You are on page 1of 4

แบบสรุปข ้อมูลสาคัญของตราสาร

Factsheet
ธนาคารกรุงไทย จาก ัด (มหาชน) (“ผูอ
้ อกตราสาร” หรือ “ธนาคาร”)
ลักษณะการประกอบธุรกิจ ธนาคารพาณิชย์
สถานะการเป็ นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (listed) :  เป็ น  ไม่เป็ น
เสนอขาย ตราสารด ้อยสิทธิเพือ ่ นับเป็ นเงินกองทุนประเภทที่ 2 ของผู ้ออกตราสาร ชนิดระบุชอ ื่ ผู ้ถือ ไม่มปี ระกัน
ี ู ้แทนผู ้ถือตราสาร และผู ้ออกตราสารสามารถใช ้สิทธิไถ่ถอนตราสารก่อนครบกาหนด
ไม่มผ
“ตราสารด้อยสท ิ ธิเพือ
่ น ับเป็นเงินกองทุนประเภทที่ 2 ธนาคารกรุงไทยจาก ัด (มหาชน) ครงที ั้ ่ 1/2565
ครบกาหนดไถ่ถอน ปี พ.ศ.2575 ซงึ่ ผูอ ้ อกตราสารมีสท ิ ธิไถ่ถอนก่อนกาหนดและมีขอ ้ กาหนดให้สามารถต ัดหนีส ้ ญ

ั้ านวนหรือบางสว่ น) หากทางการต ัดสน
(ทงจ ิ ใจเข้าชว ่ ยเหลือทางการเงินแก่ผอ
ู ้ อกตราสาร”
ระหว่างวันที่ [.] พ.ศ. 2565

ล ักษณะตราสาร ี่ ง
ระด ับความเสย
อายุ : 10 ปี ่ ถือ และความ
พิจารณาจากอายุตราสาร อันดับความน่าเชือ

อ ัตราดอกเบีย : อัตราดอกเบีย ้ คงทีร่ ้อยละ [3.00-3.30] ซับซ ้อนของตราสาร
ต่อปี
งวดการชาระดอกเบีย ้ : ชาระดอกเบีย ้ ทุก ๆ 3 (สาม) เดือน
การไถ่ ถ อนก่ อ นก าหนด : ผู อ ้ อกตราสารมี ส ิท ธิข อไถ่ ถ อน ตา่ 1 2 3 4 5 6 7 8 สูง
ตราสารเงิ น กองทุ นทั ้ ง จ านวนก่ อ นวั นค รบก าหนดไถ่ ถอน
ตราสารเงินกองทุ นได ้ ณ วั นครบรอบ 5 (ห า้ ) ปี นั บแต่ วั นออก เป็ นตราสารด ้อยสิทธิ เพือ
่ นับเป็ นเงินกองทุนประเภทที่ 2 ของ
ตราสารเงินกองทุน หรือ ภายหลังจากนั น ้ หรือวันอืน ่ ใดตามทีร่ ะบุไว ้ ผู ้ออกตราสาร มีข ้อกาหนดให ้สามารถตัดหนีต ้ ามตราสารเป็ น
ในข ้อ 9.3 ของข ้อกาหนดสิทธิ โดยไม่ต ้องได ้รับความยินยอมจาก หนีส ู (ทัง้ จานวนหรือบางส่วน) และผู ้ออกตราสารสามารถใช ้
้ ญ
ผู ้ถือตราสาร สิทธิไถ่ถอนตราสารก่อนครบกาหนด
มู ล ค่า การเสนอขายรวม : ไม่ เ กิน [•] บาท โดยมี ต ราสาร ผลตอบแทนของตราสารรุน ่ อืน
่ ในตลาด (YTM)
เงินกองทุ นส ารองไว ้เสนอขายเพิม ่ เติมคิดเป็ นมูลค่าไม่เกิน [•]
ไม่มข
ี ้อมูล
บาท คิดเป็ นมูลค่ารวมทัง้ หมดไม่เกิน [•] บาท
ความเสย ี่ งของผูอ
้ อกตราสาร
หล ักประก ัน/ผูค ้ า้ ประก ัน: ไม่ม ี
ผูแ ้ ทนผูถ้ อ
ื ตราสาร : ไม่ม ี 1. ความเสีย ่ งจาก Technology Disruption จากการใช ้บริการ
วตั ถุป ระสงค์ก ารใชเ้ งิน : เพื่อ นั บ เป็ นเงินกองทุน ของผู ้ออก ทาง Digital ระบบการเงิน แบบไร ต ้ ั ว กลาง และคู่ แ ข่ ง กลุ่ ม
ตราสาร รวมทัง้ เพือ ่ บริหารสภาพคล่องและใช ้ในการดาเนินงาน Fintech ได ้เข ้ามาแข่ง ขั น เพื่อ น าเสนอบริก ารทางการเงินใน
ทั่วไปของผู ้ออกตราสาร รู ป แบบใหม่ ม ากขึ้น จึง ท าให ร้ ายได จ้ ากการให บ ้ ริก ารของ
ื่ ถือของตราสาร
อ ันด ับความน่าเชอ ผู ้ออกตราสารมีแนวโน ้มลดลง
อ ันด ับ : [•] แนวโน้ม : [คงที]่ 2. ความเสีย ่ งด ้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึง่ ผู ้ออกตราสาร ได ้
เมือ่ ว ันที่ : [•] พ.ศ. 2565 นามาใช ้เป็ นระบบกลไกลหลักในการขับเคลือ ่ นธุรกิจ จึงมีความ
โดย : บริษัท ฟิ ทช์ เรตติง้ ส์ (ประเทศไทย) จากัด เสีย ่ งจากภัยคุกคามทางไซเบอร์มากขึน ้
รายละเอียดสาค ัญอืน
่ 3. ความเสีย ่ งด ้านเครดิต จากการทีค ่ ู่สัญญาของผู ้ออกตราสาร
ว ันทีอ่ อกตราสาร : [•] พ.ศ. 2565 ไม่ส ามารถปฏิบั ต ต ิ ามที่ไ ด ้ตกลงและระบุไ ว ้ในสั ญ ญา การที่
ว ันทีค ่ รบกาหนดอายุ : [•] พ.ศ. 2575 คู่ ค า้ ของผู อ้ อกตราสารถู ก ปรั บ ลดอั น ดั บ ความเสี่ย ง ซึง่ อาจ
ประเภทการเสนอขาย : ผู ้ลงทุนสถาบัน และ/หรือ ผู ้ลงทุน ส่งผลกระทบต่อรายได ้และการดารงเงินกองทุน
รายใหญ่ (PP-II&HNW) 4. ความเสีย ่ งด ้านตลาด จากการเปลีย ่ นแปลงมูลค่าฐานะทีอ ่ ยู่
ผูจ้ ัดจาหน่ายตราสาร : ธนาคารกรุงไทย จากัด (มหาชน) ในงบแสดงฐานะทางการเงิน ที่เ กิด จากการเคลื่ อ นไหวของ
นายทะเบียนตราสาร : ธนาคารกรุงไทย จากัด (มหาชน) อั ต ราดอกเบีย ้ อั ต ราแลกเปลี่ย น ราคาตราสารทุน และราคา
ล ักษณะของการร่วม : ตราสารเงิน กองทุ น มีข ้อก าหนดให ้ สิ น ค า้ โภคภั ณ ฑ์ ที่ ม ี ผ ล ก ระทบในทางลบต่ อ รายได แ ้ ละ
ร ับผลขาดทุน สามารถตัดหนี้ตามตราสารเป็ นหนี้สูญ เงินกองทุนของผู ้ออกตราสาร
(ทัง้ จานวนหรือบางส่วน) และดอกเบีย ้ 5. ความเสี่ย งด ้านการปฏิบั ต ก ิ าร จากความไม่เ พีย งพอหรือ
ที่เ กิด ขึน
้ แล ว้ แต่ ยั ง ไม่ ม ีก ารช าระเงิน ความบกพร่ อ งของกระบวนการควบคุ ม ภายใน บุ ค ลากร
อาจถูกยกเลิกเมือ ่ เกิด Trigger event ระบบงานของผู ้ออกตราสาร หรือ เหตุ ก ารณ์ ภายนอก รวมถึง
Trigger event : เมือ่ มีเหตุการณ์ทท ี่ าให ้ผู ้ออกตราสาร ความเสีย ่ งด ้านกฎหมาย แต่ไม่รวมความเสีย ่ งด ้านด ้านกลยุทธ์
มีผลการดาเนินงานทีไ่ ม่สามารถดาเนิน และความเสีย ่ งด ้านชือ่ เสียง
กิจการต่อไปได ้ (Non-viability Event) 6. ความเสี่ย งด า้ นสภาพคล่ อ ง จากการที่ ผู อ้ อกตราสารไม่
และทางการตัดสินใจจะเข ้าช่วยเหลือ สามารถชาระหนี้สน ิ หรือภาระผูกพันเมือ ่ ถึงกาหนด ไม่สามารถ
ทางการเงินแก่ผู ้ออกตราสาร (เช่น การ เปลี่ย นสิน ทรั พ ย์เ ป็ นเงิน สดได ้ ไม่ ส ามารถจั ด หาเงิน ทุ น ได ้
ให เ้ งิน เพิ่ม ทุ น แก่ผู อ้ อกตราสาร) ซึง่ เพียงพอ หรือสามารถจัดหาเงินทุนได ้ด ้วยต ้นทุนทีส ่ งู เกินกว่า
หากไม่ม ีค วามช่ว ยเหลือ ทางการเงิน
ดั ง กล่ า วจะด าเนิ น งานที่ ไ ม่ ส ามารถ ร ะ ดั บ ที่ ย อ ม รั บ ไ ด ้ ซึ่ ง อ า จ ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ร า ย ไ ด แ ้ ละ
ด าเนิน กิจ การท าให ้ผู ้ออกตราสารไม่ เงินกองทุนของผู ้ออกตราสาร
สามารถด าเนิน กิจ การต่ อ ไปได ้ เช่น 7. การบริหารจัดการเงินกองทุน ผู ้ออกตราสารได ้บริหารจัดการ
( 1) ผู อ้ อ ก ต ร า ส า ร มี ส ิ น ท รั พ ย์ ไ ม่ เงิน กองทุ น ตามหลั ก Basel III ที่ธ ปท. ก าหนดทั ง้ ในระดั บ
เพีย งพอจ่า ยคืน ผู ้ฝากเงินและเจ ้าหนี้ ธนาคารและระดับกลุม ่ ธุรกิจทางการเงิน โดยได ้ถือปฏิบต ั ต
ิ งั ้ แต่
(2) เ งิ น ก อ งทุ น ของผู อ ้ อกตราสาร 1 มกราคม 2556 เป็ นต ้นมา ผู อ้ อกตราสารมีก ารปฏิบั ต ต ิ าม
ลดลงถึงระดับทีจ ่ ะกระทบต่อผู ้ฝากเงิน กระบวนการมาตรฐานในการบริหารความเสีย ่ ง และดูแลความ
และเจ ้าหนี้ หรือ (3) ผู ้ออกตราสารไม่ เพียงพอของเงินกองทุนให ้เป็ นไปตามหลัก เกณฑ์ของธปท.
สามารถเพิม ่ ทุนได ้ด ้วยตัวเอง และหลั ก เกณฑ์ ส ากลมาโดยตลอด มี ก ารท า Stress Test
อ ัตราสว่ นทางการเงินทีส
่ าค ัญของผูอ
้ อก ครอบคลุม ความเสีย ่ งที่ม ีนั ยส าคั ญ ทั ง้ ในภาวะปกติและภาวะ
วิกฤติ เพือ ่ ประเมินผลกระทบต่อความเพียงพอของเงินกองทุน
ค่าเฉลีย

อ ัตราส่วน 9 เดือน ปี และวางกลยุท ธ์เ พื่อ รั ก ษาระดั บ ของเงิน กองทุ น ให ้เพีย งพอ
อุตสาหกรรม ปี 2562
ทางการเงิน ปี 2564 2563 สาหรับปั จจุบน ั และอนาคต
(ล่าสุด)
LCR 1 189.44 189 188 177 ทัง้ นี้ ผู ้ลงทุนสามารถศึกษารายละเอียดของความเสีย ่ งเพิม ่ เติม
ได ้ในแบบแสดงรายการข ้อมูลการเสนอขายตราสารเงินกองทุน
NSFR2 N/A 129 122 131
และร่า งหนั งสือชีช ้ วน (แบบ 69-II&HNW-รายครั ง้ ) ส่ว นที่ 3
Tier 1 ratio3 16.43 16.10 15.35 14.80
1 Liquidity Coverage Ratio: อั ต ร า ส่ ว น สิ น ท รั พ ย์ ส ภ า พ ค ล่ อ ง เ พื่ อ ร อ ง รั บ
หัวข ้อ 3.1-3.5
สถานการณ์ด ้านสภาพคล่องทีม ่ ค
ี วามรุนแรง – ยิง่ สูงยิง่ แสดงถึงความสามารถใน ้ วน
หน ังสือชีช
การรองรับสถานการณ์ด ้านสภาพคล่อง (filing)
2 Net Stable Funding Ratio :แหล่งเงินทีม ่ ค
ี วามมั่นคงต่อความต ้องการแหล่งเงิน SCAN HERE
ทีม่ คี วามมั่นคง – ยิง่ สูงยิง่ แสดงถึงความมั่นคงของแหล่งเงินทีใ่ ช ้ในการประกอบ
กิจการ
3 เงินกองทุนชัน ้ ที่ 1 – ยิง่ สูงยิง่ แสดงถึงความสามารถในการรองรับผลขาดทุน
ข้อกาหนดในการดารงอ ัตราสว่ นทางการเงิน
ไม่ม ี
สรุปฐานะการเงินและผลการดาเนินงานตามงบการเงินรวมย้อนหล ัง 2 ปี หรือเท่าทีม
่ ผ
ี ลการดาเนินงานจริง

ลาด ับการได้ร ับชาระหนี้ (เมือ่ ผู ้ออกตราสารถูกพิทักษ์ ทรัพย์ ถูกศาลพิพากษาให ้ล ้มละลาย หรือมีการชาระบัญชีเพือ่ การเลิกกิจการ)
เจ้าหนีต้ ราสารด้อยสิทธิเพือ

้ าม ัญ (รวมผูฝ
เจ้าหนีส ้ ากเงิน)
น ับเป็นเงินกองทุนประเภทที่ 1
เจ้าหนีไ้ ม่ดอ
้ ยสิทธิ

ผูท
้ ไี่ ด้ร ับ ผูท
้ ไี่ ด้ร ับ
ชาระหนี้ ชาระหนี้
1 2 3 4 5
ก่อน หล ัง

เจ้าหนีม้ ป
ี ระก ัน ผูถ
้ อ
ื ตราสารด้อยสิทธิเพือ่
ผูถ้ อื หุน
้ สาม ัญ
้ ุรม
เจ้าหนีบ ิ สิทธิ น ับเป็นเงินกองทุนประเภทที่ 2
ผูถ
้ อื หุน
้ บุรม
ิ สิทธิ
(รวมทีเ่ สนอขายในครงนีั้ )้
ี่ งสาค ัญของตราสาร
ล ักษณะพิเศษและความเสย
ลัษณะพิเศษ
ในกรณีทเี่ กิดเหตุการณ์ทท ี่ าให ้ผู ้ออกตราสารมีผลการดาเนินงานทีไ่ ม่สามารถดาเนินกิจการต่อไปได ้ ผู ้ออกตราสารจะลดทุนเพือ ่
ล ้างขาดทุนสะสม (เท่า ที่จะสามารถด าเนินการได ้) ก่อ น แล ้วจึงให ้ตราสารทางการเงินใด ๆ ที่ส ามารถรองรั บ ผลขาดทุนได ้และ
ด ้อยสิทธิกว่าตราสารเงินกองทุนทีอ ่ อกและเสนอขายในครัง้ นี้ต ้องรองรับผลขาดทุนก่อน จากนั น ้ จึงดาเนินการยกเลิกดอกเบีย ้ ของ
ตราสารเงินกองทุนทีเ่ กิดขึน ้ แล ้วแต่ยงั ไม่มกี ารชาระเงินจนถึงวันทีก ่ ารรองรับผลขาดทุนมีผลใช ้บังคับ และลดจานวนเงินต ้นทีต ่ ้องชาระ
ภายใต ้ตราสารเงินกองทุนในจานวนเท่ากับจานวนทีต ่ ้องมีการตัดหนี้สญ ู โดยการตัดหนี้สญ ู นั น
้ จะต ้องไม่มากไปกว่าสัดส่วนการลดทุน
ของผู ้ออกตราสารและการรองรับผลขาดทุนของตราสารทางการเงินใด ๆ ทีร่ องรับผลขาดทุนได ้และด ้อยสิทธิกว่าตราสารเงินกองทุน
ทัง้ นี้ การลดจานวนเงินต ้นดังกล่าวจะยกเลิกเพิกถอนไม่ได ้และไม่ต ้องได ้รับความยินยอมจากผู ้ถือตราสารเงินกองทุนและจะต ้องลดใน
สัดส่วนทัดเทียมกัน (pari passu) กับผู ้ถือตราสารทางการเงินทีน ่ ั บเป็ นเงินกองทุนชัน ้ ที่ 2 (Tier 2) และสามารถรองรับผลขาดทุนได ้
ของผู ้ออกตราสาร (เท่าทีส ่ ามารถดาเนินการได ้)
ต วั อย่า ง ผู ้ออกตราสารมีเ งิน กองทุ น รวมทั ง้ หมด 75,000 ล ้านบาท โดยแบ่ง เป็ น
เ งิ น ก อ งทุ น ชั ้น ที่ 1 ที่ เ ป็ น ส่ ว นทุ น (CET1) ทั ้ ง สิ้ น 60,000 ล า้ นบา ท แล ะมี
ตราสารทางการเงิน ที่ นั บ เป็ นเงิน กองทุ น ชั น ้ ที่ 1 (Additional Tier 1) (แบบตั ด
หนี้สูญทัง้ จานวนหรือบางส่วน) จานวน 5,000 ล ้านบาท และมีตราสารทางการเงินที่
นั บเป็ นเงินกองทุนชัน ้ ที่ 2 (Tier 2) (แบบตัดหนี้สูญทัง้ จานวนหรือบางส่วน) จานวน
10,000 ล ้านบาท ต่อมาปรากฏว่าผู ้ออกตราสารมีผลขาดทุนทัง้ สิน ้ เป็ นจานวน 45,000
ล ้านบาท ซึง่ เป็ นผลการดาเนินงานทีไ่ ม่สามารถดาเนินกิจการต่อไปได ้และทางการได ้
ตัดสินใจเข ้าช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู ้ออกตราสาร ผู ้ออกตราสารจะต ้องดาเนินการ
ลดทุ น เช่ น ลดทุ น ร อ ้ ยละ 75 เพื่ อ ล า้ งขาดทุ น ทั ้ง หมด (หรื อ เท่ า ที่ จ ะส ามารถ
ดาเนินการได ้) รวมเป็ นเงินจานวน 45,000 ล ้านบาท เมือ ่ ผู ้ออกตราสารลดทุนเสร็จสิน ้
แผนภาพแสดงลาด ับการรองร ับผลขาดทุน ผู ้ออกตราสารอาจดาเนินการตัดตราสารทางการเงินทีน ่ ับเป็ นเงินกองทุนชัน ้ ที่ 1
(Additional Tier 1) ร ้อยละ 60 รวมเป็ นเงิน จ านวน 3,000 ล ้านบาท เป็ นหนี้ สูญ และด าเนิน การตั ด ตราสารทางการเงิน ที่นับ เป็ น
เงินกองทุนชัน ้ ที่ 2 (Tier 2) เป็ นหนี้สญ ู ซึง่ การตัดตราสารดังกล่าวเป็ นหนี้สญ ู จะต ้องมีอัตราส่วนไม่มากกว่าอัตราส่วนของการลดทุน
และอัตราส่วนของการตัดตราสารทางการเงินทีน ่ ั บเป็ นเงินกองทุนชัน ้ ที่ 1 (Additional Tier 1) ดังกล่าว เช่น ตัดตราสารทางการเงินที่
นับเป็ นเงินกองทุนชัน ้ ที่ 2 (Tier 2) ร ้อยละ 50 รวมเป็ นเงินจานวน 5,000 ล ้านบาท
จากตั ว อย่า งดั ง กล่ า ว หากผู ้ถือ ตราสารเงิน กองทุน รายหนึ่ง มีต ราสารเงิน กองทุ น คิด ตามมูล ค่า ที่ต ราไว ้จ านวน 1 ล ้านบาท
ผู ้ถือตราสารเงินกองทุนรายนั น ้ จะได ้รับผลกระทบจากการทีผ ่ ู ้ออกตราสารทาการตัดตราสารเงินกองทุนเป็ นหนี้สญ ู ในอัตราส่วนร ้อยละ
50 รวมเป็ นเงินจานวน 500,000 บาท และผู ้ถือตราสารเงินกองทุนรายดังกล่าวจะมีตราสารเงินกองทุนคงเหลือคิดตามมูลค่าทีต ่ ราไว ้
จานวน 500,000 บาท โดยให ้ถือว่าผู ้ถือตราสารเงินกองทุนแต่ละรายยินยอมสละสิทธิในการรับชาระคืนเงินต ้นทีถ ่ ูกตัดเป็ นหนีส
้ ญู ไป
ภายใต ้ตราสารเงินกองทุนและดอกเบีย ้ ของตราสารเงินกองทุน (ซึง่ รวมถึงดอกเบีย ้ ของตราสารเงินกองทุนที่เ กิด ขึน ้ แต่ยังมิได ้มี
การจ่ายดอกเบีย ้ ของตราสารเงินกองทุนนัน ้ จนถึงวันทีเ่ กิดเหตุการณ์ทผ ี่ ู ้ออกตราสารเงินกองทุนมีผลการดาเนินงานทีไ่ ม่สามารถดาเนิน
กิจการต่อไปได ้) ทัง้ นี้ การตัดหนีภ ้ ายใต ้ตราสารเงินกองทุนเป็ นหนี้สญ ู ดังกล่าวจะไม่ถอ ื เป็ นเหตุผด
ิ นัดภายใต ้ตราสารเงินกองทุน หรือ
เป็ นการอนุมัตห ิ รือเห็นชอบให ้มีการดาเนินการใด ๆ โดยผู ้ออกตราสาร และผู ้ถือตราสารเงินกองทุนจะไม่มส ี ทิ ธิดาเนินการใด ๆ เพือ ่
เรียกร ้องให ้ผู ้ออกตราสารเงินกองทุนชาระหนีใ้ นส่วนทีไ่ ด ้มีการตัดเป็ นหนีส ้ ญ
ู ไปแล ้ว

ความเสีย ่ งสาคัญของตราสาร
- การลงทุนในตราสารเงินกองทุนนี้ มีความซับซ ้อนและความเสีย ่ งมากกว่าตราสารหนีท ้ ั่วไป และตราสารเงินกองทุนอาจมีตลาดรองที่
จ ากัด ท าให ้ผู ้ลงทุน อาจซือ ้ ขายได ้ไม่ส ะดวก หรือ อาจขาดทุนเงินต ้นเมือ ่ มีการขาย โดยเฉพาะในกรณี ทผ ี่ ู ้ออกตราสารมีผลการ
ด าเนินงานที่ไ ม่ส ามารถด าเนินกิจการต่อ ไปได ้ ราคาของตราสารเงินกองทุนในตลาดรองอาจจะลดลงอย่า งมาก การลงทุนใน
ตราสารเงินกองทุนนี้ จึงเหมาะกับผู ้ลงทุนทีส ่ ามารถลงทุนได ้ในระยะยาวและสามารถรับความเสีย ่ งได ้สูงกว่าการลงทุนในตราสารหนี้
ทั่วไป ผู ้ลงทุนจึงควรศึกษาทาความเข ้าใจลักษณะความเสีย ่ งและเงือ ่ นไขเฉพาะตัวของตราสารให ้ดีกอ ่ นตัดสินใจลงทุน
- ในกรณีทเี่ กิดเหตุการณ์ทท ี่ าให ้ผู ้ออกตราสารมีผลการดาเนินงานทีไ่ ม่สามารถดาเนินกิจการต่อไปได ้ (Non-viability Event) และ
ทางการได ้ตัดสินใจเข ้าช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู ้ออกตราสาร ผู ้ออกตราสารอาจจะตัดหนีภ ้ ายใต ้ตราสารเงินกองทุนเป็ นหนีส ู ซึง่
้ ญ
ส่งผลให ้ผู ้ถือตราสารเงินกองทุนอาจได ้รับชาระหนี้เงินต ้น และ/หรือ ดอกเบีย ้ ในจานวนทีน ่ ้อยกว่าจานวนเงินต ้นและดอกเบีย ้ ตาม
ตราสารเงินกองทุน หรืออาจไม่ได ้รับชาระคืนเงินต ้นและดอกเบีย ้ ค ้างชาระเลย โดยไม่ถอ ื เป็ นเหตุของการผิดนัดชาระหนี้
- ในกรณีทผ ี่ ู ้ออกตราสารถูกศาลมีคาสัง่ พิทักษ์ ทรัพย์เด็ดขาด หรือถูกศาลพิพากษาให ้ล ้มละลายตามกฎหมายว่าด ้วยล ้มละลาย หรือ
กฎหมายอื่น ที่เ กี่ย วข ้อง หรือ มีก ารช าระบั ญ ชีเ พื่อ การเลิก กิจ การของผู อ้ อกตราสาร ผู ถ้ ือ ตราสารจะได ร้ ั บ ช าระหนี้ ห ลั ง จาก
ผู ้ออกตราสารชาระหนี้ให ้แก่ผู ้ฝากเงิน และเจ ้าหนี้ไม่ด ้อยสิทธิทัง้ หมดของผู ้ออกตราสาร แต่จะมีสท ิ ธิได ้รับชาระหนี้ในลาดับก่อน
หน า้ เจ ้าหนี้ด ้อยสิท ธิก ว่ า ตราสารเงิน กองทุน อั น ได ้แก่ (1) ผู ้ถือ ตราสารทุน ทุก ล าดั บ ชัน ้ ของผู ้ออกตราสาร ซึง่ รวมถึงผู ้ถือ หุ ้น
บุรม ิ สิท ธิด ้วย (หากมี) (2) ผู ้ถือ ตราสารทางการเงินที่นับ เป็ นเงินกองทุนชัน ้ ที่ 1 (Additional Tier 1) ได ้ตามกฎหมายไทยและ
ระเบียบข ้อบังคับทีเ่ กีย ่ วข ้อง และ (3) หนีอ ้ น ื่ ๆ (หากมี) ของผู ้ออกตราสารซึง่ อยูใ่ นลาดับการชาระหนีภ ้ ายหลังตราสารเงินกองทุนนี้
ตามทีก ่ าหนดไว ้ในข ้อกาหนด ซึง่ ใช ้บังคับกับหนีด ้ ังกล่าวหรือภายใต ้บังคับแห่งกฎหมาย
- การผิดนัดชาระหนีไ ้ ม่วา่ เงินต ้นหรือดอกเบีย ้ ไม่เป็ นเหตุให ้ผู ้ถือตราสารเรียกให ้หนี้ทงั ้ หมดถึงกาหนดชาระโดยพลันเหมือนกับการผิด
นั ดชาระหนี้ตราสารหนี้ประเภทอืน ่ ๆ ผู ้ถือตราสารจึงมีความเสีย ่ งจากข ้อจากัดในการได ้รับเยียวยาความเสียหายเมือ ่ เกิดเหตุผดิ นัด
ดังกล่าว ทัง้ นี้ สิทธิของผู ้ถือตราสารเงินกองทุนในกรณีทผ ี่ ู ้ออกตราสารผิดนัดไม่ชาระเงินต ้นหรือดอกเบีย ้ จะจากัดอยูเ่ ฉพาะในกรณีท ี่
ผู ้ออกตราสารมีการดาเนินกระบวนการเลิกกิจการ
- ผู ้ออกตราสารมีสท ิ ธิแก ้ไข เปลีย ่ นแปลง และ/หรือเพิม ่ เติมข ้อกาหนดและเงือ ่ นไขของตราสารได ้โดยไม่ต ้องได ้รับความยินยอมจาก
ผู ้ถือตราสาร ถึงแม ้ว่าจะส่งผลกระทบในทางลบต่อสิทธิของผู ้ถือตราสารก็ตาม เพือ ่ ให ้ตราสารเงินกองทุนมีคุณสมบัตค ิ รบถ ้วนตาม
เกณฑ์ของ ธปท. หรือเพือ ่ ให ้เป็ นไปตามคาแนะนาหรือคาสัง่ ของ ธปท. และ/หรือ สานักงาน ก.ล.ต.
- ผู ้ออกตราสารมีสท ิ ธิขอไถ่ถอนตราสารเงินกองทุนทัง้ จานวนก่อนวันครบกาหนดได ้ ณ วันครบรอบ 5 ปี นับแต่วันออกตราสาร หรือวัน
ครบกาหนดชาระดอกเบีย ้ ใดๆ หลังจากนัน ้ หรือกรณีอน ื่ ๆ ตามทีก ่ าหนดไว ้ในข ้อกาหนดสิทธิของตราสาร หากได ้รับความยินยอมจาก
ธปท. โดยไม่ต ้องได ้รับความยินยอมจากผู ้ถือตราสาร ซึง่ ส่งผลให ้ราคาตลาดของตราสารเงินกองทุนซึง่ ซือ ้ ขายอยูใ่ นตลาดรองได ้รับ

ผลกระทบ ผู ้ถือตราสารจึงมีความเสียงหากต ้องนาเงินไปลงทุนใหม่ และอาจไม่สามารถนาเงินทีไ่ ด ้รับจากการไถ่ถอนดังกล่าวไป
ลงทุนในตราสารทีใ่ ห ้ผลตอบแทนใกล ้เคียงกับตราสารเงินกองทุนนี้
- การจั ด อันดั บ ความน่ า เชือ ่ ถือ ของตราสารเป็ นเพียงข ้อมูล ประกอบการตั ด สินใจลงทุ นเท่า นั ้น มิใ ช่ส งิ่ ชีน ้ าการซือ้ ขายตราสารที่
เสนอขาย และไม่ได ้รับประกันความสามารถในการชาระหนีข ้ องผู ้ออกตราสาร

(โปรดศึกษารายละเอียดเพิม ้ วน (แบบ 69-II&HNW-รายครัง้ )


่ เติมในแบบแสดงรายการข ้อมูลการเสนอขายตราสารเงินกองทุนและร่างหนังสือชีช
ส่วนที่ 3 หัวข ้อ 3.6 ปั จจัยความเสีย่ งของตราสารเงินกองทุน)

คาเตือนและข้อมูลแจ้งเตือนอืน

คาเตือน
- การอนุมตั จ ิ ากสานักงาน ก.ล.ต. ไม่ได ้หมายความว่าแนะนาให ้ลงทุน ประกันการชาระหนี้ ผลตอบแทน เงินต ้น หรือรับรองความถูกต ้องของข ้อมูล
- ข ้อมูลสรุปนีเ้ ป็ นส่วนหนึง่ ของหนังสือชีช ้ วน (แบบ 69-II&HNW-รายครัง้ ) ซึง่ เป็ นเพียงข ้อมูลสรุปเกีย่ วกับการเสนอขายลักษณะ
และความเสีย ่ งของหลักทรัพย์และบริษัททีอ ่ อกและเสนอขายหลักทรัพย์ ดังนัน ้ ผู ้ลงทุนต ้องวิเคราะห์ความเสีย ่ งและศึกษาข ้อมูล

จากหนังสือชีชวน (แบบ 69-II&HNW-รายครัง้ )
ข ้อมูลแจ ้งเตือนอืน ่
1. ประวัตผ ิ ดิ นั ดชาระหนี้ : ผู ้ออกตราสารไม่มก ี ารผิดนั ดชาระหนี้ ดอกเบีย
้ หรือเงินต ้นของตราสารหนี้อน ื่ ใด หรือผิดนั ดชาระหนี้
เงินกู ้ยืมจาก ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ หรือสถาบันการเงินทีม ่ ก
ี ฎหมายเฉพาะจัดตัง้ ขึน ้ โดยดู
ประวั ต ย ิ ้อนหลั ง 3 ปี ของผู ้ออกตราสาร จากบริษัท ข ้อมูล เครดิต แห่งชาติ และงบการเงินที่ต ราวจสอบโดยผู ้สอบบัญ ชีรับ
อนุญาต
2. ความขัดแย ้งทางผลประโยชน์ (conflict of interest): ธนาคารกรุงไทย จากัด (มหาชน) จะเป็ นผู ้จัดการการจัดจาหน่ายตรา
สารเงินกองทุนทีธ ่ นาคารกรุงไทยจากัด (มหาชน) เป็ นผู ้ออกตราสารเอง ดังนัน ้ ผู ้ลงทุนควรระมัดระวังในส่วนของความขัดแย ้ง
ทางผลประโยชน์ในการให ้บริการซือ ้ ขายตราสารเงินกองทุน และควรพิจารณาลักษณะ ความเสีย ่ ง และผลตอบแทนของตรา
สารเงินกองทุนประกอบการตัดสินใจลงทุนด ้วย

You might also like