,900
13.2 ชนิด 2 ตา
- งานการสอน 39,000
- งานวิจัย 55,000
14 เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่อง
14.1 แบบตัง้ พืน้ 7,900
15 ยูนติ ทาฟัน ชุด 438,000
16 เครื่องปัน่ และผสมสารอุดฟัน เครื่อง 12,000
17 ชุดทันตกรรมเคลือ่ นที่พร้อมเก้าอีส้ นามและโคมไฟ ชุด 50,000

ครุภัณฑ์การศึกษา
1 จักรธรรมดา คัน
1.1 ชนิดมีมอเตอร์ 5,500
2 จักรทาลวดลาย คัน 9,800
3 จักรพันริม คัน
๕๙

ลาดับ ประเภท/รายการ/ขนาดครุภัณฑ์ หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย หมายเหตุ


ที่ (บาท)
3.1 แบบธรรมดา 13,000
3.2 แบบอุตสาหกรรม 30,000
4 จักรอุตสาหกรรม คัน
4.1 แบบเย็บผ้า 20,000
4.2 แบบเย็บหนัง 25,000
ครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่
1 จอรับภาพ ชนิดมอเตอร์ไฟฟ้า จอ
ขนาดเส้นทะแยงมุม
1.1 ขนาด 100 นิว้ 9,900
1.2 ขนาด 120 นิว้ 13,000
1.3 ขนาด 150 นิว้ 22,000
1.4 ขนาด 180 นิว้ 32,000
1.5 ขนาด 200 นิว้ 43,000
2 เครื่องฉายภาพข้ามศรีษะ เครื่อง 5,600
3 กล้องถ่ายภาพนิง่ ระบบดิจิตอล กล้อง
3.1 ความละเอียดไม่น้อยกว่า 10 ล้านพิกเซล 5,000
3.2 ความละเอียดไม่น้อยกว่า 12 ล้านพิกเซล 7,000
3.3 ความละเอียดไม่น้อยกว่า 14 ล้านพิกเซล 9,000 15 ล้านพิกเซลขึ้นไป เป็นนอกมาตรฐาน
4 โทรทัศน์สี ชนิดจอแบน เครื่อง
4.1 ขนาด 29 นิว้ 6,500
5 โทรทัศน์ แอล ซี ดี (LCD TV) เครื่อง
ระดับความละเอียดจอภาพ 1366x768 พิกเซล
5.1 ขนาด 32 นิว้ 14,000
ระดับความละเอียดจอภาพ 1920x1080 พิกเซล
5.2 ขนาด 32 นิว้ 17,500
5.3 ขนาด 37 นิว้ 21,000
5.4 ขนาด 40 นิว้ 24,000
5.5 ขนาด 46 นิว้ 37,000
5.6 ขนาด 52 นิว้ 70,000
6 เครื่องมัลติมเี ดียโปรเจคเตอร์ เครื่อง
ระดับ SVGA
6.1 ขนาดไม่น้อยกว่า 2,500 ANSI Lumens 19,000 2,700 ANSI Lumens ขึ้นไปเป็นนอกมาตรฐาน

ระดับ XGA
๖๐

ลาดับ ประเภท/รายการ/ขนาดครุภัณฑ์ หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย หมายเหตุ


ที่ (บาท)
6.2 ขนาดไม่น้อยกว่า 2,000 ANSI Lumens 24,000
6.3 ขนาดไม่น้อยกว่า 2,500 ANSI Lumens 30,000
6.4 ขนาดไม่น้อยกว่า 3,000 ANSI Lumens 40,000
6.5 ขนาดไม่น้อยกว่า 3,500 ANSI Lumens 57,000
6.7 ขนาดไม่น้อยกว่า 3,000 ANSI Lumens 50,000
6.8 ขนาดไม่น้อยกว่า 4,000 ANSI Lumens 73,000 4,200 ANSI Lumens ขึ้นไปเป็นนอกมาตรฐาน

ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว
1 ตูเ้ ย็น ตู้
1.1 ขนาด 5 คิวบิกฟุต 6,500
1.2 ขนาด 7 คิวบิกฟุต 9,400
1.3 ขนาด 9 คิวบิกฟุต 15,000
1.4 ขนาด 13 คิวบิกฟุต 19,000 สูงกว่า 16 คิวบิกฟุตเป็นนอกมาตรฐาน
2 ตูแ้ ช่อาหาร ตู้
2.1 ขนาด 20 คิวบิกฟุต 28,000
2.2 ขนาด 32 คิวบิกฟุต 38,000
2.3 ขนาด 45 คิวบิกฟุต 58,000

3 เครื่องทาน้าเย็น เครื่อง
3.1 แบบต่อท่อ
- ขนาด 1 ก๊อก 12,000
- ขนาด 2 ก๊อก 14,000
4 เครื่องตัดหญ้า เครื่อง
4.1 แบบข้อแข็ง 8,500
4.2 แบบข้ออ่อน 9,700
4.3 แบบเข็น 10,900
4.4 แบบล้อจักรยาน 10,000
4.5 แบบนัง่ ขับ 160,000
5 เตาแก๊ส เตา 8,900
6 เครื่องซักผ้า เครื่อง
6.1 ขนาด 50 ปอนด์ 245,000
6.2 ขนาด 125 ปอนด์ 600,000
6.3 ขนาด 200 ปอนด์ 1,350,000
6.4 ขนาด 400 ปอนด์ 2,500,000
๖๑

ลาดับ ประเภท/รายการ/ขนาดครุภัณฑ์ หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย หมายเหตุ


ที่ (บาท)
7 เครื่องอบผ้า เครื่อง
7.1 ขนาด 50 ปอนด์ 150,000
7.2 ขนาด 100 ปอนด์ 250,000
7.3 ขนาด 200 ปอนด์ 550,000

ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ
1 เครื่องรับส่งวิทยุ เครื่อง
ระบบ VHF/FM
1.1 ชนิดมือถือ 5 วัตต์ 12,000
1.2 ชนิดประจาที่ 10 วัตต์ 28,000
1.3 ชนิดประจาที่ 40 วัตต์ 30,000
1.4 ชนิดติดรถยนต์ 25 วัตต์ 28,000
ระบบ HF/SSB
1.5 ชนิดประจาที่ 100 วัตต์ 80,000
2 เครื่องกาเนิดไฟฟ้า เครื่อง ราคาไม่รวมค่าติดตัง้
2.1 ขนาด 3 กิโลวัตต์ 29,000
2.2 ขนาด 5 กิโลวัตต์ 63,000
2.3 ขนาด 10 กิโลวัตต์ 150,000
2.4 ขนาด 15 กิโลวัตต์ 287,000
2.5 ขนาด 25 กิโลวัตต์ 385,000
2.6 ขนาด 50 กิโลวัตต์ 511,000
2.7 ขนาด 100 กิโลวัตต์ 785,000
2.8 ขนาด 200 กิโลวัตต์ 1,250,000
2.9 ขนาด 300 กิโลวัตต์ 1,710,000
2.10 ขนาด 400 กิโลวัตต์ 2,250,000
2.11 ขนาด 500 กิโลวัตต์ 3,550,000

ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง
รถส่วนกลาง
1 รถนัง่ ส่วนกลาง คัน 784,000
2 รถบรรทุก (ดีเซล) คัน
2.1 ขนาด 1 ตัน
ขับเคลือ่ น 2 ล้อ
๖๒

ลาดับ ประเภท/รายการ/ขนาดครุภัณฑ์ หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย หมายเหตุ


ที่ (บาท)
- แบบธรรมดา 494,000
- แบบมีช่องว่างด้านหลังคนขับ(CAB) 641,000
- แบบดับเบิล้ แค็บ 745,000
ขับเคลือ่ น 4 ล้อ
- แบบมีช่องว่างด้านหลังคนขับ(CAB) 765,000
- แบบดับเบิล้ แค็บ 896,000
หลังคารถบรรทุก ขนาด 1 ตัน หลัง
1 หลังคาผ้าใบ 12,000
2 หลังคาอะลูมิเนียม 16,000
3 หลังคาไฟเบอร์กลาสหรือเหล็ก 31,000
2.2 ขนาด 2 ตัน
- 4 ล้อ 908,000
- 6 ล้อ 950,000
2.3 ขนาด 3 ตัน 6 ล้อ 1,116,000
2.4 ขนาด 4 ตัน 6 ล้อ 1,210,000
2.5 ขนาด 6 ตัน 6 ล้อ
2.5.1 แบบ กระบะเหล็ก 1,758,000
2.5.2 แบบ กระบะเทท้าย 1,827,000
2.5.3 แบบ บรรทุกน้า 2,000,000
2.6 รถบรรทุกขยะ
ขนาด 1 ตัน
- แบบเปิดข้างเทท้าย 670,000
ขนาด 6 ตัน 6 ล้อ
- แบบเปิดข้างเทท้าย 2,000,000
- แบบอัดท้าย 2,300,000
3 รถโดยสาร คัน
3.1 ขนาด 12 ทีน่ งั่ (ดีเซล) 1,138,000
4 รถจักรยานยนต์ คัน
4.1 ขนาด 100 ซีซ.ี 37,000
4.2 ขนาด 110 ซีซ.ี 39,000
4.3 ขนาด 120 ซีซ.ี 42,000
4.4 ขนาด 140 ซีซ.ี 53,000
4.5 ขนาด 190 ซีซ.ี 69,000
๖๓

ลาดับ ประเภท/รายการ/ขนาดครุภัณฑ์ หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย หมายเหตุ


ที่ (บาท)
รถประจาตาแหน่ง คัน
1 ระดับรองอธิบดี 1,264,000
หรือผู้ดารงตาแหน่งอื่นทีม่ ีฐานะเทียบเท่า
2 ระดับ อธิบดี 1,650,000
รองปลัดกระทรวง
เอกอัครราชทูตประจากระทรวง
ผู้ตรวจราชการระดับกระทรวง
รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง
เลขานุการรัฐมนตรีและ
ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรี
หรือผู้ดารงตาแหน่งอื่นทีม่ ีฐานะเทียบเท่า
3 ระดับปลัดกระทรวง 2,550,000
เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
หรือผู้ดารงตาแหน่งอื่นทีม่ ีฐานะเทียบเท่า
4 ระดับรัฐมนตรี 3,792,000
รองประธานวุฒิสภา
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร
5 ระดับรองนายกรัฐมนตรี 4,272,000
รองประธานรัฐสภา
ผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฏร

ครุภัณฑ์โรงงาน
1 กบไฟฟ้า ตัว
1.1 ขนาด 5 นิว้ 11,800
1.2 ขนาด 6 นิว้ 11,500
2 เครื่องเจีย/ตัด ตัว
2.1 ขนาด 5 นิว้ 5,100
2.2 ขนาด 6 นิว้ 5,500
2.3 ขนาด 7 นิว้ 5,700
2.4 ขนาด 9 นิว้ 5,800
3 เครื่องขัดกระดาษทราย เครื่อง
แบบสัน่
3.1 ขนาด 112 x 225 มิลลิเมตร 5,500
๖๔

ลาดับ ประเภท/รายการ/ขนาดครุภัณฑ์ หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย หมายเหตุ


ที่ (บาท)
แบบสายพาน
3.2 ขนาด 75 มิลลิเมตร 6,000
3.3 ขนาด 100 มิลลิเมตร 10,000
4 เลือ่ ยวงเดือนไฟฟ้า เครื่อง
4.1 ขนาด 8 นิว้ 6,500
4.2 ขนาด 9 นิว้ 7,100
5 เครื่องลอกบัว เครื่อง
5.1 ขนาด 12 มิลลิเมตร 9,000
6 เครื่องตัดเหล็ก เครื่อง
6.1 ขนาด 1.6 มิลลิเมตร 9,000
6.2 ขนาด 2.5 มิลลิเมตร 18,300
7 แม่แรงตะเฆ่ เครื่อง
7.1 ขนาด 2 ตัน 11,000
7.2 ขนาด 3 ตัน 15,000
7.3 ขนาด 5 ตัน 25,000
8 แม่แรงยกกระปุกเกียร์ เครื่อง
8.1 ขนาด 800 กิโลกรัม 23,000
8.2 ขนาด 1,000 กิโลกรัม 25,000
8.3 ขนาด 1,200 กิโลกรัม 30,000
8.4 ขนาด 1,500 กิโลกรัม 47,000

ครุภัณฑ์สานักงาน
1 เครื่องพิมพ์ดีด เครื่อง
แบบธรรมดา
1.1 ขนาดแคร่ 15 นิว้ 12,000
1.2 ขนาดแคร่ 18 นิว้ 14,000
1.3 ขนาดแคร่ 24 นิว้ 25,000
แบบไฟฟ้า
1.4 ชนิดไม่มีหน่วยความจา 19,500
2 เครื่องโทรสาร เครื่อง
แบบใช้กระดาษธรรมดา
2.1 ส่งเอกสารได้ครั้งละ 20 แผ่น 18,000
2.2 ส่งเอกสารได้ครั้งละ 30 แผ่น 30,000
๖๕

ลาดับ ประเภท/รายการ/ขนาดครุภัณฑ์ หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย หมายเหตุ


ที่ (บาท)
3 เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่อง
ระบบดิจิตอล
3.1 ความเร็ว 10 แผ่นต่อนาที 50,000
3.2 ความเร็ว 20 แผ่นต่อนาที 100,000
3.3 ความเร็ว 30 แผ่นต่อนาที 120,000
3.4 ความเร็ว 40 แผ่นต่อนาที 180,000
4 เครื่องพิมพ์สาเนาระบบดิจิตอล เครื่อง
4.1 ความละเอียด 300 x 300 จุดต่อตารางนิว้ 90,000
4.2 ความละเอียด 300 x 400 จุดต่อตารางนิว้ 130,000
4.3 ความละเอียด 400 x 400 จุดต่อตารางนิว้ 180,000
5 เครื่องอัดสาเนา เครื่อง 26,500
6 เครื่องทาลายเอกสาร เครื่อง
6.1 แบบทาลาย 10 แผ่น 21,500
6.2 แบบทาลาย 20 แผ่น 33,000
7 เครื่องเจาะกระดาษและเข้าเล่ม เครื่อง
7.1 แบบเจาะกระดาษและเข้าเล่มมือโยก 14,000
7.2 แบบเจาะกระดาษไฟฟ้าและเข้าเล่มมือโยก 28,500
8 เครื่องบันทึกเงินสด เครื่อง 24,500
9 เครื่องนับธนบัตร เครื่อง
9.1 แบบตัง้ โต๊ะ 55,000
9.2 แบบตัง้ พืน้ 80,000
10 เครื่องปรับอากาศ เครื่อง ราคารวมค่าติดตั้ง
แบบแยกส่วน ค่าติดตั้ง ดูคณ
ุ ลักษณะเฉพาะครุภัณฑ์
ชนิดตัง้ พืน้ หรือชนิดแขวน (มีระบบฟอกอากาศ)
10.1 ขนาด 13,000 บีทีย.ู 23,500 ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5
10.2 ขนาด 15,000 บีทีย.ู 26,000 ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5
10.3 ขนาด 18,000 บีทีย.ู 28,500 ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5
10.4 ขนาด 24,000 บีทีย.ู 33,500 ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5
10.5 ขนาด 30,000 บีทีย.ู 37,500 ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5
10.6 ขนาด 36,000 บีทีย.ู 43,500 ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5
10.7 ขนาด 40,000 บีทีย.ู 50,800
10.8 ขนาด 44,000 บีทีย.ู 52,000
10.9 ขนาด 48,000 บีทีย.ู 55,900
๖๖

ลาดับ ประเภท/รายการ/ขนาดครุภัณฑ์ หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย หมายเหตุ


ที่ (บาท)
10.10 ขนาด 50,000 บีทีย.ู 57,000 สูงกว่า 50,300 บีทียูเป็นนอกมาตรฐาน
ชนิดตูต้ งั้ พืน้ (ไม่มีระบบฟอกอากาศ)
10.11 ขนาด 33,000 บีทีย.ู 44,900
10.12 ขนาด 38,000 บีทีย.ู 46,000
10.13 ขนาด 42,000 บีทีย.ู 50,500
10.14 ขนาด 56,000 บีทีย.ู 58,400 สูงกว่า 60,000 บีทียูเป็นนอกมาตรฐาน
ชนิดติดผนัง (มีระบบฟอกอากาศ)
10.15 ขนาด 12,000 บีทีย.ู 18,700 ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5
10.16 ขนาด 16,000 บีทีย.ู 21,500 ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5
10.17 ขนาด 18,000 บีทีย.ู 24,400 ฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5
10.18 ขนาด 24,000 บีทีย.ู 28,000 สูงกว่า 26,000 บีทียูเป็นนอกมาตรฐาน
11 เครื่องดูดฝุน่ เครื่อง
11.1 ขนาด 15 ลิตร 12,000
11.2 ขนาด 25 ลิตร 15,000
12 เครื่องขัดพื้น เครื่อง 20,000
13 ถังน้า
13.1 แบบไฟเบอร์กลาส ใบ มอก. 435-2548
(1) ขนาด 1,000 ลิตร 9,700
(2) ขนาด 1,500 ลิตร 11,000
(3) ขนาด 2,000 ลิตร 13,000
(4) ขนาด 2,500 ลิตร 18,000
13.2 แบบพลาสติก ใบ มอก. 1379-2551
(1) ขนาด 2,000 ลิตร 8,000

ครุภัณฑ์สารวจ
1 กล้องระดับ ชุด
1.1 ขนาดกาลังขยาย 24 เท่า 24,000
1.2 ขนาดกาลังขยาย 30 เท่า 34,000
2 กล้องวัดมุม ชุด
แบบ ธรรมดา
2.1 ชนิดอ่านค่ามุมได้ละเอียด 1 ลิปดา 78,000
แบบ อิเล็กทรอนิกส์
๖๗

ลาดับ ประเภท/รายการ/ขนาดครุภัณฑ์ หน่วยนับ ราคาต่อหน่วย หมายเหตุ


ที่ (บาท)
2.2 ชนิดอ่านค่ามุมได้ละเอียด 5 พิลิปดา 110,000
(ระบบอัตโนมัติ )
2.3 ชนิดอ่านค่ามุมได้ละเอียด 5 พิลิปดา 97,000
2.4 ชนิดอ่านค่ามุมได้ละเอียด 10 พิลิปดา 85,000
2.5 ชนิดอ่านค่ามุมได้ละเอียด 20 พิลิปดา 80,000

ที่มา: ราคามาตรฐานครุภัณฑ์ ปี 2554 (มีนาคม 2554) สานักงบประมาณ


6๘

เกณฑ์ราคากลางและคุณลักษณะพื้นฐานครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ประจาปีงบประมาณ 2554

1. เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย แบบที่ 1. ราคา 120,000 บาท


คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) แบบ 4 แกนหลัก (4 core) หรือดีกว่า สาหรับคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ย
(Server) โดยเฉพาะและมีความเร็วสัญญาณนาฬิกาไม่นอ้ ยกว่า 2.4 GHz จานวนไม่น้อยกว่า 1 หน่วย
- CPU รองรับการประมวลผลแบบ 64 bit มีหน่วยความจาแบบ Cache Memory ไม่น้อยกว่า 8 MB และมี
ความเร็วบัสไม่น้อยกว่า 1,066 MHz
- มีหน่วยความจาหลัก (RAM) ชนิด ECC DDR3 หรือดีกว่า มีขนาดไม่น้อยกว่า 4 GB
- สนับสนุนการทางาน Raid ไม่น้อยกว่า Raid 0, 1, 5
- มีหน่วยจัดเก็บข้อมูล (Hard Disk) ชนิด SCSI หรือ SAS หรือ SATA หรือดีกว่า มีความเร็วรอบไม่น้อย
กว่า 7,200 รอบต่อนาที และมีขนาดความจุไม่น้อยกว่า 140 GB จานวนไม่น้อยกว่า 2 หน่วย
- มี DVD-ROM หรือดีกว่า จานวน 1 หน่วย
- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100/1,000 Mbps จานวนไม่น้อยกว่า 2 ช่อง
- มีจอภาพแบบ LCD ขนาดไม่น้อยกว่า 17 นิว้ จานวน 1 หน่วย
- มี Power Supply แบบ Redundant Power Supply หรือ Hot Swap จานวน 2 หน่วย
- ติดตัง้ ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการพร้อมใช้งานที่มีลขิ สิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย
2. เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย แบบที่ 2. ราคา 320,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) แบบ 4 แกนหลัก (4 core) หรือดีกว่า สาหรับคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ย
(Server) โดยเฉพาะและมีความเร็วสัญญาณนาฬิกาไม่นอ้ ยกว่า 2.66 GHz จานวนไม่น้อยกว่า 2 หน่วย
- CPU รองรับการประมวลผลแบบ 64 bit มีหน่วยความจาแบบ Cache Memory ไม่น้อยกว่า 8 MB และมี
ความเร็วบัสไม่น้อยกว่า 1,066 MHz
- มีหน่วยความจาหลัก (RAM) ชนิด ECC DDR3 หรือดีกว่า ขนาดไม่น้อยกว่า 16 GB
- สนับสนุนการทางาน Raid ไม่น้อยกว่า Raid 0, 1, 5
- มีหน่วยจัดเก็บข้อมูล (Hard Disk) ชนิด SCSI หรือ SAS หรือดีกว่า ที่มคี วามเร็วรอบไม่น้อยกว่า 10,000
รอบต่อนาที และมีความจุไม่น้อยกว่า 300 GB จานวนไม่น้อยกว่า 4 หน่วย
๖๙

- มี DVD-ROM หรือดีกว่า จานวน 1 หน่วย


- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100/1,000 Mbps จานวนไม่น้อยกว่า 2 ช่อง
- มีจอภาพแบบ LCD ขนาดไม่น้อยกว่า 17 นิว้ จานวน 1 หน่วย
- มี Power Supply แบบ Redundant Power Supply หรือ Hot Swap จานวน 2 หน่วย
- ติดตัง้ ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการพร้อมใช้งานที่มีลขิ สิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย
3. เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย แบบที่ 3. ราคา 620,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) แบบ RISC หรือ EPIC หรือดีกว่า สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ย
(Server) ที่ใช้งานระบบปฏิบัติการ UNIX โดยเฉพาะ และมีความเร็วสัญญาณนาฬิกาไม่นอ้ ยกว่า 1 GHz
จานวนไม่น้อยกว่า 1 หน่วย
- CPU รองรับการประมวลผลแบบ 64 bit และมีหน่วยความจาแบบ Cache Memory ไม่น้อยกว่า 2 MB
- มีหน่วยความจาหลัก (RAM) ชนิด ECC DDR2 หรือดีกว่า มีขนาดไม่น้อยกว่า 4 GB
- สนับสนุนการทางาน Raid ไม่น้อยกว่า Raid 0, 1 และ 5
- มีช่องสาหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์เพิ่มเติมแบบ PCI-X หรือ PCI-E หรือดีกว่า จานวนไม่น้อยกว่า 2ช่อง
- มีหน่วยจัดเก็บข้อมูล (Hard Disk) ชนิด SCSI หรือ SAS หรือดีกว่า มีความเร็วรอบไม่น้อยกว่า 10,000
รอบต่อนาที และมีขนาดความจุไม่น้อยกว่า 140 GB จานวนไม่น้อยกว่า 2 หน่วย
- มี DVD-ROM หรือดีกว่า จานวน 1 หน่วย
- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100/1,000 Mbps จานวนไม่น้อยกว่า 2 ช่อง
- มีจอภาพแบบ LCD ขนาดไม่น้อยกว่า 17 นิว้ จานวน 1 หน่วย
- มี Power Supply แบบ Redundant Power Supply หรือ Hot Swap จานวน 2 หน่วย
- ติดตัง้ ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการแบบ UNIX ที่ไม่จากัดจานวนการเข้าใช้งานบนเครื่องพร้อมใช้งาน โดยมี
ลิขสิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย จานวน 1 หน่วย
4. ตู้สาหรับติดตั้งเครื่องแม่ข่ายชนิด Blade (Enclosure/Chassis) แบบที่ 1. ราคา 380,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- สามารถติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ยชนิด Blade ได้ไม่น้อยกว่า 6 เครื่อง
- มี Interconnect Module ที่ใช้ในการเชื่อมต่อแบบ Ethernet ชนิด Gigabit 10/100/1,000 จานวนไม่
น้อยกว่า 2 หน่วย และ Fiber Channel จานวนไม่น้อยกว่า 2 หน่วย
๗๐

- มีระบบการจ่ายไฟฟ้าแบบ Redundant Power Supply หรือ Hot Swappable เพียงพอสาหรับติดตั้ง


เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ยชนิด Blade เต็มตู้
- มีโปรแกรมสาหรับบริหารจัดการตู้ ที่มลี ิขสิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมายและจานวนสิทธิ (license) ครบตาม
จานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถติดตั้งได้เต็มตู้
5. ตู้สาหรับติดตั้งเครื่องแม่ข่ายชนิด Blade (Enclosure/Chassis) แบบที่ 2. ราคา 700,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- สามารถติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ยชนิด Blade ได้ไม่นอ้ ยกว่า 14 เครื่อง
- มี Interconnect Module ที่ใช้ในการเชื่อมต่อแบบ Ethernet ชนิด Gigabit 10/100/1,000 จานวนไม่
น้อยกว่า 2 หน่วย และ Fiber Channel จานวนไม่น้อยกว่า 2 หน่วย
- มีระบบการจ่ายไฟฟ้าแบบ Redundant Power Supply หรือ Hot Swappable เพียงพอสาหรับติดตัง้
เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ยชนิด Blade เต็มตู้
- มีโปรแกรมสาหรับบริหารจัดการตู้ ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมายและจานวนจานวนสิทธิ (license)
ครบตามจานวนเครื่องที่สามารถติดตั้งได้เต็มตู้
6. แผงวงจรเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ชนิด Blade สาหรับตู้ Enclosure/Chassis แบบที่ 1.
ราคา 170,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ขนาดไม่น้อยกว่า 4 แกนหลัก (4 core) สาหรับคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ย
(Server) โดยเฉพาะและมีความเร็วสัญญาณนาฬิกาไม่นอ้ ยกว่า 2.4 GHz จานวนไม่น้อยกว่า 1 หน่วย
- CPU รองรับการประมวลผลแบบ 64 bit มีหน่วยความจาแบบ Cache Memory ไม่น้อยกว่า 8 MB ต่อ
Processor และมีความเร็วบัสไม่น้อยกว่า 1,066 MHz
- แผงวงจรหลักรองรับ CPU ได้รวมกันไม่นอ้ ยกว่า 2 หน่วย
- มีหน่วยความจาหลัก (RAM) ชนิด ECC DDR3 หรือดีกว่า มีขนาดไม่น้อยกว่า 4 GB
- มีหน่วยจัดเก็บข้อมูล (Hard Disk) ชนิด SAS หรือดีกว่า แบบ SAS Hot-Plug หรือ Hot Swap ที่มคี วามเร็ว
รอบไม่น้อยกว่า 10,000 รอบต่อนาที และมีขนาดความจุไม่น้อยกว่า 140 GB จานวนไม่นอ้ ยกว่า 2 หน่วย
- สนับสนุนการทางาน แบบ Raid ไม่น้อยกว่า Raid 0, 1
- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100/1,000 Mbps จานวนไม่น้อยกว่า 1 ช่อง
- สามารถใช้งาน DVD-ROM, USB device หรือดีกว่า แบบ Virtual Media ได้
๗๑

- มีโปรแกรมสาหรับบริหารจัดการและดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มลี ิขสิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย


- ติดตัง้ ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการพร้อมใช้งานที่มีลขิ สิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย
7. แผงวงจรเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ชนิด Blade สาหรับตู้ Enclosure/Chassis แบบที่ 2.
ราคา 330,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ขนาดไม่น้อยกว่า 4 แกนหลัก (4 core) สาหรับคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ย
(Server) โดยเฉพาะและมีความเร็วสัญญาณนาฬิกาไม่นอ้ ยกว่า 2.4 GHz จานวนไม่น้อยกว่า 2 หน่วย
- CPU รองรับการประมวลผลแบบ 64 bit มีหน่วยความจาแบบ Cache Memory ไม่น้อยกว่า 12 MB ต่อ
Processor และมีความเร็วบัสไม่น้อยกว่า 1,066 MHz
- แผงวงจรหลักรองรับ CPU ได้รวมกันไม่นอ้ ยกว่า 4 หน่วย
- มีหน่วยความจาหลัก (RAM) ชนิด ECC DDR2 หรือดีกว่า มีขนาดไม่น้อยกว่า 8 GB
- มีหน่วยจัดเก็บข้อมูล (Hard Disk) ชนิด SAS หรือดีกว่า แบบ SAS Hot-Plug หรือ Hot Swap ที่มคี วามเร็ว
รอบไม่น้อยกว่า 10,000 รอบต่อนาที และมีขนาดความจุไม่น้อยกว่า 140 GB จานวนไม่น้อยกว่า 2 หน่วย
- สนับสนุนการทางาน แบบ Raid ไม่น้อยกว่า Raid 0, 1
- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100/1,000 Mbps จานวนไม่น้อยกว่า 1 ช่อง
- สามารถใช้งาน DVD-ROM, USB device แบบ Virtual Media ได้
- มีโปรแกรมสาหรับบริหารจัดการและดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มลี ิขสิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย
- ติดตัง้ ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการพร้อมใช้งานที่มีลขิ สิทธิ์ถูกต้องตามกฎหมาย
8. เครื่องคอมพิวเตอร์ สาหรับงานสานักงาน * (จอขนาดไม่น้อยกว่า 18 นิ้ว) ราคา 17,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) มีความเร็วสัญญาณนาฬิกาไม่น้อยกว่า 2.4 GHz หรือดีกว่า จานวน 1 หน่วย
- มีสว่ นควบคุมการแสดงผลที่มหี น่วยความจาไม่น้อยกว่า 128 MB
- มีหน่วยความจาหลัก (RAM) ชนิด DDR3 หรือดีกว่า มีขนาดไม่น้อยกว่า 2 GB
- มีหน่วยจัดเก็บข้อมูล (Hard Disk) ชนิด SATA หรือดีกว่า ขนาดความจุไม่น้อยกว่า 250 GB หรือมี Solid
State Disk ขนาดความจุไม่น้อยกว่า ๓๐ GB จานวน 1 หน่วย
- มี DVD-RW หรือดีกว่า จานวน 1 หน่วย
- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100/1,000 Mbps จานวนไม่น้อยกว่า 1 ช่อง
๗๒

- มีจอภาพแบบ LCD มี Contrast Ratio ไม่น้อยกว่า 600:1 และมีขนาดไม่น้อยกว่า 18 นิว้ จานวน 1 หน่วย
9. เครื่องคอมพิวเตอร์ สาหรับงานประมวลผล แบบที่ 1. * (จอขนาดไม่น้อยกว่า 18 นิ้ว)
ราคา 28,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ไม่น้อยกว่า 2 แกนหลัก (2 core) และมีความเร็วสัญญาณนาฬิกาไม่
น้อยกว่า 2.5 GHz และมีความเร็วของหน่วยความจา หรือมี HTT ขนาดไม่น้อยกว่า 1,066 MHz จานวน 1 หน่วย
- มีหน่วยประมวลผลเพื่อแสดงภาพแยกจากแผงวงจรหลัก ที่มหี น่วยความจาขนาดไม่น้อยกว่า 512 MB
- มีหน่วยความจาหลัก (RAM) ชนิด DDR3 หรือดีกว่า มีขนาดไม่น้อยกว่า 4 GB
- มีหน่วยจัดเก็บข้อมูล (Hard Disk) ชนิด SATA หรือดีกว่า ขนาดความจุไม่น้อยกว่า 500 GB จานวน 1 หน่วย
- มี DVD-RW หรือดีกว่า จานวน 1 หน่วย
- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100/1,000 Mbps จานวนไม่น้อยกว่า 1 ช่อง
- มีจอภาพแบบ LCD มี Contrast Ratio ไม่น้อยกว่า 600:1 และมีขนาดไม่น้อยกว่า 18 นิว้ จานวน 1 หน่วย
10. เครื่องคอมพิวเตอร์ สาหรับงานประมวลผล แบบที่ 2. * (จอขนาดไม่น้อยกว่า 18 นิ้ว)
ราคา 31,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ไม่น้อยกว่า 4 แกนหลัก (4 core) และมีความเร็วสัญญาณนาฬิกาไม่
น้อยกว่า 2.6 GHz และมีความเร็วของหน่วยความจา หรือมี HTT ขนาดไม่น้อยกว่า 1,066 MHz จานวน 1 หน่วย
- มีหน่วยประมวลผลเพื่อแสดงภาพแยกจากแผงวงจรหลัก ที่มหี น่วยความจาขนาดไม่น้อยกว่า 1 GB
- มีหน่วยความจาหลัก (RAM) ชนิด DDR3 หรือดีกว่า มีขนาดไม่น้อยกว่า 4 GB
- มีหน่วยจัดเก็บข้อมูล (Hard Disk) ชนิด SATA หรือดีกว่า ขนาดความจุไม่น้อยกว่า 1 TB จานวน 1 หน่วย
- มี DVD-RW หรือดีกว่า จานวน 1 หน่วย
- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100/1,000 Mbps จานวนไม่น้อยกว่า 1 ช่อง
- มีจอภาพแบบ LCD มี Contrast Ratio ไม่น้อยกว่า 600:1 และมีขนาดไม่น้อยกว่า 18 นิว้ จานวน 1 หน่วย
11. เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ้ค สาหรับงานสานักงาน แบบที่ 1. * ราคา 9,500 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ที่มคี วามเร็วสัญญาณนาฬิกาไม่นอ้ ยกว่า 1.6 GHz จานวน 1 หน่วย
๗๓

- มีหน่วยความจาหลัก (RAM) ชนิด DDR2 หรือดีกว่า ขนาดไม่น้อยกว่า 1 GB


- มีหน่วยจัดเก็บข้อมูล (Hard disk) ขนาดความจุไม่น้อยกว่า 250 GB จานวน 1 หน่วย
- มีจอภาพขนาดไม่นอ้ ยกว่า 10 นิว้
- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100 Mbps หรือดีกว่า จานวนไม่น้อยกว่า 1 ช่อง
- สามารถใช้งานได้ไม่น้อยกว่า WiFi (802.11b, g)
12. เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ้ค สาหรับงานสานักงาน แบบที่ 2. * ราคา 21,500 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ไม่น้อยกว่า 2 แกนหลัก (2 core) ที่มีความเร็วสัญญาณนาฬิกาไม่น้อยกว่า
2.2 GHz และมีความเร็วของหน่วยความจา หรือมี HTT ขนาดไม่น้อยกว่า 1,066 MHz จานวน 1 หน่วย
- มีหน่วยความจาหลัก (RAM) ชนิด DDR3 หรือดีกว่า ขนาดไม่น้อยกว่า 2 GB
- มีหน่วยจัดเก็บข้อมูล (Hard disk) ขนาดความจุไม่น้อยกว่า 300 GB จานวน 1 หน่วย
- มีจอภาพชนิด XGA หรือ WXGA หรือดีกว่า มีขนาดไม่น้อยกว่า 14 นิว้
- มี DVD-RW หรือดีกว่า จานวน 1 หน่วย
- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100/1000 Mbps จานวนไม่น้อยกว่า 1 ช่อง
- สามารถใช้งานได้ไม่น้อยกว่า WiFi (802.11b, g) และ Bluetooth
13. เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ้ค สาหรับงานประมวลผล * ราคา 31,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ไม่น้อยกว่า 4 แกนหลัก (4 core) ที่มีความเร็วสัญญาณนาฬิกาไม่น้อย
กว่า 1.6 GHz และรองรับหน่วยความจา หรือมี HTT ขนาดไม่น้อยกว่า 1,066 MHz จานวน 1 หน่วย
- มีหน่วยความจาหลัก (RAM) ชนิด DDR3 หรือดีกว่า ขนาดไม่น้อยกว่า 4 GB
- มีหน่วยจัดเก็บข้อมูล (Hard disk) ขนาดความจุไม่น้อยกว่า 300 GB จานวน 1 หน่วย
- มีจอภาพชนิด XGA หรือ WXGA หรือดีกว่า มีขนาดไม่น้อยกว่า 12 นิว้
- มี DVD-RW หรือดีกว่า จานวน 1 หน่วย
- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100/1000 Mbps จานวนไม่น้อยกว่า 1 ช่อง
- สามารถใช้งานได้ไม่น้อยกว่า WiFi (802.11b, g) และ Bluetooth
๗๔

14. อุปกรณ์สาหรับจัดเก็บข้อมูลแบบภายนอก (External Storage) ราคา 510,000 บาท


คุณลักษณะพื้นฐาน
- เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่จัดเก็บข้อมูลแบบภายนอก (External Storage) ซึ่งสามารถทางานในระบบ SAN
(Storage Area Network) ได้
- มีหน่วยเก็บข้อมูล (Hard disk) ชนิด SATA หรือ SAS หรือดีกว่า ที่ขนาดความจุไม่น้อยกว่า 140 GB และ
มีความเร็วรอบไม่น้อยกว่า 7,200 รอบต่อนาที จานวนไม่น้อยกว่า 8 หน่วย
- สามารถติดตั้ง Hard Disk ได้สูงสุด 60 หน่วย
- สามารถทางาน แบบ Raid ไม่น้อยกว่า Raid 0, 1, 5
15. ค่าเช่าระบบจัดเก็บ Log File ระบบเครือข่าย แบบที่ 1. ราคา 10,000 บาท/เดือน
คุณลักษณะพื้นฐาน
- สามารถจัดเก็บ Log File จากอุปกรณ์ไม่เกิน 5 อุปกรณ์
- สามารถจัดเก็บ Log File ได้ไม่นอ้ ยกว่า 90 วัน
- กาหนดเวลา (NTP: Network Time Protocol) ให้กับอุปกรณ์เพื่อไม่ให้เกิดความคลาดเคลื่อนกับเวลามาตรฐาน
- สามารถจัดเก็บ Log File ได้ตามพระราชบัญญัติวา่ ด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
16. ค่าเช่าระบบจัดเก็บ Log File ระบบเครือข่าย แบบที่ 2. ราคา 20,000 บาท/เดือน
คุณลักษณะพื้นฐาน
- สามารถจัดเก็บ Log File จากอุปกรณ์ไม่เกิน 10 อุปกรณ์
- สามารถจัดเก็บ Log File ได้ไม่นอ้ ยกว่า 90 วัน
- กาหนดเวลา (NTP: Network Time Protocol) ให้กับอุปกรณ์เพื่อไม่ให้เกิดความคลาดเคลื่อนกับเวลามาตรฐาน
- สามารถจัดเก็บ Log File ได้ตามพระราชบัญญัติวา่ ด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
17. ค่าเช่าระบบจัดเก็บ Log File ระบบเครือข่าย แบบที่ 3. ราคา 30,000 บาท/เดือน
คุณลักษณะพื้นฐาน
- สามารถจัดเก็บ Log File จากอุปกรณ์ไม่เกิน 15 อุปกรณ์
- สามารถจัดเก็บ Log File ได้ไม่นอ้ ยกว่า 90 วัน
- กาหนดเวลา (NTP: Network Time Protocol) ให้กับอุปกรณ์เพื่อไม่ให้เกิดความคลาดเคลื่อนกับเวลามาตรฐาน
- สามารถจัดเก็บ Log File ได้ตามพระราชบัญญัติวา่ ด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
๗๕

18. อุปกรณ์จัดเก็บ Log File ระบบเครือข่าย แบบที่ 1. ราคา 50,000 บาท


คุณลักษณะพื้นฐาน
- เป็นอุปกรณ์ Appliance หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่สามารถเก็บรวบรวมเหตุการณ์ (logs or Events) ที่
เกิดขึ้นในอุปกรณ์ที่เป็น appliances และ non-appliances เช่น Firewall, Network Devices ต่างๆ,
ระบบปฏิบัติการ, ระบบ appliances, ระบบเครือข่าย และระบบฐานข้อมูล เป็นต้น ได้อย่างน้อย 3 อุปกรณ์
ต่อระบบ โดยสามารถแสดงผลอยู่ภายใต้รูปแบบ (format) เดียวกันได้
- มีระบบการเข้ารหัสข้อมูลเพื่อใช้ยนื ยันความถูกต้องของข้อมูลที่จัดเก็บตามมาตรฐาน MD5 หรือ SHA-1
หรือดีกว่า
- สามารถเก็บ Log File ในรูปแบบ Syslog ของอุปกรณ์ เช่น Router, Switch, Firewall, VPN, Server เป็นต้น ได้
- สามารถบริหารจัดการอุปกรณ์ผ่านมาตรฐาน HTTPS, Command Line Interface และ Secure Shell
(SSH) ได้
- สามารถจัดเก็บ Log file ได้ถูกต้อง ตรงตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2550 โดยได้รับรองมาตรฐานการจัดเก็บและรักษาความปลอดภัยของ log file ที่ได้มาตรฐานสากล
เช่น มาตรฐานของศูนย์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (มศอ. 4003.1-2552) เป็นต้น
- สามารถทาการสารองข้อมูล (Data Back up) ไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลภายนอก เช่น Tape หรือ DVD
หรือ External Storage เป็นต้น ได้
19. อุปกรณ์จัดเก็บ Log File ระบบเครือข่าย แบบที่ 2. ราคา 300,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- เป็นอุปกรณ์ Appliance หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่สามารถเก็บรวบรวมเหตุการณ์ (logs or Events) ที่
เกิดขึ้นในอุปกรณ์ทีเ่ ป็น appliances และ non-appliances เช่น Firewall, Network Devices ต่างๆ,
ระบบปฏิบัติการ, ระบบ appliances, ระบบเครือข่าย และระบบฐานข้อมูล เป็นต้น ได้อย่างน้อย 5 อุปกรณ์
ต่อระบบ โดยสามารถแสดงผลอยู่ภายใต้รูปแบบ (format) เดียวกันได้
- มีระบบการเข้ารหัสข้อมูลเพื่อใช้ยืนยันความถูกต้องของข้อมูลที่จัดเก็บตามมาตรฐาน MD5 หรือ SHA-1
หรือดีกว่า
- สามารถเก็บ Log File ในรูปแบบ Syslog ของอุปกรณ์ เช่น Router, Switch, Firewall, VPN, Server เป็นต้น ได้
- สามารถบริหารจัดการอุปกรณ์ผ่านมาตรฐาน HTTPS, Command Line Interface และ Secure Shell
(SSH) ได้
๗๖

- สามารถจัดเก็บ log file ได้ถูกต้อง ตรงตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์


พ.ศ. 2550
โดยได้รับรองมาตรฐานการจัดเก็บและรักษาความปลอดภัยของ log file ที่ได้มาตรฐานสากล เช่น
มาตรฐาน
ของศูนย์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (มศอ. 4003.1-2552) เป็นต้น
- สามารถทาการสารองข้อมูล (Data Back up) ไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลภายนอก เช่น Tape หรือ DVD
หรือ External Storage เป็นต้น ได้
- สามารถจัดเก็บข้อมูลเหตุการณ์ตอ่ วินาที (Events per Seconds) ได้ไม่นอ้ ยกว่า 1,000 eps
20. อุปกรณ์จัดเก็บ Log File ระบบเครือข่าย แบบที่ 3. ราคา 600,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- เป็นอุปกรณ์ Appliance หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่สามารถเก็บรวบรวมเหตุการณ์ (logs or Events) ที่
เกิดขึ้นในอุปกรณ์ที่เป็น appliances และ non-appliances เช่น Firewall, Network Devices ต่าง ๆ,
ระบบปฏิบัติการ, ระบบ appliances, ระบบเครือข่าย และระบบฐานข้อมูล เป็นต้น ได้อย่างน้อย 10
อุปกรณ์ต่อระบบ โดยสามารถแสดงผลอยู่ภายใต้รูปแบบ (format) เดียวกันได้
- มีระบบการเข้ารหัสข้อมูลเพื่อใช้ยนื ยันความถูกต้องของข้อมูลที่จัดเก็บตามมาตรฐาน MD5 หรือ SHA-1
หรือดีกว่า
- สามารถเก็บ Log File ในรูปแบบ Syslog ของอุปกรณ์ เช่น Router, Switch, Firewall, VPN, Server เป็นต้น ได้
- สามารถบริหารจัดการอุปกรณ์ผ่านมาตรฐาน HTTPS, Command Line Interface และ Secure Shell
(SSH) ได้
- สามารถจัดเก็บ log file ได้ถูกต้อง ตรงตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2550 โดยได้รับรองมาตรฐานการจัดเก็บและรักษาความปลอดภัยของ log file ที่ได้มาตรฐานสากล
เช่น มาตรฐานของศูนย์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (มศอ. 4003.1-2552) เป็นต้น
- สามารถทาการสารองข้อมูล (Data Back up) ไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลภายนอก เช่น Tape หรือ DVD
หรือ External Storage เป็นต้น ได้
- สามารถจัดเก็บข้อมูลเหตุการณ์ตอ่ วินาที (Events per Seconds) ได้ไม่นอ้ ยกว่า 5,000 eps
21. อุปกรณ์จัดเก็บ Log File ระบบเครือข่าย แบบที่ 4. ราคา 900,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
๗๗

- เป็นอุปกรณ์ Appliance หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่สามารถเก็บรวบรวมเหตุการณ์ (logs or Events) ที่


เกิดขึ้นในอุปกรณ์ที่เป็น appliances และ non-appliances เช่น Firewall, Network Devices ต่าง ๆ,
ระบบปฏิบัติการ, ระบบ appliances, ระบบเครือข่าย และระบบฐานข้อมูล เป็นต้น ได้อย่างน้อย 15
อุปกรณ์ต่อระบบ โดยสามารถแสดงผลอยู่ภายใต้รูปแบบ (format) เดียวกันได้
- มีระบบการเข้ารหัสข้อมูลเพื่อใช้ยนื ยันความถูกต้องของข้อมูลที่จัดเก็บตามมาตรฐาน MD5 หรือ SHA-1
หรือดีกว่า
- สามารถเก็บ Log File ในรูปแบบ Syslog ของอุปกรณ์ เช่น Router, Switch, Firewall, VPN, Server เป็นต้น ได้
- สามารถบริหารจัดการอุปกรณ์ผ่านมาตรฐาน HTTPS, Command Line Interface และ Secure Shell
(SSH) ได้
- สามารถจัดเก็บ log file ได้ถูกต้อง ตรงตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2550 โดยได้รับรองมาตรฐานการจัดเก็บและรักษาความปลอดภัยของ log file ที่ได้มาตรฐานสากล
เช่น มาตรฐานของศูนย์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (มศอ. 4003.1-2552) เป็นต้น
- สามารถทาการสารองข้อมูล (Data Back up) ไปยังอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลภายนอก เช่น Tape หรือ DVD
หรือ External Storage เป็นต้น ได้
- สามารถจัดเก็บข้อมูลเหตุการณ์ตอ่ วินาที (Events per Seconds) ได้ไม่นอ้ ยกว่า 25,000 eps
22. อุปกรณ์ป้องกันเครือข่าย (Firewall) แบบที่ 1. ราคา 320,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- เป็นอุปกรณ์ Firewall ชนิด Stateful Inspection firewall แบบ Appliance
- มี Throughput ของ Firewall Inspection จานวนไม่น้อยกว่า 250 Mbps
- มีระบบตรวจสอบและป้องกันการบุกรุกรูปแบบต่างๆ อย่างน้อย Syn Flood, UDP Flood, ICMP Flood,
IP Address Spoof, IP Address Sweep, Port Scan, DoS and DDoS, Teardrop Attack, Land Attack,
TCP Fragment, ICMP Fragment เป็นต้น ได้
- สามารถทาการกาหนด IP Address และ Service Port แบบ Network Address Translation (NAT) และ
Port Address Translation (PAT) ได้
- สามารถ Routing แบบ Static, Source based Routing, Policy based Routing, Dynamic Routing ได้
- สามารถบริหารจัดการอุปกรณ์ผ่านมาตรฐาน HTTP, HTTPS ได้เป็นอย่างน้อย
๗๘

- สามารถเก็บรายละเอียดและตรวจสอบการใช้งาน (Logging/Monitoring) โดยเก็บเป็น Syslog ได้


- รองรับมาตรฐาน IPv6
23. อุปกรณ์ป้องกันเครือข่าย (Firewall) แบบที่ 2. ราคา 850,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- เป็นอุปกรณ์ Firewall ชนิด Stateful Inspection firewall แบบ Appliance
- มี Throughput ของ Firewall Inspection จานวนไม่น้อยกว่า 1 Gbps
- สามารถตรวจสอบและป้องกันการบุกรุกรูปแบบต่างๆ อย่างน้อยดังนี้ Syn Flood, UDP Flood, ICMP
Flood, IP Address Spoof, IP Address Sweep, Port Scan, DoS and DDoS, Teardrop Attack, Land
Attack, TCP Fragment, ICMP Fragment เป็นต้นได้
- สามารถทาการกาหนด IP Address และ Service Port แบบ Network Address Translation (NAT) และ
Port Address Translation (PAT) ได้
- สามารถทางานลักษณะ Transparent Mode ได้
- สามารถ Routing แบบ Static, Source based Routing, Policy based Routing, Dynamic Routing ได้
- สามารถบริหารจัดการอุปกรณ์ผ่านมาตรฐาน HTTP, HTTPS ได้เป็นอย่างน้อย
- สามารถเก็บรายละเอียดและตรวจสอบการใช้งาน (Logging/Monitoring) โดยเก็บเป็น Syslog ได้
- มี Power Supply แบบ Redundant หรือ Hot Swap
- รองรับมาตรฐาน IPv6
24. อุปกรณ์ป้องกันและตรวจจับการบุกรุก (Intrusion Prevention System) แบบที่ 1.
ราคา 450,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- เป็นอุปกรณ์ (Hardware Appliance) ที่ออกแบบมาเพื่อป้องกันการบุกรุกทางเครือข่าย (Intrusion
Prevention System)
- สามารถตรวจจับวิธีการบุกรุกและป้องกันเครือข่ายได้อย่างน้อยดังนี้ Signature matching, Protocol /
Packet Anomalies, Statistical anomalies หรือ Application anomalies, Overflow, Worm, Virus,
Backdoor Program, Trojan Horse, Port Scanning, Spy ware, Packet Analysis, DOS, DDOS
- สามารถทางานได้อย่างน้อย 1 segments ใน IPS mode
- มีความเร็วในการตรวจจับ (Throughput) อย่างน้อย 200 Mbps
๗๙

- สามารถทางานได้อย่างต่อเนื่อง (Bypass Traffic) โดยช่องสัญญาณ In-Line Mode สามารถรับส่งข้อมูล


ได้ตามปกติ เมื่ออุปกรณ์เกิดปัญหา
- สามารถบริหารจัดการอุปกรณ์ผ่านมาตรฐาน HTTP, HTTPS ได้เป็นอย่างน้อย
- รองรับมาตรฐาน IPv6
25. อุปกรณ์ป้องกันและตรวจจับการบุกรุก (Intrusion Prevention System) แบบที่ 2.
ราคา 850,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- เป็นอุปกรณ์ (Hardware Appliance) ที่ออกแบบมาเพื่อป้องกันการบุกรุกทางเครือข่าย (Intrusion
Prevention System)
- สามารถทางานได้ในโหมด Passive และ In-line หรือ ดีกว่า
- สามารถตรวจจับวิธีการบุกรุกและป้องกันเครือข่ายได้อย่างน้อยดังนี้ Signature matching, Protocol /
Packet Anomalies, Statistical anomalies หรือ Application anomalies, Overflow, Worm, Virus,
Backdoor Program, Trojan Horse, Port Scanning, Spy ware, Packet Analysis, DoS, DDoS
- สามารถทางานได้อย่างน้อย 3 segments ใน IPS mode
- มีความเร็วในการตรวจจับ (Throughput) อย่างน้อย 1 Gbps
- สามารถทางานได้อย่างต่อเนื่อง (Bypass Traffic) โดยช่องสัญญาณ In-Line Mode สามารถรับส่งข้อมูล
ได้ตามปกติ เมื่ออุปกรณ์เกิดปัญหา
- สามารถบริหารจัดการอุปกรณ์ผ่านมาตรฐาน HTTP, HTTPS ได้เป็นอย่างน้อย
- มี Power Supply จานวนไม่น้อยกว่า 2 ชุด โดยสามารถถอดเปลี่ยนแบบ Hot-Swap ได้
- รองรับมาตรฐาน IPv6
26. อุปกรณ์ป้องกันการบุกรุกเว็บไซต์ (Web Application Firewall) ราคา 650,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- เป็นอุปกรณ์ทาหน้าที่ในการป้องกันด้าน Web Application หรือ Web Service โดยเฉพาะสามารถติดตั้งใน
ตู้เก็บอุปกรณ์มาตรฐานขนาด 19 นิว้ ได้
- มีจุดเชื่อมต่อ Network แบบ 10/100 Base-T หรือดีกว่า จานวนไม่น้อยกว่า 3 Ports
- รองรับการส่งผ่านข้อมูลได้อย่างน้อย 3,000 HTTP ต่อวินาที หรือ 3,000 Transactions ต่อวินาที หรือ
20 Mbps หรือดีกว่า
๘๐

- สามารถบริหารจัดการอุปกรณ์ผ่านทาง Web Base หรือ CLI ได้เป็นอย่างน้อย


- สามารถตรวจจับพฤติกรรมการใช้งาน Web Application ของผู้ที่เข้ามาใช้บริการ Web Application บน
เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ยต่างๆ ได้
- อุปกรณ์ที่นาเสนอจะต้องสามารถทางานแบบ In-Line (Bridge) หรือ Transparent และ Span-mode
(Monitor) สาหรับตรวจสอบพฤติกรรมได้เป็นอย่างน้อย
- มีความสามารถในการทางานและปกป้อง Web Application ต่างๆ ได้ โดยรองรับ HTTP และ HTTPS ได้
เป็นอย่างน้อย
- สามารถส่งข้อมูล Log File แบบ Syslog ได้เป็นอย่างน้อย
- สามารถปรับเทียบเวลา (Sync) กับอุปกรณ์ภายนอกได้
- รองรับการป้องกันการถูกโจมตีดว้ ยวิธีตา่ งๆ ได้อย่างน้อย ดังนี้
- Cross-site Scripting
- Cookie Poisoning
- Buffer Overflow
- SQL infection
- สามารถทารายงานการถูกโจมตีได้ในรูปแบบ HTML หรือ PDF หรือ XLS หรือดีกว่า
27. อุปกรณ์ป้องกันการบุกรุกจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-Mail Security) ราคา 300,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- เป็นอุปกรณ์เพื่อใช้ในการตรวจจับและป้องกัน SPAM และ Virus ของ e-Mail โดยเฉพาะ
- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่ายแบบ 10/100/1000 Base-T หรือดีกว่า จานวนไม่น้อยกว่า 2 Ports
- สามารถทางานในรูปแบบของ SMTP relay ได้เป็นอย่างน้อย
- สามารถรองรับผู้ใช้งานได้ไม่น้อยกว่า 100 บัญชีผใู้ ช้งาน
- สามารถเข้าบริหารจัดการตัวอุปกรณ์ผา่ น HTTPS หรือ Secure Shell (SSH) หรือดีกว่า
- สามารถส่งข้อมูล Log File แบบ Syslog ได้เป็นอย่างน้อย
28. ตู้สาหรับจัดเก็บเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ แบบที่ 1. (ขนาด 36U) ราคา 18,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- เป็นตู้ Rack ปิด ขนาด 19 นิ้ว 36U โดยมีความกว้างไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร ความลึกไม่น้อยกว่า
100 เซนติเมตรและความสูงไม่น้อยกว่า 179 เซนติเมตร
๘๑

- มีช่องเสียบไฟฟ้า จานวนไม่น้อยกว่า 10 ช่อง


29. ตู้สาหรับจัดเก็บเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ แบบที่ 2. (ขนาด 42U) ราคา 21,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- เป็นตู้ Rack ปิด ขนาด 19 นิ้ว 42U โดยมีความกว้างไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร ความลึกไม่น้อยกว่า
90 เซนติเมตรและความสูงไม่น้อยกว่า 200 เซนติเมตร
- มีช่องเสียบไฟฟ้า จานวนไม่น้อยกว่า 12 ช่อง
30. อุปกรณ์กระจายสัญญาณ (L2 Switch) ขนาด 16 ช่อง ราคา 2,200 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีลักษณะการทางานไม่นอ้ ยกว่า Layer 2 ของ OSI Model
- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100 Base-TX หรือดีกว่า จานวนไม่น้อยกว่า 16 ช่อง
- มีสัญญาณไฟแสดงสถานะของการทางานช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่ายทุกช่อง
31. อุปกรณ์กระจายสัญญาณ (L2 Switch) ขนาด 24 ช่อง แบบที่ 1. ราคา 7,800 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีลักษณะการทางานไม่นอ้ ยกว่า Layer 2 ของ OSI Model
- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100 Base-TX หรือดีกว่า จานวนไม่น้อยกว่า 24 ช่อง
- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100/1000 Base-TX จานวนไม่น้อยกว่า 2 ช่อง
- มีสัญญาณไฟแสดงสถานะของการทางานช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่ายทุกช่อง
32. อุปกรณ์กระจายสัญญาณ (L2 Switch) ขนาด 24 ช่อง แบบที่ 2. ราคา 22,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีลักษณะการทางานไม่นอ้ ยกว่า Layer 2 ของ OSI Model
- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100/1000 Base-TX จานวนไม่น้อยกว่า 24 ช่อง
- มีสัญญาณไฟแสดงสถานะของการทางานช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่ายทุกช่อง
- สามารถบริหารจัดการอุปกรณ์ผ่านโปรแกรม Web Browser ได้
33. อุปกรณ์กระจายสัญญาณ (L3 Switch) ขนาด 24 ช่อง ราคา 168,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีลักษณะการทางานไม่นอ้ ยกว่า Layer 3 ของ OSI Model
๘๒

- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100/1000 Base-TX จานวนไม่น้อยกว่า 24 ช่อง


- มีสัญญาณไฟแสดงสถานะของการทางานช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่ายทุกช่อง
- รองรับ Mac Address ได้ไม่นอ้ ยกว่า 8,000 Mac Address
- สามารถบริหารจัดการอุปกรณ์ผ่านโปรแกรม Web Browser ได้
34. เครื่องพิมพ์ชนิด Dot Matrix Printer แบบแคร่สั้น ราคา 20,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีจานวนหัวพิมพ์ไม่นอ้ ยกว่า 24 เข็ม
- มีความยาวของแคร่พิมพ์ไม่นอ้ ยกว่า 10 นิว้
- มีความเร็วขณะพิมพ์รา่ ง ขนาด 10 ตัวอักษรต่อนิว้ ได้ไม่นอ้ ยกว่า 300 ตัวอักษรต่อวินาที
- มีความเร็วขณะพิมพ์ตัวอักษรแบบละเอียดขนาด 10 ตัวอักษรต่อนิว้ ได้ไม่น้อยกว่า 100 ตัวอักษรต่อวินาที
- มีความละเอียดในการพิมพ์แบบ Enhanced Graphics ไม่น้อยกว่า 360 X 360 จุดต่อนิว้
- มี Interface แบบ 1 x Parallel หรือ 1 x USB 1.1 หรือดีกว่า
- มีหน่วยความจาแบบ Input Buffer ไม่น้อยกว่า 128 KB
35. เครื่องพิมพ์ชนิด Dot Matrix Printer แบบแคร่ยาว ราคา 25,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีจานวนหัวพิมพ์ไม่น้อยกว่า 24 เข็มพิมพ์
- มีความยาวของแคร่พิมพ์ไม่นอ้ ยกว่า 15 นิว้
- มีความเร็วขณะพิมพ์รา่ ง ขนาด 10 ตัวอักษรต่อนิว้ ได้ไม่นอ้ ยกว่า 300 ตัวอักษรต่อวินาที
- มีความเร็วขณะพิมพ์ตัวอักษรแบบละเอียด ขนาด 10 ตัวอักษรต่อนิว้ ได้ไม่น้อยกว่า 100 ตัวอักษรต่อวินาที
- มีความละเอียดในการพิมพ์แบบ Enhanced Graphics ไม่น้อยกว่า 360 X 360 จุดต่อนิว้
- มีหน่วยความจา แบบ Input Buffer ไม่น้อยกว่า 128 KB
- มี Interface แบบ 1 x Parallel หรือ 1 x USB 1.1 หรือดีกว่า
36. เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึก (INKJET Printer) ราคา 3,900 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีความละเอียดในการพิมพ์ขาวดาไม่นอ้ ยกว่า 1,200x1,200 dpi
- มีความละเอียดในการพิมพ์สีไม่นอ้ ยกว่า 4,800x1,200 dpi
๘๓

- มีความเร็วในการพิมพ์ขาวดาไม่นอ้ ยกว่า 30 หน้าต่อนาที


- มีความเร็วในการพิมพ์รา่ งขาวดาไม่นอ้ ยกว่า 20 หน้าต่อนาที
- มี Interface แบบ 1 x Parallel หรือ 1 x USB 2.0 หรือดีกว่า
- สามารถใช้ได้กับ A4, Letter, Legal และ Custom โดยถาดใส่กระดาษได้ไม่นอ้ ยกว่า 100 แผ่น
37. เครื่องพิมพ์ชนิดเลเซอร์/ชนิด LED ขาวดา (18 หน้า/นาที) ราคา 5,200 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีความละเอียดในการพิมพ์ไม่นอ้ ยกว่า 600x600 dpi
- มีความเร็วในการพิมพ์ไม่นอ้ ยกว่า 18 หน้าต่อนาที
- มีหน่วยความจา (Memory) ขนาดไม่น้อยกว่า 8 MB
- มี Interface แบบ 1 x Parallel หรือ 1 x USB 2.0 หรือดีกว่า
- สามารถใช้ได้กับ A4, Letter, Legal และ Custom โดยมีถาดใส่กระดาษได้ไม่นอ้ ยกว่า 250 แผ่น
38. เครื่องพิมพ์ชนิดเลเซอร์/ชนิด LED ขาวดา (28 หน้า/นาที) ราคา 9,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีความละเอียดในการพิมพ์ไม่นอ้ ยกว่า 1,200x600 dpi
- มีความเร็วในการพิมพ์ไม่นอ้ ยกว่า 28 หน้าต่อนาที
- มีหน่วยความจา (Memory) ขนาดไม่น้อยกว่า 16 MB
- มี Interface แบบ 1 x Parallel หรือ 1 x USB 2.0 หรือดีกว่า
- สามารถใช้ได้กับ A4, Letter, Legal และ Custom โดยมีถาดใส่กระดาษได้ไม่นอ้ ยกว่า 250 แผ่น
39. เครื่องพิมพ์ชนิดเลเซอร์/ชนิด LED ขาวดา (พิมพ์กลับหน้าอัตโนมัติ) ราคา 12,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีความละเอียดในการพิมพ์ไม่นอ้ ยกว่า 1,200x600 dpi
- มีความเร็วในการพิมพ์ไม่นอ้ ยกว่า 30 หน้าต่อนาที
- สามารถพิมพ์เอกสารกลับหน้าอัตโนมัติได้
- มีหน่วยความจา (Memory) ขนาดไม่น้อยกว่า 32 MB
- มี Interface แบบ 1 x Parallel หรือ 1 x USB 2.0 หรือดีกว่า
- สามารถใช้ได้กับ A4, Letter, Legal และ Custom โดยมีถาดใส่กระดาษได้รวมกันไม่นอ้ ยกว่า 250 แผ่น
๘๔

40. เครื่องพิมพ์ชนิดเลเซอร์/ชนิด LED ขาวดา แบบ Network แบบที่ 1. (33 หน้า/นาที)


ราคา 22,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีความละเอียดในการพิมพ์ไม่นอ้ ยกว่า 1,200x1,200 dpi
- มีความเร็วในการพิมพ์ไม่นอ้ ยกว่า 33 หน้าต่อนาที
- มีหน่วยความจา (Memory) ขนาดไม่น้อยกว่า 64 MB
- มี Interface ไม่น้อยกว่า 1 x Parallel หรือ 1 x USB 2.0 และ 1x Ethernet 10/100 Base TX
- สามารถใช้ได้กับ A4, Letter, Legal และ Custom โดยมีถาดใส่กระดาษได้ไม่น้อยกว่า 250 แผ่น
41. เครื่องพิมพ์ชนิดเลเซอร์/ชนิด LED ขาวดา แบบ Network แบบที่ 2. (40 หน้า/นาที)
ราคา 42,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีความละเอียดในการพิมพ์ไม่นอ้ ยกว่า 1,200x1,200 dpi
- มีความเร็วในการพิมพ์ไม่นอ้ ยกว่า 40 หน้าต่อนาที
- มีหน่วยความจา (Memory) ขนาดไม่น้อยกว่า 128 MB
- มี Interface ไม่น้อยกว่า 1 x Parallel หรือ 1 x USB 2.0 และ 1x Ethernet 10/100 Base TX
- สามารถใช้ได้กับ A4, Letter, Legal และ Custom โดยมีถาดใส่กระดาษได้ไม่นอ้ ยกว่า 500 แผ่น
42. เครื่องพิมพ์ชนิดเลเซอร์/ชนิด LED สี แบบ Network ราคา 22,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีความละเอียดในการพิมพ์ไม่นอ้ ยกว่า 600x600 dpi
- มีความเร็วในการพิมพ์สีไม่นอ้ ยกว่า 20 หน้าต่อนาที
- มีความเร็วในการพิมพ์ขาวดาไม่นอ้ ยกว่า 20 หน้าต่อนาที
- มีหน่วยความจา (Memory) ขนาดไม่น้อยกว่า 64 MB
- มี Interface ไม่น้อยกว่า 1x Parallel หรือ 1 x USB 2.0 และ 1 x Ethernet 10/100 Base TX
- สามารถใช้ได้กับ A4, Letter, Legal และ Custom โดยมีถาดใส่กระดาษได้ไม่นอ้ ยกว่า 250 แผ่น
43. เครื่องพิมพ์ Multifunction แบบฉีดหมึก (Inkjet) ราคา 6,500 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
๘๕

- เป็นอุปกรณ์ที่มคี วามสามารถเป็น Printer, Copier และ Scanner ภายในเครื่องเดียวกัน


- ใช้เทคโนโลยีแบบพ่นหมึก (inkjet)
- มีความละเอียดในการพิมพ์ไม่นอ้ ยกว่า 4,800x1,200 dpi
- มีความเร็วในการพิมพ์สีไม่นอ้ ยกว่า 24 หน้าต่อนาที
- มีความเร็วในการพิมพ์ขาวดาไม่นอ้ ยกว่า 30 หน้าต่อนาที
- สามารถสแกนเอกสาร ขนาด A4 (ขาวดา-สี) ได้
- มีความละเอียดในการสแกนสูงสุด ไม่น้อยกว่า 1,200x2,400 dpi
- สามารถถ่ายสาเนาเอกสารได้ทั้งสีและขาวดา
- สามารถทาสาเนาได้สูงสุด 99 สาเนา
- สามารถย่อและขยายได้ 25 ถึง 400 เปอร์เซ็นต์
- สามารถใช้ได้กับ A4, Letter, Legal และ Custom โดยถาดใส่กระดาษได้ไม่นอ้ ยกว่า 100 แผ่น
44. เครื่องพิมพ์ Multifunction ชนิดเลเซอร์/ชนิด LED สี ราคา 28,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- เป็นอุปกรณ์ที่มคี วามสามารถเป็น Printer, Copier, Scanner และ FAX ภายในเครื่องเดียวกัน
- ใช้เทคโนโลยีแบบเลเซอร์ หรือ แบบ LED
- มีหน่วยความจา (Memory) ขนาดไม่น้อยกว่า 128 MB
- มี Interface อย่างน้อย 1 x USB 2.0 และ 1 x Ethernet 10/100 Base TX
- มีความละเอียดในการพิมพ์ไม่นอ้ ยกว่า 600x600 dpi
- มีความเร็วในการพิมพ์สีไม่นอ้ ยกว่า 20 หน้าต่อนาที
- มีความเร็วในการพิมพ์ขาวดาไม่นอ้ ยกว่า 20 หน้าต่อนาที
- สามารถสแกนเอกสาร ขนาด A4 (ขาวดา และ สี) ได้
- มีความละเอียดในการสแกนสูงสุด ไม่น้อยกว่า 1,200x1,200 dpi
- มีสามารถถ่ายสาเนาเอกสารได้ทั้งสีและขาวดา
- สามารถทาสาเนาได้สูงสุด 99 สาเนา
- สามารถย่อและขยายได้ 25 ถึง 400 เปอร์เซ็นต์
- สามารถใช้ได้กับ A4, Letter, Legal และ Custom โดยถาดใส่กระดาษได้ไม่นอ้ ยกว่า 250 แผ่น
๘๖

45. สแกนเนอร์ สาหรับงานเก็บเอกสารทั่วไป แบบที่ 1. ราคา 2,600 บาท


คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีความละเอียดในการสแกนสูงสุด ไม่น้อยกว่า 2,400x4,800 dpi
- สามารถสแกนเอกสารได้ไม่นอ้ ยกว่ากระดาษขนาด A4
- มี Interface แบบ 1 x Parallel หรือ 1 x USB 2.0 หรือดีกว่า
46. สแกนเนอร์ สาหรับงานเก็บเอกสารทั่วไป แบบที่ 2. ราคา 4,300 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีความละเอียดในการสแกนสูงสุด ไม่น้อยกว่า 4,800x9,600 dpi
- สามารถแสดงภาพหลังจากการสแกนภายใน ไม่เกิน 10 วินาที
- สามารถสแกนเอกสารได้ไม่นอ้ ยกว่ากระดาษขนาด A4
- มี Interface แบบ 1 x Parallel หรือ 1 x USB 2.0 หรือดีกว่า
47. สแกนเนอร์ สาหรับงานเก็บเอกสารระดับศูนย์บริการ แบบที่ 1 ราคา 19,900 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- เป็นสแกนเนอร์ชนิด Flatbed ป้อนกระดาษอัตโนมัติ (Document Feeder)
- มีความละเอียดในการสแกนสูงสุด ไม่น้อยกว่า 600x600 dpi
- มีความเร็วในการสแกนกระดาษขนาด A4 ได้ไม่นอ้ ยกว่า 8 ppm
- สามารถสแกนเอกสารได้ไม่นอ้ ยกว่ากระดาษขนาด A4
- มี Interface แบบ 1 x Parallel หรือ 1 x USB 2.0 หรือดีกว่า
48. สแกนเนอร์ สาหรับงานเก็บเอกสารระดับศูนย์บริการ แบบที่ 2 ราคา 35,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- เป็นสแกนเนอร์ชนิดป้อนกระดาษอัตโนมัติ (Document Feeder)
- สามารถสแกนเอกสารได้ 2 หน้าแบบอัตโนมัติ
- มีความละเอียดในการสแกนสูงสุด ไม่น้อยกว่า 600x600 dpi
- มีความเร็วในการสแกนกระดาษขนาด A4 ได้ไม่นอ้ ยกว่า 30 ppm
- สามารถสแกนเอกสารได้ไม่นอ้ ยกว่ากระดาษขนาด A4
- มี Interface แบบ 1 x Parallel หรือ 1 x USB 2.0 หรือดีกว่า
๘๗

49. จอภาพแบบ LCD หรือ LED ขนาดไม่น้อยกว่า 18 นิ้ว ราคา 4,300 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีขนาดไม่น้อยกว่า 18 นิว้
- รองรับความละเอียดการแสดงผลไม่น้อยกว่า 1,366 X 768 Pixel
- มี Refresh Rate ไม่น้อยกว่า 60 Hz
50. จอภาพแบบ LCD หรือ LED ขนาดไม่น้อยกว่า 20 นิ้ว ราคา 4,600 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีขนาดไม่น้อยกว่า 20 นิว้
- รองรับความละเอียดการแสดงผลไม่น้อยกว่า 1,600 X 900 Pixel
- มี Refresh Rate ไม่น้อยกว่า 60 Hz
51. จอภาพแบบ LCD หรือ LED ขนาดไม่น้อยกว่า 21.5 นิ้ว ราคา 6,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีขนาดไม่น้อยกว่า 21.5 นิว้
- รองรับความละเอียดการแสดงผลไม่น้อยกว่า 1,920 X 1,080 Pixel
- มี Refresh Rate ไม่น้อยกว่า 60 Hz
52. เครื่องสารองไฟฟ้า ขนาด 750 VA ราคา 3,300 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีกาลังไฟฟ้าด้านนอกไม่น้อยกว่า 750 VA / 450 W หรือดีกว่า
- สามารถสารองไฟฟ้าได้ไม่นอ้ ยกว่า 15 นาที
53. เครื่องสารองไฟฟ้า ขนาด 1 KVA ราคา 5,800 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีกาลังไฟฟ้าด้านนอกไม่น้อยกว่า 1KVA / 600 W หรือดีกว่า
- สามารถสารองไฟฟ้าได้ไม่นอ้ ยกว่า 15 นาที
54. เครื่องสารองไฟฟ้า ขนาด 2 KVA ราคา 21,100 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีกาลังไฟฟ้าด้านนอกไม่น้อยกว่า 2KVA / 1,200W หรือดีกว่า
๘๘

- มีแรงดัน Input (VAC) 220+/-27% หรือดีกว่า


- มีแรงดัน Output (VAC) 220+/-5% หรือดีกว่า
- สามารถสารองไฟฟ้าที่ Full Load ได้ไม่นอ้ ยกว่า 5 นาที
55. เครื่องสารองไฟฟ้า ขนาด 3 KVA ราคา 45,000 บาท
คุณลักษณะพื้นฐาน
- มีกาลังไฟฟ้าด้านนอกไม่น้อยกว่า 3KVA / 2,100W หรือดีกว่า
- มีแรงดัน Input (VAC) 220+/-25% หรือดีกว่า
- มีแรงดัน Output (VAC) 220+/-5% หรือดีกว่า
- สามารถสารองไฟฟ้าที่ Full Load ได้ไม่นอ้ ยกว่า 5 นาที
56. ชุดโปรแกรมระบบปฏิบัติการสาหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์พร้อมแผ่น CD-ROM ชุดติดตัง้
ราคา 3,800 บาท
57. ชุดโปรแกรมระบบปฏิบัติการสาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ขา่ ย (Server) พร้อมแผ่น CD-ROM ชุดติดตัง้
ราคา 20,000 บาท
58. ชุดโปรแกรมจัดการสานักงาน พร้อมแผ่น CD-ROM ชุดติดตัง้ ราคา 10,000 บาท
59. การจัดหาระบบคอมพิวเตอร์หรือครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ทดแทน ต้องผ่านการใช้งานมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี
60. ให้พิจารณาใช้งานซอฟต์แวร์ประเภท Open Source แทนการจัดหาครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ประเภท
ซอฟต์แวร์สาเร็จรูป

หมายเหตุ * ลักษณะการใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ้ค
1. เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ้ค สาหรับงานสานักงาน
ลักษณะการใช้งาน
1.1 งานป้อนข้อมูล หรือแสดงผลทั่วไป
1.2 งานเอกสารในสานักงาน เช่น สร้าง แก้ไข ดัดแปลง พิมพ์ เป็นต้น
1.3 งานบันทึก สารอง และสืบค้นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
1.4 งานแสดงผลการค้นหาความรู้ และความบันเทิงทั่วไป
1.5 งานสืบค้นและแสดงผลข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย หรือระบบอินเทอร์เน็ต
๘๙

1.6 งานสื่อสารโทรคมนาคมพืน้ ฐาน เช่น การรับส่งข้อมูล โทรสาร ข้อความสั้น เป็นต้น


1.7 งานอื่นๆ ซึ่งไม่ต้องใช้ประสิทธิภาพการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และความสามารถพิเศษ
เฉพาะด้านอย่างชัดเจน
2. เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับงานประมวลผล แบบที่ 1. (Computing) หรือ เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ้ค
สาหรับงานประมวลผล
ลักษณะการใช้งาน
2.1 งานคานวณผลทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์
2.2 งานประมวลผลข้อมูลทางสถิติ
2.3 งานด้านการคานวณ และสร้างแบบจาลองสาหรับงานด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์
2.4 งานสร้างต้นแบบงานวิศวกรรม และงานสถาปัตยกรรม
2.5 งานสร้างแบบจาลองที่อาจจะเกิดขึน้ เพื่อวิเคราะห์ คานวณ และออกแบบการทางานด้านวิศวกรรม
2.6 งานสร้างแบบจาลองลอจิกทางเศรษฐศาสตร์
2.7 งานสร้างแบบจาลองทางด้านดาราศาสตร์ และการแพทย์
2.8 งานแปลโปรแกรมระดับสูง (Compile)
2.9 งานอื่นๆ ซึ่งต้องอาศัยความสามารถทางด้านการคานวณอย่างชัดเจน
3. เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับงานประมวลผล แบบที่ 2. (ผลิตสื่อประสม (Multimedia)) หรือ เครื่อง
คอมพิวเตอร์โน้ตบุ้ค สาหรับงานประมวลผล
ลักษณะการใช้งาน
3.1 งานเอกสารที่ตอ้ งใช้ความสามารถระดับสูงสาหรับจัดการแฟ้มข้อมูลกราฟิกส์ เช่น การจัดหน้า
เอกสารสาหรับงานพิมพ์ การจัดทาโปสเตอร์ เป็นต้น
3.2 งานตัดต่อสื่อประสมชนิดแฟ้มข้อมูลเสียง (Sound) หรือแฟ้มข้อมูลวีดิทัศน์ (Video)
3.3 งานเข้าหรือถอดรหัส (Encoder/Decoder) สื่อประสมชนิดแฟ้มข้อมูลเสียง หรือ แฟ้มข้อมูลวีดิทัศน์
3.4 งานจัดสร้างมัลติมีเดียคอนเทนต์ (Multimedia Content)
3.5 งานสร้างสื่อประสมประเภทภาพเคลื่อนไหว (Animation Multimedia)
3.6 งานอื่นๆ ที่ตอ้ งใช้ความสามารถของการประมวลผลทางด้านกราฟิกส์อย่างชัดเจน

ที่มา www.mict.go.th มีผลบังคับใช้ 11 พฤษภาคม 2554


๙๐
อัตราราคางานต่อหน่วย
(งานดาเนินการเอง)
ราคางานต่อหน่วย
ลาดับที่ เรื่อง หน่วย หมายเหตุ
(บาท)
งานปลูกป่า - โครงสร้างงานมีองค์ประกอบ
1. งานปลูกป่า บาท/ไร่ 3,800 ของค่าจ้างชั่วคราว ค่าใช้สอย
2. งานปลูกป่าใช้สอย บาท/ไร่ 5,000 และค่าวัสดุ
3. งานปลูกป่าเพื่อการวิจัย บาท/ไร่ 5,200
4. งานปลูกป่าชายเลน บาท/ไร่ 6,200
5. งานปลูกเสริมและปรับปรุงสภาพป่าชายเลน บาท/ไร่ 3,400
6. งานจัดทาแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้ป่าชายเลน บาท/ไร่ 2,690
7. งานบารุงป่า (อายุ 2-6 ปี) บาท/ไร่ 1,000
8. งานบารุงป่า (อายุ 7-10 ปี) บาท/ไร่ 480
9. งานบารุงป่าใช้สอย บาท/ไร่ 900
10. งานบารุงป่าเพื่อการวิจัย บาท/ไร่ 1,000
11. งานบารุงป่าชายเลน บาท/ไร่ 1,100
12. งานบารุงแปลงปลูกเสริมและปรับปรุงสภาพป่าชายเลน บาท/ไร่ 640
13. งานบารุงแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้ป่าชายเลน บาท/ไร่ 770
14. งานจัดทาเขตพิทักษ์ป่าชายเลน รักษ์สตั ว์น้า บาท/ไร่ 400
15. งานเพาะชากล้าไม้ บาท/กล้า 2.79
16. งานเพาะชากล้าไมด้วยถาดและเพาะชาระบบรากลอย บาท/กล้า 2.00
17. งานจัดทากล้าไม้ขนาดใหญ่ (กล้าไม้ปีที่ 2) บาท/กล้า 7
18. งานก่อสร้างแนวกันไฟ บาท/กม. 5,000
19. งานจัดสร้างแปลงผลิตเมล็ดไม้ในพื้นที่สวนป่าธรรมชาติ บาท/ไร่ 1,270
20. งานจัดสร้างแปลงผลิตเมล็ดไม้ในพื้นที่สวนป่าของรัฐ บาท/ไร่ 1,500
21. งานบารุงรักษาแปลงผลิตเมล็ดไม้ในพื้นที่ บาท/ไร่ 570
สวนป่าของรัฐ
22. งานปรับปรุงระบบนิเวศน์ตน้ น้า บาท/ไร่ 970
23. งานบารุงรักษาระบบนิเวศน์ตน้ น้า (2-6 ปี) บาท/ไร่ 660
24. งานบารุงรักษาระบบนิเวศน์ตน้ น้า (7-10 ปี) บาท/ไร่ 450
25. งานปลูกสร้างสวนผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้ป่า บาท/ไร่ 4,490
26. งานปลูกสร้างสวนผลิตเมล็ดพันธุ์ไม้ป่า(อายุ 2-6 ปี) บาท/ไร่ 1,000
27. งานบารุงป่าเสริมธรรมชาติ (7-10 ปี) บาท/ไร่ 260
๙๑

ราคางานต่อหน่วย
ลาดับที่ เรื่อง หน่วย หมายเหตุ
(บาท)

งานก่อสร้างฝายต้นนา
1. ฝายต้นน้าแบบผสมผสาน บาท/แห่ง 5,000
2. ฝายต้นน้าแบบกึง่ ถาวร บาท/แห่ง 25,000
3. ฝายต้นน้าแบบถาวร บาท/แห่ง 50,000

ที่มา: อัตราราคางานต่อหน่วย ปี 2554 (มีนาคม 2554) สานักงบประมาณ


(ยกเว้นงานก่อสร้างฝายต้นน้า ที่อา้ งอิงจากสานักงบประมาณจัดสรรเงินงบประมาณให้)

You might also like