You are on page 1of 16

บริษทั เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)

ส่วนที่ 1

ข้อมูลสรุป (Executive Summary)


บริษทั เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)
ส่วนที่ 1
ข้อมูลสรุป (Executive Summary)

ข้อมูลสรุปสำคัญนี้ เป็ นส่วนหนึ่ งของแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และหนังสือชี้ชวน


ซึ่งเป็ นเพียงข้อมูลสรุปเกี่ยวกับการเสนอขาย ลักษณะและความเสี่ยงของบริ ษทั ที่ออกและเสนอขายหลักทรัพย์
(“บริ ษทั ฯ”) ดังนัน้ ผูล้ งทุนต้องศึกษาข้อมูลในรายละเอียดจากหนังสือชี้ชวนฉบับเต็มซึ่งสามารถขอได้จากผูจ้ ดั
จำหน่ ายหลักทรัพย์ หรือบริ ษทั ฯ หรืออาจศึกษาข้อมูลได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวนที่
บริ ษทั ฯ ยื่นต่อสำนักงาน ก.ล.ต. ได้ที่ website ของสำนักงาน ก.ล.ต.

ข้อมูลสรุปของการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชน
บริ ษทั เบริ ล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)
(ระยะเวลาการเสนอขาย : วันที่ [•] – [•] 2564)

ข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขาย
ผูเ้ สนอขาย : บริษทั เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน) (“บริษทั ฯ”)
ประเภทธุรกิจ : ที่ปรึ กษาด้าน Digital Transformation ให้บริ การแบบครบวงจรในด้านการบริ หารจัดการความสัมพันธ์ก บั
ลูกค้า (“CRM”), การวิเคราะห์ขอ้ มูล และเทคโนโลยีดิจิทลั มีความเชี่ยวชาญเป็ นพิเศษเกี่ยวกับระบบ CRM ที่
ใช้ซอฟต์แวร์ Salesforce และเป็ นตัวแทนจำหน่ายซอฟต์แวร์ของบริ ษทั ชั้นนำ เช่น Salesforce,
Google, MuleSoft, และ Tableau

จำนวนหุ้นที่เสนอขาย : 50,000,000 หุน้ คิดเป็ นร้อยละ 25.00 ของจำนวนหุน้ สามัญทีอ่ อกและเรียกชำระ


แล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ ภายหลังการเสนอขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนครัง้ นี้
สัดส่วนการเสนอขายหุ้น : (1) เสนอขายต่อบุคคลตามดุลยพินิจของผูจ้ ดั จำหน่ายหลักทรัพย์ จำนวน [•]
หุน้ คิดเป็ นร้อยละ [•] ของจำนวนหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ สนอขาย
(2) เสนอขายต่อผูม้ อี ปุ การคุณของบริษทั ฯ จำนวน [•] หุน้ คิดเป็นร้อยละ [•] ของ
จำนวนหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ สนอขาย
(3) เสนอขายต่อกรรมการ ผูบ้ ริหาร และ/หรือพนักงานของบริษทั ฯ จำนวน [•] หุน้
คิดเป็นร้อยละ [•] ของจำนวนหุน้ ทัง้ หมดทีเ่ สนอขาย
เงื่อนไขในการจัดจำหน่ าย :  รับประกันการจำหน่ายอย่างแน่นอนทัง้ จำนวน (Firm Underwriting)
 ไม่รบั ประกันการจำหน่าย (Best Effort)
ราคาเสนอขายต่อประชาชน : [•] บาท/หุน้
มูลค่าการเสนอขาย : [•] บาท
การเสนอขายหุ้นหรือหลักทรัพย์แปรสภาพในช่วง 90 วันก่อนหน้ า :  ไม่มี  มี
มูลค่าที่ตราไว้ (par) : 0.50 บาท/หุน้
มูลค่าตามบัญชี (book value) : [•] บาท/หุน้ คำนวณจากมูลค่าส่วนของเจ้าของของบริษทั ฯ ณ วันที่ 30 มิถุนายน
2564 ซึง่ เท่ากับ [•] ล้านบาท หารด้วยจำนวนหุน้ ทีอ่ อกและเรียกชำระแล้วทัง้ หมด
ของบริษทั ฯ จำนวน 150.00 ล้านหุน้ ก่อนการเสนอขายหุน้ ต่อประชาชนในครัง้ นี้
ทัง้ นี้ เมือ่ วันที่ [•] พ.ศ. 2564 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ได้มมี ติอนุมตั กิ าร
จ่ายเงินปนั ผลระหว่างกาลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ในอัตราหุน้ ละ [•] บาท รวม
เป็ นจำนวนเงินทัง้ สิน้ [•] ล้านบาท ภายหลังจากการจ่ายเงินปนั ผลดังกล่าว จะ

ส่วนที่ 1 หน้าที่ 1
บริษทั เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)
ทำให้มลู ค่าตามบัญชีต่อหุน้ เท่ากับ [•] บาท/หุน้
การเสนอขายหุ้นหรือหลักทรัพย์แปลงสภาพในช่วง 6 เดือนก่อนหน้ ายื่นคำขออนุญาตต่อสำนักงานจนถึงช่วง
เสนอขาย
บริษทั ฯ ได้เสนอขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจำนวน [•] หุน้ ให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิมตามสัดส่วนรายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ ทีป่ รากฏ
อยูใ่ นทะเบียนรายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ ณ วันที่ [•] 2564 ในราคาหุน้ ละ 0.50 บาท โดยมีอตั ราส่วนการจองซือ้ [•] หุน้ เดิม ต่อ 1
หุน้ ใหม่ โดยบริษทั ฯ ได้จดทะเบียนทุนดังกล่าวเมือ่ วันที่ [•] 2564 ส่งผลให้ทุนจดทะเบียนของบริษทั ฯ เท่ากับ
75,000,000 บาท

ที่มาของการกำหนดราคาเสนอขายและข้อมูลทางการเงิ นเพื่อประกอบการประเมิ นราคาหุ้นที่เสนอขาย


[•]
ทัง้ นี้ อัตราส่วนราคาหุน้ ต่อกําไรสุทธิต่อหุน้ ดังกล่าวคํานวณจากผลประกอบการในอดีต โดยทีย่ งั มิได้
พิจารณาถึงผลการดําเนินงานในอนาคต ซึง่ เป็ นปจั จัยสำคัญปจั จัยหนึ่งทีน่ กั ลงทุนควรพิจารณาประกอบการตัดสินใจ
การลงทุน

สัดส่วนหุ้นของ “ผูม้ ีส่วนร่วมในการบริ หาร” ที่ไม่ติด silent period: ไม่เกินจำนวน [•] หุน้ คิดเป็ นไม่เกินร้อยละ [•]
ของจำนวนหุน้ ทีอ่ อกและเรียกชำระแล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ ภายหลังการเสนอขายหุน้ เพิม่ ทุนในครัง้ นี้
ตลาดรอง :  SET  MAI
หมวดธุรกิ จ (sector) : เทคโนโลยี (TECH)
เกณฑ์การเข้าจดทะเบียน :  Profit Test  Market Capitalization Test

วัตถุประสงค์การใช้เงิ น :
จำนวนเงิ นที่ใช้โดย
ระยะเวลาที่ใช้เงิ นโดย
วัตถุประสงค์การใช้เงิ น ประมาณ
ประมาณ
(ล้านบาท)
1. ขยายสาขาไปยังต่างประเทศ [•] ภายในปี [•]
2. ลงทุนและพัฒนาผลิตภัณฑ์ [•] ภายในปี [•]
3. ลงทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจหรือธุรกิจอื่นเพื่อเสริมสร้างศักยภาพทางธุรกิจ [•] ภายในปี [•]
4. ใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนของบริษทั ฯ [•] ภายในปี [•]
รวม [•]

นโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย :


บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีนโยบายจ่ายเงินปนั ผลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 40.00 ของกำไรสุทธิจากงบเฉพาะ
กิจการภายหลังหักภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล และเงินสำรองต่างๆ ทัง้ หมดแล้ว ทุกประเภทตามทีกำ ่ หนดไว้ในกฎหมายและ
ข้อบังคับของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย
อย่างไรก็ตาม การจ่ายเงินปนั ผลดังกล่าวอาจมีการเปลีย่ นแปลงได้ขน้ึ อยูก่ บั ความจำเป็ น และความเหมาะสม
อื่นๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั เห็นสมควร ทัง้ นี้ การจ่ายเงินปนั ผลประจำปีจะต้องได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้
เว้นแต่เป็ นการจ่ายเงินปนั ผลระหว่างกาล ซึง่ คณะกรรมการบริษทั อาจอนุ มตั ใิ ห้จา่ ยเงินปนั ผลระหว่างกาลได้เป็ นครัง้
คราวเมือ่ เห็นว่าบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยมีกำไรเพียงพอทีจ่ ะทำเช่นนัน้ ได้ และให้รายงานการจ่ายเงินปนั ผลระหว่างกาล

ส่วนที่ 1 หน้าที่ 2
บริษทั เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)
ดังกล่าวให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ รับทราบในคราวถัดไป

รายละเอียดเกี่ยวกับผูเ้ สนอขายหลักทรัพย์:
บริษทั ฯ ก่อตัง้ เมือ่ วันที่ 30 ตุลาคม 2552 ด้วยทุนจดทะเบียนชำระแล้วเริม่ แรก 1.00 ล้านบาท ประกอบธุรกิจที่
ปรึกษาด้าน Digital Transformation ให้บริการแบบครบวงจรในด้านการบริหารจัดการความสัมพันธ์กบั ลูกค้า (“CRM”),
การวิเคราะห์ขอ้ มูล และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มีความเชีย่ วชาญเป็ นพิเศษเกีย่ วกับระบบ CRM ทีใ่ ช้ซอฟต์แวร์ Salesforce
และเป็ นตัวแทนจำหน่ายซอฟต์แวร์ของบริษทั ชัน้ นำ เช่น Salesforce Google MuleSoft และ Tableau
ในช่วงเริม่ ต้นของการประกอบธุรกิจ บริษทั ฯ ให้บริการออกแบบติดตัง้ ซอฟต์แวร์ Salesforce ซึง่ เป็ นระบบ
CRM เป็ นรายแรกๆ ของประเทศไทย เนื่องจากเห็นว่าหลักการสำคัญในการทำให้ธุรกิจประสบความสำเร็จได้ ผู้
ประกอบการจะต้องสามารถสร้างความพึงพอใจให้แก่ลกู ค้าทีม่ าใช้บริการ ประกอบกับได้เห็นโอกาสจากการทีม่ ผี ู้
ประกอบการในต่างประเทศหลายรายประสบความสำเร็จในการสร้างยอดขายให้เติบโตขึน้ ได้จากการเลือกใช้ซอฟต์แวร์
ระบบ CRM ในการบริหารความสัมพันธ์กบั ลูกค้า ดังนัน้ จึงเชือ่ มันว่ ่ าระบบ CRM จะมีประโยชน์แก่ธุรกิจและผู้
ประกอบการไทยเช่นกันและมีอตั ราการเติบโตในแง่ผใู้ ช้งานสูงเช่นเดียวกันกับในประเทศสหรัฐอเมริกาซึง่ เป็ นประเทศที่
มีผคู้ ดิ ค้นซอฟต์แวร์ดงั กล่าว
ภายหลังการก่อตัง้ บริษทั ฯ ในปี 2552 กิจการได้มกี ารเติบโตขึน้ อย่างต่อเนื่อง และในปี 2556 บริษทั ฯ ได้รบั
งานบริการทีป่ รึกษาในการติดตัง้ ซอฟต์แวร์ Salesforce ให้แก่ลกู ค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมบริการทางการเงินเป็ นครัง้ แรก
ในปีต่อมา บริษทั ฯ ได้ขยายการบริการไปยังลูกค้าต่างประเทศ และจัดตัง้ บริษทั ย่อยในประเทศสหรัฐอเมริกาเพือ่ รองรับ
การขยายงานในอนาคต พร้อมกับนำระบบ CRM มาใช้ภายในองค์กร เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหารงานภายใน
องค์กร
ในปี 2558 บริษทั ฯ ได้เริม่ ตัง้ ทีมพัฒนาธุรกิจเพือ่ รองรับการเติบโตของบริษทั ฯ และได้เข้าทำสัญญาเพือ่ เป็ น
ตัวแทนจำหน่ายของซอฟต์แวร์ Salesforce อย่างเป็ นทางการ (Reseller agreement) รวมทัง้ ได้เข้าเป็ นพันธมิตร
(Partner) กับ Mulesoft ซึง่ เป็ นระบบทีจ่ ะเชือ่ มต่อซอฟต์แวร์ หรือแอพลิเคชันต่่ างๆ เข้าด้วยกัน รวมถึงการเชือ่ มต่อ
Salesforce กับแอพพลิเคชัน ข้อมูล อุปกรณ์ต่างๆ ของลูกค้า ซึง่ จะทำให้ลกู ค้าสามารถใช้งานแอพพลิเคชันต่ ่ างๆ ได้
อย่างมีประสิทธิภาพและสะดวกมากยิง่ ขึน้ ต่อมา ในปี 2559 บริษทั ฯ ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็ น Salesforce Platinum
Partner (ปจั จุบนั ได้มกี ารเปลีย่ นชื่อเรียกเป็ น Summit แทน) และดำรงสถานะดังกล่าวเป็ นเวลา 4 ปีตดิ ต่อกันจนถึง
ปจั จุบนั ซึง่ สะท้อนให้เห็นถึงการได้รบั ความไว้วางใจจาก Salesforce ให้เป็ นตัวแทนจำหน่ายและให้บริการผลิตภัณฑ์
แก่ลกู ค้าในประเทศไทย
บริษทั ฯ ได้สง่ เสริมและให้ความสำคัญในการสร้างนวัตกรรมภายในองค์กร โดยเฉพาะการพัฒนาซอฟต์แวร์
ภายในด้วยพนักงานของบริษทั ฯ เพือ่ ต่อยอดการให้บริการแก่ลกู ค้า เช่น โปรแกรม Chatbot สามารถตอบคำถามและ
ให้บริการลูกค้าได้ทุกช่องทางและสามารถรับมือกับผูใ้ ช้บริการจำนวนมากได้อย่างรวดเร็ว โปรแกรม Salesforce-Line
Integration สามารถสร้างระบบ Loyalty management อย่างไร้รอยต่อระหว่าง Platform Line กับ Salesforce ในการ
ให้บริการลูกค้า โปรแกรม Tenant Management สามารถพัฒนาระบบการทำงานของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์แบบครบ
วงจร ตัง้ แต่กระบวนการหาลูกค้าจนถึงการเซ็นต์สญ ั ญา โปรแกรม Omni Channel Package สามารถรวมการทำงาน
ของตัวแทนบริการลูกค้าในพืน้ ทีก่ ารทำงานทัง้ หมดไว้ในคอนโซลเดียว ตัวแทนสามารถจัดการเคสได้เร็วขึน้ ติดตาม
ประวัตขิ องลูกค้า ดูแดชบอร์ด ทัง้ หมดในมุมมองเดียว และ โปรแกรม Telesales Management ซอฟต์แวร์สนับสนุน
กระบวนการทำงาน และประสิทธิภาพของทีมงานขายภาคพืน้ ทีแ่ ละผ่านโทรศัพท์
ในขณะเดียวกัน บริษทั ฯ ยังคงมุง่ มันสร้
่ างโอกาสในการขยายธุรกิจไปยังต่างประเทศ การพัฒนาผลิตภัณฑ์
ใหม่ และการแสวงหาพันธมิตรใหม่ๆ ในปี 2563 บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั ย่อยทีป่ ระเทศเวียดนาม และได้รบั การแต่งตัง้
ให้เป็ นตัวแทนจำหน่ายซอฟต์แวร์ Salesforce เป็ นรายแรกในประเทศเวียดนาม

ส่วนที่ 1 หน้าที่ 3
บริษทั เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)
ณ วันที่ 18 มิถุนายน 2564 บริษทั ฯ มีทุนจดทะเบียน 100.00 ล้านบาท และทุนชำระแล้ว 75.00 ล้านบาท ทัง้ นี้
บริษทั ฯ ได้ดำเนินการแปรสภาพเป็ นบริษทั มหาชนจำกัด เมือ่ วันที่ 28 พฤษภาคม 2564 และได้เปลีย่ นชือ่ เป็ น บริษทั
เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)

ผูถ้ ือหุ้น:
รายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ก่อนและภายหลังการเสนอขายหุน้ ทีอ่ อกใหม่ต่อประชาชน
ก่อนการเสนอขายหุ้น ภายหลังจากการเสนอขายหุ้น
รายชื่อผูถ้ ือหุ้น ต่อประชาชน ต่อประชาชน
จำนวน (หุ้น) ร้อยละ จำนวน (หุ้น) ร้อยละ
1. กลุ่มเทวินทรภักติ
1.1 นายอภิเษก เทวินทรภักติ 60,150,991 40.10 60,150,991 30.08
1.2 นางสาวพิมพ์กานต์ ปุญญเจริญสิน 1 29,064,903 19.38 29,064,903 14.53
1.3 BE Ventures Capital Limited 2 9,990,000 6.66 9,990,000 5.00
2. นางสาวนิธนิ าถ สินธุเดชะ 10,593,648 7.06 10,593,648 5.30
3. นายวรวิญญ์ เทวินทรภักติ 10,409,693 6.94 10,409,693 5.20
4. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ 7,974,994 5.32 7,974,994 3.99
5. นางสาวอมลยา ผุสสราค์มาลัย 7,206,711 4.80 7,206,711 3.60
6. Salesforce Ventures LLC 3 4 (“SFV”) 5,000,116 3.33 5,000,116 2.50
7. นายวศิน ศรีศุกรี 3,462,684 2.31 3,462,684 1.73
8. นายนพดล โสธนกุล 649,253 0.43 649,253 0.32
9. นางชาลิกา โคมิน 649,253 0.43 649,253 0.32
10. นายชอน เพลเยอร์ วูลฟ์แมน 605,970 0.40 605,970 0.30
11. ผูถ้ อื หุน้ อื่นๆ จำนวน 18 ราย 4,241,784 2.83 4,241,784 2.12
รวมก่อนเสนอขายหุ้นแก่ประชาชน 150,000,000 100.00 150,000,000 75.00
12. ประชาชนทัวไป ่ - - 50,000,000 25.00
รวมหลังเสนอขายหุ้นแก่ประชาชน 200,000,000 100.00
หมายเหตุ: 1
นางสาวพิมพ์กานต์ ปุญญเจริญสิน เป็นคูส่ มรสของนายอภิเษก เทวินทรภักติ
2
BE Ventures Capital Limited เป็นนิตบิ ุคคลทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายของหมูเ่ กาะบริตชิ เวอร์จนิ (The British Virgin Islands) เพือ่ ประกอบ
ธุรกิจ การลงทุนในบริษทั ต่างๆ (Holding Company) โดยมี นายอภิเษก เทวินทรภักติ เป็นผูถ้ อื หุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 100.00
3
SFV เป็นนิตบิ ุคคลทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายของรัฐเดลาแวร์ สหรัฐอเมริกา เพือ่ ประกอบธุรกิจ การลงทุนในบริษทั ต่างๆ (Holding Company)
โดยมี Salesforce Holdings LLC เป็นผูถ้ อื หุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 100.00
4
Salesforce Holdings LLC เป็นนิตบิ ุคคลทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายของรัฐเดลาแวร์ สหรัฐอเมริกา เพือ่ ประกอบธุรกิจ การลงทุนในบริษทั
ต่างๆ (Holding Company) โดยมี Salesforce.com, inc. เป็นผูถ้ อื หุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 100.00

สัดส่วนรายได้:
โครงสร้างรายได้จากการดำเนินงานของบริษทั ฯ ตามงบการเงินรวมสามารถสรุปได้ในตารางดังต่อไปนี้
ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 3 เดือน ปี 2563 3 เดือน ปี 2564
ประเภทของรายได้
ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ ล้านบาท ร้อยละ
รายได้จากงานบริการให้ 132.51 62.63 194.05 62.30 191.44 61.25 48.06 60.14 49.94 57.19
คำปรึกษาด้านกลยุทธ์
และเทคโนโลยี
(Technology and
Strategy Consulting)
รายได้จากงานด้าน 78.54 37.12 116.38 37.36 120.35 38.51 31.68 39.65 37.32 42.74
บริการเทคโนโลยี
(Technology Service)
− รายได้จากการขาย 54.97 25.98 62.25 19.98 58.80 18.81 16.76 20.97 19.39 22.21

ส่วนที่ 1 หน้าที่ 4
บริษทั เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)
สิทธิการใช้และการ
เช่าใช้สทิ ธิการใช้
งาน (License and
Subscription)

− รายได้จากงาน 23.57 11.14 54.13 17.38 61.55 19.69 14.93 18.68 17.93 20.53
สนับสนุนและดูแล
ระบบเทคโนโลยี
(Support and
Maintenance)
และ การจัดหา
บุคลากร
เทคโนโลยี
(Managed
Service)

รายได้จากการให้ 211.05 99.75 310.43 99.66 311.79 99.76 79.75 99.79 87.26 99.93
บริ การ
รายได้อ่นื (1) 0.52 0.25 1.05 0.34 0.76 0.24 0.17 0.21 0.06 0.07
รายได้รวม 211.57 100.00 311.49 100.00 312.54 100.00 79.92 100.00 87.32 100.00
หมายเหตุ : (1) รายได้อ่นื ๆ เช่น ดอกเบีย้ รับ กำไร(ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ น และกำไร (ขาดทุน) จากการ
จำหน่ายสินทรัพย์เป็ นต้น

ส่วนที่ 1 หน้าที่ 5
บริษทั เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)

คณะกรรมการบริ ษทั :
คณะกรรมการบริษทั ณ วันที่ 31 มีนาคม 2564 ประกอบด้วยกรรมการ 9 ท่าน ดังนี้
รายชื่อ ตำแหน่ ง
1. นายชัชวาลย์ เจียรวนนท์ ประธานคณะกรรมการบริษทั
2. นายตรีขวัญ บุนนาค กรรมการ กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
3. นายฉัตรพี ตันติเฉลิม กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
4. นายอุดมศักดิ ์ อภิชาติธนพัฒน์ กรรมการ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ
5. นายกานต์ ปุญญเจริญสิน กรรมการ
6. นางสาวนิธนิ าถ สินธุเดชะ กรรมการ
7. นายอภิเษก เทวินทรภักติ กรรมการ
8. นายชอน เพลเยอร์ วูลฟ์แมน กรรมการ
9. นายวศิน ศรีศุกรี กรรมการ
โดยมีนางสาวอัญชลี อินทร์ธำรงทำหน้าทีเ่ ป็ นเลขานุการบริษทั

สรุปปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ:
ความเสีย่ งด้านการประกอบธุรกิจ
1. ความเสี่ยงจากการพึ่งพิ ง Supplier ในฐานะผูพ้ ฒ
ั นาระบบซอฟท์แวร์หลักของบริ ษทั ฯ
ธุรกิจหลักของบริษทั ฯ คือการให้บริการทีป่ รึกษาด้าน Digital Transformation Solution โดยบริการหลักที่
สำคัญคือ การออกแบบและติดตัง้ ระบบ CRM โดยมีพนั ธมิตรสำคัญได้แก่ Salesforce ซึง่ เป็ นผูใ้ ห้บริการแพลตฟอร์ม
CRM อันดับหนึ่งของโลก โดยบริษทั ฯ ได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็ นตัวแทนประเภทตัวแทนจำหน่าย (Salesforce Reseller
Partner : “Reseller Partner”) และเป็ นระดับ Summit ของ Salesforce เพียงไม่กร่ี ายของภูมภิ าค
จากการที่ Salesforce เป็ นหนึ่งในซัพพลายเออร์ (“Supplier”) หลักในการจัดหาซอฟท์แวร์เพื่อพัฒนาระบบ
การทำงานให้แก่ลกู ค้า หากในกรณีทบ่ี ริษทั ฯ ไม่ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็ น Reseller Partner อย่างเป็ นทางการ อาจส่ง
ผลกระทบกับการให้บริการด้านต้นทุนค่าสิทธิการใช้ เนื่องจากบริษทั ฯ ต้องซือ้ สิทธิการใช้งาน (Platform License
Subscription) จาก Salesforce หรือจากตัวแทนจำหน่ายรายอื่น ในราคาทีอ่ าจสูงขึน้ ซึง่ อาจส่งผลกระทบกับต้นทุนการ
ให้บริการทีเ่ พิม่ ขึน้
อย่างไรก็ดี หากพิจารณาสัดส่วนรายได้จากการขายสิทธิการใช้งาน Salesforce สำหรับปี 2561-2563 และ
ไตรมาส 1 ปี 2564 มีสดั ส่วนเพียงร้อยละ 26.7, 20.1 และ 18.9 และ 22.2 ของรายได้รวมของบริษทั ฯ ตามลำดับ ดัง
นัน้ หากต้นทุนดังกล่าวเพิม่ ขึน้ ก็สง่ ผลกระทบไม่มากนักกับการดำเนินธุรกิจโดยรวมของบริษทั ฯ
ทัง้ นี้ ทีผ่ า่ นมาบริษทั ฯ เป็ นพันธมิตรทีด่ กี บั Salesforce มาอย่างต่อเนื่องกว่า 10 ปี โดยได้รบั การแต่งตัง้ ให้
เป็ นตัวแทนประเภท Reseller ตัง้ แต่ปี 2558 และยกระดับเป็ น Platinum Partner (ปจั จุบนั ได้มกี ารเปลีย่ นชือ่ เรียกเป็ น
Summit แทน) ในปี 2559 จนถึงปจั จุบนั และในเดือนธันวาคม 2563 Salesforce Ventures LLC ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อย
ของ Salesforce.com ได้เข้าถือหุน้ ในบริษทั ฯ เป็ นรายแรกในอาเซียนเพือ่ รองรับการขยายตัวของธุรกิจดิจทิ ลั แสดงให้
เห็นถึงความสัมพันธ์ในฐานะคูค่ า้ ทีม่ คี วามสำคัญของ Salesforce รายหนึ่งเช่นกัน
นอกจากนี้ ด้วยแพลตฟอร์ม Salesforce เป็ นระบบบริหารความสัมพันธ์ลกู ค้าทีไ่ ด้รบั การยอมรับในระดับโลก
เป็ นระบบทีม่ ปี ระสิทธิภาพและความปลอดภัยสูง การออกแบบโซลูชนและพัั่ ฒนาระบบเพือ่ ตอบสนองความต้องการของ
ลูกค้าจำเป็ นต้องอาศัยผูท้ ม่ี คี วามรู้ ความชำนาญ และประสบการณ์ ซึง่ บริษทั ฯ ถือเป็ นคูค่ า้ รายใหญ่รายหนึ่งของ

ส่วนที่ 1 หน้าที่ 6
บริษทั เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)
Salesforce ในประเทศไทย ทีส่ ามารถออกแบบและให้บริการตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างครบวงจร
ทัง้ นี้ หากมีเหตุให้ในอนาคตบริษทั ฯ ไม่ได้เป็ น Reseller Partner กับ Salesforce แล้ว บริษทั ฯ ยังมีทมี
บุคลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในการให้คำปรึกษา ออกแบบและพัฒนา ระบบงานหรือแพลตฟอร์มอื่นๆ ทีส่ ามารถใช้เพือ่
ทดแทนการทำงานในระบบ CRM รวมทัง้ ซอฟท์แวร์อ่นื ๆ ทีไ่ ด้รบั ความนิยมหรือสามารถนำมาพัฒนาเพื่อให้บริการกับ
ลูกค้าตามกลยุทธ์ทกำ ่ี หนดร่วมกับลูกค้าตามแผน Digital Transformation ทีว่ างไว้

2. ความเสี่ยงจากสัดส่วนรายได้หลักมาจากกลุ่มลูกค้ารายใหญ่จำนวนน้ อยราย
ในช่วง 3 ปีทผ่ี า่ นมา (2561 – 2563) บริษทั ฯ ให้บริการเป็ นทีป่ รึกษาและติดตัง้ งานระบบให้แก่ลกู ค้ารวมกว่า
250 โครงการ มีลกู ค้ารวมกว่า 146 ราย แบ่งเป็ นกลุ่มลูกค้าขนาดใหญ่1จำนวน 38 ราย และลูกค้าขนาด SMEs2
จำนวน 108 ราย โดยกลุ่มลูกค้าขนาดใหญ่เป็ นกลุ่มทีม่ มี ลู ค่าการใช้บริการกับบริษทั ฯ เป็ นจำนวนมากในแต่ละปี โดย
ในช่วงปี 2561 – 2563 และไตรมาสแรกปี 2564 ลูกค้ารายใหญ่ 5 ลำดับแรก มีสดั ส่วนรายได้ประมาณร้อยละ 58.17
66.13 และ 60.90 และ 51.63 ตามลำดับ ซึง่ แม้บริษทั ฯ จะมีการพึง่ พิงรายได้จากกลุ่มลูกค้ารายใหญ่ขา้ งต้น แต่
ลูกค้ารายใหญ่ในแต่ละปี จะแตกต่างกันไป จากลักษณะของการให้บริการทีเ่ ป็ นโครงการทีแ่ บ่งเป็ นช่วงระยะเวลา
(phase) ซึง่ ลูกค้าบางรายมีการแบ่งโครงการออกเป็ นประมาณ 1 – 3 ปี
ทัง้ นี้ กลุ่มลูกค้ารายใหญ่ของบริษทั ฯ เป็ นบริษทั ขนาดใหญ่ เช่น กลุ่มสถาบันการเงิน และกลุ่มพลังงาน
เป็ นต้น รวมทัง้ มีหลายรายทีเ่ ป็ นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เช่น ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)
ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) บริษทั ปตท. จำกัด (มหาชน) จึงมีฐานะทางการเงินทีม่ นคงและมี ั่ ความเสีย่ งต่ำ

ในการเรียกเก็บเงิน อย่างไรก็ดี หากลูกค้ารายใหญ่ของบริษทั ฯ ประสบปญหาทางธุรกิจ ก็อาจส่งผลกระทบกับผล
ประกอบการของบริษทั ฯ ได้เช่นกัน ดังเช่นในช่วงปี ทผ่ี ่านมา ซึง่ บริษทั ฯ ได้รบั ผลกระทบจากลูกค้าใหญ่รายหนึ่ง ซึง่
ประกอบธุรกิจสายการบินและได้เข้าสูก่ ระบวนการฟื้นฟูกจิ การภายใต้การพิจารณาของศาลล้มละลายกลาง และบริษทั ฯ
ได้บนั ทึกค่าเผือ่ ผลขาดทุนด้านเครดิตทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ ของลูกหนี้การค้ารายดังกล่าวเต็มมูลค่าจำนวน 40.48 ล้าน
บาท ส่งผลให้กำไรของบริษทั ฯ ลดลงจากปีก่อนหน้าอย่างมีนยั สำคัญ
บริษทั ฯ ตระหนักถึงความเสีย่ งจากการมีรายได้หลักมาจากกลุ่มลูกค้ารายใหญ่เป็ นอย่างดี จึงได้มแี ผนทีจ่ ะ
ขยายฐานกลุ่มลูกค้าเพิม่ ขึน้ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะมีการกำหนดให้เพิม่ ลูกค้าในกลุ่มลูกค้ารายใหญ่
อย่างน้อยปีละ 1 ราย และในขณะเดียวกันได้ทำการวางแผนทางธุรกิจระยะยาวกับลูกค้าเพือ่ ให้แน่ใจว่าแผนการลงทุนมี
ประสิทธิภาพและมีการพัฒนาต่อยอดในแต่ละปี เพือ่ กระจายและลดความเสีย่ งดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง

3. ความเสี่ยงจากความไม่สม่ำเสมอของรายได้
ด้วยธุรกิจหลักของบริษทั ฯ เป็ นการให้บริการคำปรึกษาด้าน Digital Transformation แก่ลกู ค้า ซึง่ เป็ น
ลักษณะงานโครงการและมีระยะเวลาดำเนินการทีแ่ ตกต่างกันขึน้ อยูก่ บั ขัน้ ตอน ความซับซ้อน และลักษณะความ
ต้องการ (Requirement) ของลูกค้าเป็ นหลัก โดยการให้บริการจะครอบคลุมตัง้ แต่ งานด้านการให้คำปรึกษาวาง
กลยุทธ์ดา้ น Digital Strategy งานด้านการให้บริการออกแบบและพัฒนาระบบ (Implementation) รวมถึงงานให้บริการ
ด้านเทคโนโลยี เช่น งานด้านการขายสิทธิการใช้และการให้เช่าใช้สทิ ธิการใช้งาน (License and Subscription) งาน
ด้านการดูแลและสนับสนุนการใช้งานระบบและการจัดหาบุคลากรทางเทคโนโลยี (MA and Managed Service)
จากลักษณะของการประกบธุรกิจของบริษทั ฯ ดังกล่าว ซึง่ มีลกั ษณะเป็ นงานโครงการ ดังนัน้ หากในบางปีท่ี
เกิดภาวะเศรษกิจผันผวน ลูกค้าชะลอการลงทุนหรือชะลอการใช้จา่ ย รวมถึงกรณีทม่ี กี ารแข่งขันกันในตลาด ลูกค้าก็
อาจเลื่อนการใช้บริการหรือไม่เลือกใช้บริการของบริษทั ฯ จึงอาจส่งผลกระทบกับรายได้และผลประกอบการของบริษทั ฯ
ได้เช่นกัน
อย่างไรก็ดี ในการนำเสนอบริการให้แก่ลกู ค้า บริษทั ฯ มีนโยบายในการนำเสนอทัง้ งานบริการและให้คำ
1
ลูกค้าขนาดใหญ่ หมายถึงกลุ่มผูป้ ระกอบการทีม่ รี ายได้มากกว่า 500 ล้านบาทต่อปี
2
ลูกค้าขนาด SMEs หมายถึงกลุ่มผูป้ ระกอบการทีม่ รี ายได้ 100 - 500 ล้านบาทต่อปี
* ระดับตัวแทนจำหน่ ายของ Salesforce แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ( Base, Ridge, Crest, Summit) โดยมีการให้คะแนนจาก 4 หลักเกณฑ์ทกำ ่ี หนดโดย Salesforce เช่น
ความสำเร็จของลูกค้า (Customer Success) นวัตกรรม (Innovation) การเติบโตของธุรกิจ (Growth) และลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย (Lead) เป็นต้น

ส่วนที่ 1 หน้าที่ 7
บริษทั เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)
ปรึกษาด้านกลยุทธ์และเทคโนโลยีควบคูก่ บั งานด้านบริการเทคโนโลยี โดยงานด้านบริการเทคโนโลยี จะมีรายได้จาก
การขายสิทธิในการใช้ใบอนุญาตการใช้โปรแกรม รวมถึงรายได้จากการให้บริการดูแลรักษาระบบ (Maintenance
Service) การจัดหาบุคลากร ซึง่ เป็ นรายได้แบบต่อเนื่อง (Recurring income) ซึง่ จะช่วยลดความเสีย่ งจากความผันผวน
ของรายได้ได้ดขี น้ึ ทัง้ นี้ รายได้จากส่วนงานด้านบริการเทคโนโลยีเพิม่ ขึน้ คิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 37.21 ร้อยละ 37.49
และร้อยละ 38.60 ของรายได้จากการให้บริการ ในปี 2561 – 2563 ตามลำดับ
นอกจากนี้ หากพิจารณาจากรายได้รวมจากการให้บริการของบริษทั ฯ ในช่วง 3 ปีทผ่ี า่ นมา (ปี 2561 –
ปี 2563) พบว่าบริษทั ฯ มีรายได้ทเ่ี ติบโตอย่างต่อเนื่อง จาก 211.05 ล้านบาทในปี 2561 เป็ น 310.43 ล้านบาทในปี
2562 และ 311.79 ล้านบาทในปี 2563 ซึง่ แม้วา่ ในช่วงปี 2563 ได้เกิดภาวะชะลอตัวทางเศรษฐกิจจากปญั หาการแพร่
ระบาดของเชือ้ ไวรัส COVID-19 แต่บริษทั ฯ ก็ยงั สามารถมีรายได้เพิม่ ขึน้ เล็กน้อยเมือ่ เปรียบเทียบกับปีทผ่ี ่านมา โดย
ปจั จัยสำคัญมาจากกลุ่มลูกค้ารายใหญ่สว่ นใหญ่ของบริษทั ฯ เป็ นกลุ่มบริษทั ขนาดใหญ่ทม่ี สี ถานะทางการเงินทีม่ นคง ั่
เช่น กลุ่มสถาบันการเงินชัน้ นำหลายแห่งของประเทศ และกลุ่มธุรกิจพลังงาน เป็ นต้น รวมทัง้ กลุ่มลูกค้ามีการกระจาย
ตัวอยูใ่ นหลายอุตสาหกรรม ทำให้แม้ในบางอุตสาหกรรมจะได้รบั ผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจ แต่บริษทั ฯ ยังสามารถ
บริหารจัดการให้มรี ายได้เติบโตได้
ทัง้ นี้ ด้วยคุณภาพการให้บริการทีส่ ามารถตอบสนองต่อลูกค้าได้อย่างครบวงจร ทำให้บริษทั ฯ เชือ่ มันว่
่ ากลุ่มผู้
ประกอบการจะพิจารณาบริษทั ฯ เป็ นตัวเลือกทีสำ ่ คัญหากต้องการใช้บริการ อีกทัง้ ด้วยทิศทางและแนวโน้มการ
เปลีย่ นแปลงของธุรกิจทีจ่ ะมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้มากขึน้ ธุรกิจการให้บริการของบริษทั ฯ จึงยังมีโอกาสในการ
เติบโตทีด่ เี ช่นกัน

4. ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
ด้วยธุรกิจหลักของบริษทั ฯ เป็ นการให้บริการคำปรึกษาด้าน Digital Transformation ซึง่ อยูใ่ นกลุ่ม
อุตสาหกรรมเทคโนโลยีทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว และในปจั จุบนั เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทต่างๆกับหลายๆ
ธุรกิจรวมถึงในชีวติ ประจำวันอย่างมาก ดังนัน้ หากมีการเปลีย่ นแปลงในเทคโนโลยีทเ่ี กีย่ วข้องและหากบริษทั ฯ ไม่
สามารถปรับตัวให้ทนั กับเทคโนโลยีทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป ก็อาจส่งผลกระทบกับการประกอบธุรกิจของบริษทั ฯ ได้อย่างมี
นัยสำคัญ
ทัง้ นี้ จากการทีบ่ ริษทั ฯ เป็ นพันธมิตรกับผูใ้ ห้บริการแพลดฟอร์มต่างๆ เช่น Salesforce Google Tableau ทำ
ให้บริษทั ฯ ได้ตดิ ตามข่าวสารและข้อมูลในเรือ่ งแนวโน้มของการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีจากพันธมิตรซึง่ เป็ นผูใ้ ห้
บริการแพลตฟอร์มและเป็ นผูนำ ้ ของอุตสาหกรรมระดับโลกในทางหนึ่ง พร้อมทัง้ ยังคงหาพันธมิตรใหม่ๆ เข้ามาช่วย
เสริมให้บริษทั มีทางเลือกในผลิตภัณฑ์ต่างๆ อีกทัง้ บริษทั ฯ ยังมีหน่วยงานทีม่ หี น้าทีใ่ นการติดตาม ศึกษาและนำมา
พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ของบริษทั ฯ พร้อมทัง้ พัฒนาบุคลกรให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจในเทคโนโยลีทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลง
อย่างต่อเนื่องในอีกทางหนึ่ง
5. การพึ่งพิ งผูบ้ ริ หารและบุคลากร
ธุรกิจการให้บริการของบริษทั ฯ ต้องอาศัยความรู้ ความเข้าใจใน Software รวมถึงทักษะ และประสบการณ์ใน
การให้บริการติดตัง้ ระบบให้สามารถเชือ่ มต่อกับระบบต่างๆ เพือ่ ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้า รวมทัง้ การดูแล
รักษา และการติดต่อประสานงานให้ความช่วยเหลือแก่ลกู ค้าเมือ่ เกิดปญั หาจากการใช้งานระบบ ดังนัน้ ทรัพยากร
บุคคลจึงเป็ นสิง่ สำคัญ และบริษทั ฯ จะมีความเสีย่ งหากบริษทั ฯ ต้องสูญเสียทรัพยากรบุคคลไป
บริษทั ฯ ให้ความสำคัญในการดูแลทรัพยากรบุคคล โดยได้มนี โยบาย Succession plan สำหรับผูบ้ ริหารระดับ
สูงเพือ่ ให้เกิดความต่อเนื่องในธุรกิจ มีแผนในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร รวมถึงการให้ผลตอบแทนทีเ่ หมาะสม
สามารถแข่งขันกับตลาดได้ เพือ่ ลดความเสีย่ งจากการสูญเสียพนักงานจากการลาออกของบริษทั ฯ โดยในช่วง 3 ปีท่ี
ผ่านมา มีอตั ราการลาออกจากงานของพนักงาน (“Turnover ratio”) เฉลีย่ ร้อยละ 16.4
ทัง้ นี้ ทีผ่ า่ นมาบริษทั ฯ มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง รวมทัง้ จำนวนพนักงานทีม่ เี พิม่ ขึน้ จาก 120 คนในปี 2561
เป็ น 141 คน ในปี 2562 และ 168 คนในปี 2563

ส่วนที่ 1 หน้าที่ 8
บริษทั เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)

6. ความเสี่ยงจากต้นทุนค่าบริ การคลาดเคลื่อนจากการประมาณการ
บริษทั ฯ ประกอบธุรกิจให้บริการเป็ นทีป่ รึกษาด้าน Digital Transformation และการพัฒนาระบบต่างๆ ตาม
แผนงานทีกำ ่ หนด ซึง่ ลักษณะงานดังกล่าวมีตน้ ทุนในการให้บริการทีสำ ่ คัญอย่างหนึ่ง ได้แก่ ต้นทุนด้านบุคลากร โดย
ในการกำหนดราคาการให้บริการในแต่ละโครงการ บริษทั ฯ จะจัดทำประมาณการต้นทุนทีค่ าดว่าจะใช้ รวมถึงการ
ประเมินจำนวนบุคลากรและระยะเวลาตามจำนวนชัวโมงการทำงานที ่ ค่ าดว่าจะใช้ จัดทำเป็ นสัญญาทีร่ ะบุมลู ค่าการให้
บริการทีช่ ดั เจน ดังนัน้ ในกรณีทต่ี น้ ทุนการให้บริการทีเ่ กิดขึน้ จริงมีความคลาดเคลื่อนจากประมาณการทีกำ ่ หนดไว้ เช่น
ต้องใช้บุคลากรหรือระยะเวลาทีม่ ากขึน้ กว่าทีกำ ่ หนด จะทำให้บริษทั ฯ มีตน้ ทุนทีส่ งู ขึน้ และส่งผลให้บริษทั ฯ มีกำไรใน
การให้บริการในโครงการดังกล่าวลดลงจากประมาณการทีต่ งั ้ ไว้ หรือในกรณีทม่ี กี ารประเมินต้นทุนไว้สงู เกินไป อาจส่ง
ผลให้การเสนอราคาการให้บริการสูงกว่าบริษทั คูแ่ ข่ง ซึง่ อาจทำให้ลกู ค้าไม่เลือกใช้บริการจากบริษทั ฯ
ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้ตระหนักถึงความเสีย่ งดังกล่าว จึงได้กำหนดขัน้ ตอนในการปฏิบตั งิ านโดยให้ผรู้ บั ผิดชอบใน
การปฏิบตั งิ านมีสว่ นร่วมในการกำหนดบุคลากรและระยะเวลาทีใ่ ช้ โดยให้หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบในการทำโครงการได้
ร่วมทำการประเมินเพื่อให้การประมาณการมีความแม่นยำมากขึน้ ก่อนทีจ่ ะนำเสนอผูบ้ ริหารทีเ่ กีย่ วข้องเพื่อพิจารณา
ความเหมาะสมของประมาณการต้นทุน และมีการติดตามการปฏิบตั งิ านอย่างใกล้ชดิ โดยกำหนดให้มกี ารจัดทำสรุปค่า
ใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน้ จริงเปรียบเทียบกับแผนงานและงบประมาณ พร้อมวิเคราะห์ถงึ ความเหมาะสมอย่างสม่ำเสมอ เพือ่ ให้
สามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จภายในกรอบงบประมาณทีกำ ่ หนด รวมถึงได้มกี ารนำปญั หาหรือข้อผิดพลาดในแต่ละ
โครงการมาวิเคราะห์เพือ่ หาสาเหตุและแนวทางในการแก้ปญั หา เพือ่ ให้การประมาณการต้นทุนของบริษทั ฯ เป็ นไป
อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากขึน้ ต่อไป

7. ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงพฤติ กรรมผูบ้ ริ โภค


ปจั จุบนั ธุรกิจต่างๆ มีการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยี ซึง่ มีการพัฒนาใหม่เป็ น
ประจำ โดยหากมีเทคโนโลยีทอ่ี อกมาใหม่มลี กั ษณะทีทำ ่ ให้เกิดความนิยมในหมูผ่ บู้ ริโภคเป็ นจำนวนมาก ก็อาจเกิด
กระแสความนิยมทีส่ ง่ ผลกระทบการการเปลีย่ นแปลงของพฤติกรรมผูบ้ ริโภคได้ และในกรณีทบ่ี ริษทั ฯ ไม่สามารถปรับ
ตัวได้ทนั ก็อาจส่งผลกระทบกับความสามารถในการทำธุรกิจของบริษทั ฯ ได้อย่างมีนัยสำคัญ
บริษทั ฯ ได้ตระหนักถึงความเสีย่ งในเรือ่ งดังกล่าวและได้เตรียมความพร้อมในการรับมือ โดยการกำหนดให้มี
ทีมงานทีค่ อยติดตามเทคโลยีใหม่ๆ ควบคูก่ บั กระแสความนิยมของผูบ้ ริโภค ให้ทำการศึกษาและทำความเข้าใจกับการ
เปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีใหม่ๆ และนำเสนอผูบ้ ริหารระดับสูงเพือ่ เตรียมความพร้อมในการปรับกลยุทธ์ในการดำเนิน
ธุรกิจเพือ่ เตรียมพร้อมรับมือกับกระแสการเปลีย่ นแปลง และสามารถสามารถตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าของบริ
ษัทฯ ได้อย่างทันเวลา

8. ความเสี่ยงจากผลกระทบของการแพร่ระบาดของโรคระบาดไวรัสโควิ ด-19
ในปี 2563 และต่อเนื่องถึงปจั จุบนั ผูป้ ระกอบการหลายรายในหลายอุตสาหกรรมได้รบั ผลกระทบจากปญั หา
การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 ซึง่ ส่งผลกระทบในทางลบกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมและต่อภาคธุรกิจอย่างมีนยั
สำคัญ โดยบริษทั ฯ ได้รบั ผลกระทบจากการทีล่ กู ค้าบางรายได้ชะลอโครงการออกไป แต่บริษทั ฯ ได้เตรียมพร้อมในการ
รับมือกับปญั หาดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ธุรกิจของบริษทั ฯ ยังสามารถรักษาระดับรายได้ให้เติบโตขึน้
กว่าปีทผ่ี า่ นมา
บริษทั ฯ ได้ให้ความสำคัญในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค โดยส่งเสริมให้พนักงานมีความรับผิดชอบต่อ
สังคม และปฏิบตั ติ ามระเบียบและประกาศของหน่วยงานราชการทีเ่ กีย่ วข้องอย่างเคร่งครัด นอกจากนี้ บริษทั ยัง จึงได้มี
การกำหนดมาตรการในการทำงานต่างๆ เช่น การให้พนักงานทำงานจากบ้าน หรือการประชุมผ่านระบบออนไลน์
เป็ นต้น อีกทัง้ บริษทั ฯ ยังได้ใช้ระบบการทำงานบนคลาวด์ (Cloud) ทำให้การเข้าถึงข้อมูลสามารถทำได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และยังคงสามารถให้บริการแก่ลกู ค้าได้อย่างต่อเนื่อง
ความเสีย่ งด้านการเงิน

ส่วนที่ 1 หน้าที่ 9
บริษทั เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)

1. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องทางการเงิ น
บริษทั ฯ มีความเสีย่ งด้านสภาพคล่องทางการเงิน จากการทีล่ กั ษณะงานเป็ นงานโครงการและให้บริการตาม
สัญญา ซึง่ ในกรณีทเ่ี กิดความผันผวนทางเศรษฐกิจ หรือภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว อาจทำให้มปี ญั หาด้านการรับชำระเงิน
ค่าบริการจากลูกค้า หรือลูกค้าขอขยายระยะเวลาโครงการ หรือการหาลูกค้าใหม่ไม่สามารถทำได้ตามเป้าหมายทีว่ างไว้
อาจเกิดปญั หาด้านความไม่สม่ำเสมอของรายได้ ในขณะทีต่ น้ ทุนหลักของบริษทั ฯ คือค่าใช้จา่ ยด้านบุคลากร ซึง่ เป็ น
รายจ่ายประจำ ดังนัน้ ในกรณีทบ่ี ริษทั ฯ ไม่สามารถหารายได้ได้ตามแผนทีว่ างไว้ อาจทำให้บริษทั ฯ ขาดกระแสเงินสด
ในการดำเนินงาน
บริษทั ฯ มีแผนการบริหารความเสีย่ งในเรือ่ งดังกล่าว โดยในแต่ละปี จะมีการประชุมเพื่อกำหนดแผนงบ
ประมาณประจำปี มีการกำหนดกลยุทธ์ในการทำธุรกิจและกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย รวมทัง้ มีแผนในการขยายฐานลูกค้าให้
กว้างขึน้ เพือ่ เพิม่ แหล่งทีม่ าของรายได้ มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบตั งิ านตามแผนงบประมาณอย่างต่อเนื่อง
นอกจากนี้ ในการให้บริการแก่ลกู ค้า ก่อนการรับงานและทำสัญญาแต่ละโครงการ บริษทั ฯ จะมีการประเมินและ
วิเคราะห์ธุรกิจและฐานะทางการเงินของลูกค้า เพือ่ ทำให้มนใจว่ ั ่ าจะไม่มปี ญั หาด้านการเรียกชำระเงินค่าบริการตาม
สัญญาจากลูกค้า
ทัง้ นี้ ในช่วง 3 ปีทผ่ี า่ นมา และไตรมาสแรกปี 2564 บริษทั ฯ มีอตั ราส่วนสภาพคล่องเท่ากับ 1.82 เท่า 2.60
เท่า 1.45 เท่า และ 2.21 เท่า ตามลำดับ โดยสินทรัพย์สว่ นใหญ่ของบริษทั ฯ ได้แก่ เงินลงทุนชัวคราว่ และเงินสดและ
รายการเทียบเท่าเงินสด ซึง่ รวมกันคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 6.02 ร้อยละ 26.16 ร้อยละ 45.78 และร้อยละ 21.53 ของ
สินทรัพย์รวม ตามลำดับ นอกจากนี้ บริษทั ฯ มีกระแสเงินสดในการดำเนินงานในปี 2562 และ 2563 เท่ากับ 73.81
ล้านบาท และ 65.14 ล้านบาท ตามลำดับ

2. ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
บริษทั ฯ มีความเสีย่ งจากการผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ น เนื่องจากบริษทั ฯ มีการสังซื
่ อ้ ซอฟท์แวร์หลักทีใ่ ช้
ในการให้บริการลูกค้าจากผูผ้ ลิตต่างประเทศโดยตรง และใช้ดอลลาร์สหรัฐเป็ นสกุลเงินหลัก ในขณะเดียวกัน บริษทั ฯ
ก็ได้กำหนดราคาขายซอฟท์แวร์แก่ลกู ค้าส่วนใหญ่เป็ นสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐด้วยเช่นกัน ดังนัน้ การทีบ่ ริษทั ฯ มีรายรับ
และรายจ่ายเป็ นเงินตราต่างประเทศสกุลเดียวกันจะช่วยลดความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นธรรมชาติ (Natural Hedge)
อย่างไรก็ดี การทีบ่ ริษทั ฯ มีรายรับและรายจ่ายเป็ นเงินตราต่างประเทศ ทำให้ในกรณีทค่ี า่ เงินบาทแข็งค่า จะ
ทำให้บริษทั ฯ มีรายได้ลดลง ในขณะทีต่ น้ ทุนก็ลดลงเช่นกัน และในกรณีทเ่ี งินบาทอ่อนค่า จะทำให้บริษทั มีตน้ ทุนทีส่ งู
ขึน้ เช่นเดียวกับรายได้ทเ่ี พิม่ ขึน้ เช่นกัน
นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้ตระหนักถึงความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นเป็ นอย่างดี จึงได้มกี าร
พิจารณาจัดเตรียมวงเงินเครือ่ งมือทางการเงินสำหรับใช้ในการบริหารความเสีย่ ง เช่น วงเงินสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่าง
ประเทศล่วงหน้า (Forward Contract) และไม่มนี โยบายในการเก็งกำไรจากอัตราแลกเปลีย่ น ทัง้ นี้ ในช่วง 3 ปีทผ่ี า่ น
มา (2561-2563) จนถึงไตรมาส 1 ปี 2564 บริษทั ฯ มีกำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ นจำนวน (0.28) ล้านบาท
(0.78) ล้านบาท 0.08 ล้านบาท และ 0.14 ล้านบาท ตามลำดับ
ความเสีย่ งจากการเสนอขายหลักทรัพย์
1. ความเสี่ยงจากการที่บริ ษทั ฯ อยู่ระหว่างการยืน่ คำขออนุญาตจากตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ
บริษทั ฯ มีความประสงค์ทจ่ี ะเสนอขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนต่อประชาชนในครัง้ นี้ ก่อนทีจ่ ะได้รบั ทราบผลการ
พิจารณาของตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ในการรับหุน้ สามัญของบริษทั ฯ เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนใน
ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ซึง่ ผูล้ งทุนอาจมีความเสีย่ งจากความไม่แน่นอนทีห่ ลักทรัพย์ของบริษทั ฯ จะได้รบั
อนุญาตให้เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ และอาจส่งผลให้ผลู้ งทุนไม่ได้รบั ผลตอบแทนจาก
การขายหุน้ สามัญของบริษทั ฯ ตามทีค่ าดการณ์ไว้ รวมทัง้ อาจมีความเสีย่ งจากสภาพคล่องหากไม่มตี ลาดรองสำหรับ
การซือ้ ขายหุน้ สามัญของบริษทั ฯ
2. ความเสี่ยงจากการที่ราคาหุ้นผันผวน และไม่สามารถขายหุ้นได้เท่ากับหรือสูงกว่าราคาเสนอขาย

ส่วนที่ 1 หน้าที่ 10
บริษทั เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)

ในครังนี
้ ้
ภายหลังจากการนำหุน้ สามัญของบริษทั ฯ เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเรียบร้อยแล้ว
นักลงทุนจะสามารถซือ้ ขายหุน้ ของบริษทั ฯ ได้ในตลาดรองโดยราคาของหุน้ สามัญของบริษทั ฯ อาจมีความผันผวน โดย
ขึน้ อยูก่ บั ปจั จัยหลายประการ เช่น ผลการดำเนินงานของบริษทั ฯ การเปลีย่ นแปลงนโยบายของภาครัฐและการ
เปลีย่ นแปลงกฎเกณฑ์และข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง
(ผูล้ งทุนโปรดศึกษารายละเอียดเกีย่ วกับปจั จัยความเสีย่ งได้ในส่วนที ่ 2.2.3 ปจั จัยความเสีย่ ง)

ส่วนที่ 1 หน้าที่ 11
บริษทั เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)

สรุปฐานะการเงิ นและผลการดำเนิ นงาน:


งบการเงิ นรวม
สำหรับงวด 3
งบการเงิ นสำหรับปี สิ้ นสุดวันที่
เดือนสิ้ นสุดวัน
ฐานะการเงิ น หน่ วย
ที่
31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 มีนาคม
2561 2562 2563 2564
สินทรัพย์รวม ล้านบาท 181.81 238.59 279.06 219.56
หนี้สนิ รวม ล้านบาท 110.83 116.55 201.00 124.37
ส่วนของเจ้าของ ล้านบาท 70.98 122.05 78.06 95.19
อัตราส่วนหนี้สนิ ต่อส่วนของเจ้าของ เท่า 1.56 0.95 2.57 1.31
อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) ร้อยละ 18.15 30.57 9.14 10.69
อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของเจ้าของ (ROE) ร้อยละ 46.48 66.59 23.63 19.72
       
งบการเงิ นรวม
สำหรับงวด 3
งบการเงิ นสำหรับปี สิ้ นสุดวันที่
เดือนสิ้ นสุดวัน
ผลการดำเนิ นงาน หน่ วย
ที่
31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 มีนาคม
2561 2562 2563 2564
รายได้จากการให้บริการ ล้านบาท 211.05 310.43 311.79 87.26
รายได้รวม ล้านบาท 211.57 311.49 312.54 87.32
กำไรขัน้ ต้น ล้านบาท 96.95 148.91 146.90 41.13

กำไรสุทธิสำหรับงวด ล้านบาท 34.54 64.26 23.64 17.09


อัตรากำไรขัน้ ต้น ร้อยละ 45.94 47.97 47.11 47.16
อัตรากำไรสุทธิ ร้อยละ 16.32 20.63 7.57 19.57
กำไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน (EPS) บาทต่อหุน้ 103.10 191.83 68.23 49.30
       
งบการเงิ นรวม
งบการเงิ นสำหรับปี สิ้ นสุดวันที่ สำหรับงวด 3 เดือน
ผลการดำเนิ นงาน หน่ วย สิ้ นสุดวันที่
31 ธันวาคม 2562 31 ธันวาคม 2563 31 มีนาคม 2564
เงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำเนิน ล้านบาท 73.81 65.14 (5.70)
งาน
เงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไปใน) กิจกรรมลงทุน ล้านบาท (36.12) (87.18) 81.58
เงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน ล้านบาท (18.61) 0.18 (73.92)

ส่วนที่ 1 หน้าที่ 12
บริษทั เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)

สรุปคำอธิ บายเกี่ยวกับฐานะการเงิ นและผลการดำเนิ นงาน:


- การวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน
รายได้จากการให้บริการของบริษทั ฯ ในปี 2561 - ปี 2563 เท่ากับ 211.05 ล้านบาท 310.43 ล้านบาท และ
311.79 ล้านบาท ตามลำดับ หรือคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 99.75 ร้อยละ 99.66 และ ร้อยละ 99.76 ของรายได้รวมตาม
ลำดับ โดยคิดเป็ นอัตราเพิม่ ขึน้ เฉลีย่ ต่อปี 13.89% โดยในปี 2562 รายได้จากการให้บริการเพิม่ ขึน้ เนื่องจากบริษทั ฯ
มุง่ เน้นการขยายฐานลูกค้าขนาดใหญ่ให้มคี วามหลากหลายในธุรกิจหลายประเภทมากขึน้ รวมถึงยังคงรักษาฐานลูกค้า
เดิมทีย่ งั มีความต้องการในการจัดการระบบทีส่ นับสนุ นการเจริญเติบโตของลูกค้า นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังเล็งเห็นความ
สำคัญของลูกค้าขนาดกลางและขนาดย่อมทีทำ ่ ให้บริษทั ฯ สามารถบริหารจัดการทรัพยากรทีม่ อี ยูใ่ ห้มปี ระสิทธิภาพมาก
ขึน้ รวมถึงการเพิม่ ขึน้ ของปริมาณสิทธิการใช้งานอย่างก้าวกระโดด ส่งผลให้บริษทั ฯ มีรายได้จากการให้บริการเติบโต
ขึน้ อีกด้วย ในขณะทีใ่ นปี 2563 มีรายได้จากการให้บริการใกล้เคียงกับปี 2562 เนื่องจากได้รบั ผลกระทบจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัส Covid-19 ทำให้ลกู ค้าของบริษทั ฯ หลายรายชะลอแผนการลงทุนในการทำ
โครงการ Digital Transformation ออกไป
นอกจากนี้ในงวด 3 เดือนแรกปี 2563 และปี 2564 บริษทั ฯ มีรายได้จากการให้บริการเท่ากับ 79.75 ล้านบาท
และ 87.22 ล้านบาท หรือคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 99.80 และร้อยละ 99.94 ของรายได้รวม ตามลำดับ โดยเพิม่ ขึน้
ร้อยละ 9.37 เทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปีก่อนหน้า เนื่องมาจากบริษทั ฯ ยังคงขยายฐานลูกค้าในธุรกิจทีห่ ลากหลาย
มากขึน้ รวมถึงบริษทั ฯ ได้เริม่ เสนอขายสิทธิการใช้งานของผลิตภัณฑ์ทบ่ี ริษทั ฯ ได้พฒ
ั นาขึน้ เองให้กบั ลูกค้าอีกด้วย
บริษทั ฯ มีตน้ ทุนการให้บริการในช่วงปี 2561 - 2563 จำนวน 81.46 ล้านบาท 161.53 ล้านบาท และ 164.89
ล้านบาท หรือคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 38.60 ร้อยละ 52.03 และร้อยละ 52.89 ของรายได้จากการให้บริการ ทัง้ นี้ สัดส่วน
ต้นทุนการให้บริการในปี 2561 มีอตั ราทีต่ ่ำกว่าปี 2562 และ 2563 อย่างมีนยั สำคัญ ในปี 2563 ฝา่ ยบริหารได้พจิ ารณา
ถึงความเหมาะสมของการจัดประเภทค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วกับพนักงานทีทำ ่ งานโดยตรงกับการให้บริการลูกค้า โดยค่าใช้
จ่ายดังกล่าวจะมีการบันทึกเป็ นต้นทุนในการให้บริการทัง้ หมด ซึง่ จะรวมทัง้ ส่วนต้นทุนทีม่ กี ารระบุเป็ นส่วนของต้นทุน
โครงการ และส่วนทีไ่ ม่ได้ระบุเป็ นส่วนของต้นทุนโครงการ เช่น วันลาพักร้อนและชัวโมงการเข้
่ าอบรม เป็ นต้น การจัด
ประเภทรายการดังกล่าวเพือ่ ให้บริษทั ฯ สามารถวิเคราะห์ตน้ ทุนทีแ่ ท้จริงในการดำเนินงานและเพื่อการสนับสนุนการ
ตัดสินใจในการบริหารงานของบริษทั ฯ ได้ชดั เจนมากขึน้ จากเดิมทีบ่ ริษทั ฯ บันทึกต้นทุนส่วนทีไ่ ม่ได้ระบุโครงการเป็ น
ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้พจิ ารณาจัดประเภทรายการตามทีก่ ล่าวมาข้างต้นสำหรับปี 2561 และ 2562
ใหม่ เพือ่ ให้สอดคล้องกับจัดประเภทรายการบัญชีในปี 2563 โดยมีรายละเอียดดังนี้
หน่ วย : ล้านบาท 2561* 2562 2563
ต้นทุนการให้บริการเดิม 81.46 121.52 -
ต้นทุนการให้บริการหลังการปรับปรุง 114.10 161.53 164.89
ส่วนต่าง 32.64 40.01 -
ค่าใช้จ่ายในการบริหารเดิม 74.31 95.93 -
แบ่งประเภทรายการผลขาดทุนด้านเครดิต -0.14 -1.83
ปรับปรุงรายการงบการเงินรวม -0.36 -0.72
ค่าใช้จ่ายในการบริหารหลังการปรับปรุง 41.17 53.37 57.86
ส่วนต่าง (32.64) (40.01) -
หมายเหตุ: ปรับปรุงข้อมูลตามการเปลีย่ นแปลงวิธกี ารบันทึกรายการต้นทุนและค่าใช้จ่ายเพือ่ การเปรียบเทียบ ซึง่ เป็นข้อมูลทีจ่ ดั เตรียมโดยฝา่ ยจัดการของบริษทั ฯ

ทัง้ นี้ ภายหลังการเปลีย่ นแปลงวิธกี ารบันทึกบัญชีแล้ว ส่งผลให้บริษทั ฯ มีตน้ ทุนการให้บริการจำนวน 114.10


ล้านบาท 161.53 ล้านบาท และ 164.89 ล้านบาท หรือคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 54.06 ร้อยละ 52.03 และร้อยละ 52.89
ของรายได้จากการให้บริการ โดยต้นทุนการให้บริการทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแต่ละปี มีส าเหตุหลักมาจากการเติบโตตามรายได้
จากการให้บริการของบริษทั ฯ และเพือ่ รองรับการขยายตัวของธุรกิจในอนาคต
สำหรับงวด 3 เดือนแรกปี 2563 และปี 2564 บริษทั ฯ มีตน้ ทุนการให้บริการจำนวน 42.05 ล้านบาท และ 46.09
ส่วนที่ 1 หน้าที่ 13
บริษทั เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)
ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 52.73 และร้อยละ 52.84 ของรายได้จากการให้บริการ เนื่องจากการเพิม่ ขึน้ ของรายได้ และ
บริษทั ฯ ได้เพิม่ จำนวนพนักงาน เพือ่ รองรับการขยายตัวของบริษทั ฯ ในอนาคต จึงทำให้มตี น้ ทุนการบริการทีส่ งู ขึน้
กำไรขัน้ ต้นในปี 2561 – ปี 2563 เท่ากับ 96.95 ล้านบาท 148.91 ล้านบาทและ 146.90 ล้านบาท ตามลำดับ
หรือคิดเป็ นอัตรากำไรขัน้ ต้นร้อยละ 45.94 ร้อยละ 47.97 และร้อยละ 47.11 ของรายได้จากการให้บริการตามลำดับ
และ มีกำ ไรขัน้ ต้นในงวด 3 เดือนแรกปี 2563 และ 2564 เท่ากับ 37.70 ล้านบาท และ 41.13 ล้านบาท หรือคิดเป็ น
อัตรากำไรขัน้ ต้นร้อยละ 47.27 และร้อยละ 47.16 ของรายได้จากการให้บริการตามลำดับ
ในปี 2561 - ปี 2563 บริษทั ฯ มีกำไรสุทธิเท่ากับ 34.54 ล้านบาท 64.26 ล้านบาท และ 23.64 ล้านบาท ซึง่ คิด
เป็ นร้อยละ 16.32 ร้อยละ 20.63 และร้อยละ 7.57 ของรายได้รวม ตามลำดับ โดยในปี 2562 บริษทั ฯ มีกำไรสุทธิเพิม่
ขึน้ อย่างมีนยั สำคัญคิดเป็ นร้อยละ 86.07 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการเพิม่ ขึน้ ของรายได้ทส่ี งู ขึน้ มากจากการให้บริการ
การให้คำ ปรึกษาด้านกลยุทธ์และเทคโนโลยี (Technology Strategy Consulting) ลูกค้าทีม่ ขี นาดใหญ่รายใหม่ และมี
การขยายฐานลูกค้ารายใหม่ทข่ี นาด SMEs ไปพร้อมกัน
อย่างไรก็ตามในปี 2563 บริษทั ฯ มีกำไรสุทธิลดลงจากปีก่อนหน้าจำนวน 40.62 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับปีก่อน
หน้า โดยสาเหตุหลักอันเนื่องมาจากการประมาณการค่าเผือ่ ผลขาดทุนด้านเครดิตทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ จากลูกหนี้การค้า
รายหนึ่งซึง่ อยูใ่ นธุรกิจการบิน ทัง้ จำนวนหรือเท่ากับ 40.48 ล้านบาท โดยลูกหนี้รายดังกล่าว ได้เข้าสูก่ ระบวนการฟื้นฟู
กิจการภายใต้การพิจารณาของศาลล้มละลายกลาง บริษทั ฯ จึงบันทึกค่าเผือ่ ผลขาดทุนด้านเครดิตทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้
ของลูกหนี้รายดังกล่าวไว้เต็มจำนวนเพือ่ สะท้อนถึงความเสีย่ งด้านเครดิตของลูกหนี้รายดังกล่าว
บริษทั ฯ มีกำไรสุทธิสำหรับงวด 3 เดือนแรกปี 2563 และงวด 3 เดือนแรกปี 2564 เท่ากับ 14.07 ล้านบาท และ
17.09 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 17.61 และร้อยละ 19.57 ของรายได้รวม ตามลำดับ โดยกำไรสุทธิของบริษทั ฯ เพิม่
ขึน้ จากงวด 3 เดือนแรกปี 2563 เท่ากับ 3.01 ล้านบาท หรือคิดเป็ นอัตราการเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 21.42 จากงวดเดียวกัน
ของปีก ่อนหน้า สาเหตุหลักมาจากการทีบ่ ริษทั ฯ ได้เริม่ มีก ารขายผลิต ภัณฑ์ท พ่ี ฒ ั นาขึน้ เอง ซึง่ มีต น้ ทุน ทีต่ ่ำกว่า
ผลิตภัณฑ์ทบ่ี ริษทั ฯต้องซือ้ จากผูผ้ ลิตอื่นๆ จึงทำให้อตั ราการเพิม่ ขึน้ ของกำไรสุทธิสงู ขึน้

- การวิเคราะห์ฐานะการเงิน
บริษ ทั ฯ มีส นิ ทรัพ ย์ร วม ณ สิน้ ปี 2561 – ปี 2563 และสิน้ ไตรมาสที่ 1 ปี 2564 เท่า กับ 181.81 ล้า นบาท
238.59 ล้านบาท 279.06 ล้านบาท และ 219.56 ล้านบาท ตามลำดับ โดย ณ สิน้ ปี 2562 สินทรัพย์รวมเพิม่ ขึน้ จากปี
ก่อนหน้าจำนวน 56.78 ล้านบาท คิดเป็ นการเติบโตร้อยละ 31.23 โดยมีสาเหตุหลักจากการเพิม่ ขึน้ ของเงินลงทุนระยะ
สัน้ ในกองทุนเปิดตราสารหนี้ จำนวน 30.09 ล้านบาท และเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 19.07 ล้านบาท และ ณ
สิน้ ปี 2563 สินทรัพย์รวมเพิม่ ขึน้ จากปีก่อนหน้าจำนวน 40.47 ล้านบาท คิดเป็ นการเติบโตร้อยละ 16.96 โดยมีสาเหตุ
หลักมาจากการเพิม่ ขึน้ ของ เงินลงทุนชัวคราว-เงิ
่ นลงทุนในกองทุนเปิดตราสารหนี้ จำนวน 89.38 ล้านบาท ส่วนหนึ่ง
มาจากการเข้าลงทุนของ Salesforce Venture LLC ในขณะที่ ณ สิน้ ไตรมาสที่ 1 ปี 2564 สินทรัพย์รวมลดลงจาก ณ
สิน้ ไตรมาสที่ 1 ปี 2563 จำนวน 59.5 ล้า นบาท คิด เป็ น ร้อ ยละ 21.32 สาเหตุห ลัก จากการทีบ่ ริษ ทั ฯ มีก ารจ่า ย
เงินปนั ผล

บริษทั ฯ มีหนี้สนิ รวม ณ สิน้ ปี 2561 - ปี 2563 และสิน้ ไตรมาสที่ 1 ปี 2564 เท่ากับ 110.83 ล้านบาท 116.55
ล้านบาท 201.00 ล้านบาท และ 124.37 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็ นสัดส่วน ร้อยละ 60.96 ร้อยละ 48.85 ร้อยละ
72.03 และร้อยละ 56.65 ของหนี้สนิ และส่วนของเจ้าของรวม ตามลำดับ ในปี 2562 หนี้สนิ รวมเพิม่ ขึน้ จากปีก่อนหน้า
5.72 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 5.16 ในขณะทีป่ ี 2563 หนี้สนิ รวมเพิม่ ขึน้ จากปีก่อนหน้า 84.46 ล้านบาท หรือคิดเป็ น
ร้อยละ 72.46 เนื่องจากการเพิม่ ขึน้ ของเจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อ่นื และเงินปนั ผลค้างจ่าย และจากรายการสำรองผล
ประโยชน์ระยะยาวของพนักงานตามกฎหมายใหม่ได้แก้ไขปรับปรุงให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยเพิม่ ขึน้ เป็ นอัตรา 400 วัน
ของค่าจ้างอัตราสุดท้าย (TAS19) คิดเป็ นจำนวนเงิน 6.9 ล้านบาท และสิน้ ไตรมาสที่ 1 ปี 2564 บริษทั ฯ มีหนี้สนิ ลดลง

ส่วนที่ 1 หน้าที่ 14
บริษทั เบริล 8 พลัส จำกัด (มหาชน)

76.63 ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 38.12 เนื่องจากบริษทั จ่ายเงินปนั ผลทีต่ งั ้ ค้างจ่าย ในไตรมาสที่ 1 ปี 2563 ซึง่
เป็ นการจ่ายเงินปนั ผลระหว่างกาลตามมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 4/2563
ส่วนของเจ้าของของ ณ สิน้ ปี 2561 – ปี 2563 เท่ากับ 70.98 ล้านบาท 122.05 ล้านบาทและ 78.06 ล้านบาท
ตามลำดับ ณ สิน้ ปี 2562 ส่วนของเจ้าของเพิม่ ขึน้ 51.06 ล้านบาท หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 71.94 เนื่องจาก บริษทั ฯ มีกำไร
สะสมจากผลการดำเนินงานทีด่ ขี น้ึ และ ณ สิน้ ปี 2563 ส่วนของเจ้าของลดลงจำนวน 43.98 ล้านบาท หรือลดลงร้อยละ
36.04 เมือ่ เทียบกับสิน้ ปีก่อนหน้า โดยสาเหตุหลักมาจากบริษทั ฯ จ่ายเงินปนั ผลประจำปี ตามมติทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้
สามัญประจำปีครัง้ ที่ 1/2563 และจ่ายเงินปนั ผลระหว่างกาลตามมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 4/2563 จำนวน
รวม 96.15 ล้านบาท และจากการขายหุน้ เพิม่ ทุนจำนวน 1.16 ล้านบาท ซึง่ มีสว่ นเกินมูลค่าหุน้ จำนวน 27.07 ล้านบาท
นอกจากนี้ บริษทั ฯ มีกำไรเบ็ดเสร็จจากการดำเนินงานประจำปีจำนวน 23.93 ล้านบาท ในขณะที่ ณ สิน้ ไตรมาสที่ 1 ปี
2564 บริษทั ฯ มีสว่ นของเจ้าของ 95.19 ล้านบาท ซึง่ เป็ นการเพิม่ ขึน้ จากผลกำไรจากการดำเนินงานของบริษทั ฯ
สำหรับไตรมาส 1 ปี 2564

นักลงทุนสัมพันธ์: นางสุภตั รา สิ มธาราแก้ว เบอร์ติดต่อ: 02-116-5081


Email: BE8_IR@beryl8.com
เลขที่ 33/4 อาคารเดอะไนน์ ทาวเวอร์ แกรนด์ พระรามเก้า (อาคารบี) ชัน้ ที่ 19 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง
เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร

ส่วนที่ 1 หน้าที่ 15

You might also like