You are on page 1of 10

ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิ งหาคม พ.ศ.

2565 (เว้นแต่จะระบุไว้เป็ นอย่างอื่น)


ข้ อมูลสรุปนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ และหนังสื อชี้ชวน ซึ่งเป็ นเพียงข้อมูลสรุป
เกี่ยวกับการเสนอขาย ลักษณะและความเสี่ ยงของหลักทรัพย์ และของบริษัททีอ่ อกและเสนอขายหลักทรัพย์ ("ผู้ออกหุ้นกู้" หรื อ "บริษัทฯ")
ดังนั้น ผู้ลงทุนต้ องศึกษาข้ อมูลในรายละเอียดจากหนังสื อชี้ชวนฉบับเต็ม ซึ่งสามารถขอได้ จากผู้จัดการการจัดจําหน่ ายหุ้นกู้และผู้ออกหุ้นกู้
หรื ออาจศึกษาข้ อมูลได้ จากแบบแสดงรายการข้ อมูลและร่ างหนังสื อชี้ชวนที่ผ้ อู อกหุ้นกู้ยื่นต่ อสํ านักงาน ก.ล.ต. ได้ ที่ website ของสํ านักงาน ก.ล.ต.
ส่ วนที่ 1 สรุปข้ อมูลสํ าคัญของตราสาร (Factsheet)
"หุ้นกู้ของบริษัท เมืองไทย แคปปิ ตอล จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 7/2565 ชุดที่ 1 ครบกําหนดไถ่ ถอนปี พ.ศ. 2567" ("หุ้นกู้ชุดที่ 1")
และ
"หุ้นกู้ของบริษัท เมืองไทย แคปปิ ตอล จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 7/2565 ชุดที่ 2 ครบกําหนดไถ่ ถอนปี พ.ศ. 2568" ("หุ้นกู้ชุดที่ 2")
(รวมเรียกหุ้นกู้ชุดที่ 1 และหุ้นกู้ชุดที่ 2 ว่ า "หุ้นกู้")
ภายใต้ โครงการหุ้นกู้ของบริษัท เมืองไทย แคปปิ ตอล จํากัด (มหาชน) ปี พ.ศ. 2564 วงเงิน 105,000,000,000 บาท ("โครงการหุ้นกู้")
ออกโดยบริษัท เมืองไทย แคปปิ ตอล จํากัด (มหาชน)
ข้ อมูลที่สําคัญของตราสาร
ประเภทตราสาร หุน้ กูช้ นิดระบุชื่อผูถ้ ือ ประเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ประเภทการเสนอขาย  PO  PP (II)*
ไม่มีประกัน และมีผแู ้ ทนผูถ้ ือหุ ้นกู้  PP (HNW)*  PP (II&HNW)
* II หมายถึง ผูล้ งทุนสถาบัน
HNW หมายถึง ผูล้ งทุนรายใหญ่
สกุลเงิน สกุลเงินบาท การไถ่ ถอนก่อนกําหนด ไม่มี
การจัดอันดับ  ไม่มี  ผูค้ ้ าํ ประกัน/ผูร้ ั บอาวัล การคํา้ ประกัน/หลักประกัน ไม่มี
ความน่ าเชื่ อถือ  ตราสาร  ผูอ้ อกตราสาร
หุ ้นกู้ได้รับ การจัด อันดับ ความน่ าเชื่ อถื อ
"BBB+" แนวโน้ม "คงที่ " โดยบริ ษทั ทริ ส
เรทติ้ง จํากัด เมื่ อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ.
2565 ทั้งนี้ ผูอ้ อกหุ ้น กู จ้ ะจัด ให้มีการจัด
อ นั ด บั ความน่า เชื ่อ ถือ ของหุ ้น กู จ้ าก
ส ถาบ นั จ ดั อ นั ด บั ค วามน่า เชื ่อ ถือ ที่
สํานักงาน ก.ล.ต. ให้ความเห็ นชอบตลอด
อายุของหุน้ กู้
มูลค่ าของหุ้นกู้ที่ หุน้ กูช้ ุดที่ 1: ไม่ เกิ น 3,500,000,000 (สาม จํานวนหน่ วยของหุ้นกู้ หุน้ กูช้ ุดที่ 1: ไม่ เกิ น 3,500,000 (สามล้าน
เสนอขาย พันห้าร้อยล้าน) บาท ที่เสนอขาย ห้าแสน) หน่วย
หุน้ กูช้ ุดที่ 2: ไม่ เกิ น 2,500,000,000 (สอง หุน้ กูช้ ุดที่ 2: ไม่ เกิ น 2,500,000 (สองล้าน
พันห้าร้อยล้าน) บาท ห้าแสน) หน่วย
มูลค่ าการเสนอขายรวม ไม่ เกิ น 3,500,000,000 (สามพัน ห้ าร้ อยล้าน) จํานวนหน่ วยที่เสนอขายรวม ไม่ เกิ น 3,500,000 (สามล้ า นห้ าแสน)
บาท หน่วย
มูลค่ าของหุ้นกู้สํารอง ไม่เกิน 2,000,000,000 (สองพันล้าน) บาท จํานวนหน่ วยของ ไม่เกิน 2,000,000 (สองล้าน) หน่วย
ที่เสนอขาย หุ้นกู้สํารองที่เสนอขาย
มูลค่ าของหุ้นกู้ ไม่เกิ น 5,500,000,000 (ห้าพันห้าร้อยล้าน) จํานวนหน่ วยของหุ้นกู้ ไม่เกิน 5,500,000 (ห้าล้านห้าแสน)
ที่เสนอขายรวมทั้งสิ้น บาท ที่เสนอขายรวมทั้งสิ้น หน่วย
มูลค่ าที่ตราไว้ ต่อหน่ วย 1,000 (หนึ่งพัน) บาท ราคาเสนอขายต่ อหน่ วย 1,000 (หนึ่งพัน) บาท

ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) หน้า 1


ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิ งหาคม พ.ศ. 2565 (เว้นแต่จะระบุไว้เป็ นอย่างอื่น)
อัตราดอกเบี้ย  คงที่ งวดการจ่ ายดอกเบี้ย ผูอ้ อกหุ ้นกูจ้ ะชําระดอกเบี้ยหุน้ กูท้ ุก ๆ 3
หุน้ กูช้ ุดที่ 1: มี อัต ราดอกเบี้ ยคงที่ ร้ อยละ (สาม) เดือน โดยจะชําระในวันที่ 24
3.50 (สามจุดห้าศูนย์) ต่อปี กุมภาพันธ์ วันที่ 24 พฤษภาคม วันที่ 24
หุน้ กูช้ ุดที่ 2: มี อัต ราดอกเบี้ ยคงที่ ร้ อยละ สิ งหาคม และวันที่ 24 พฤศจิกายน ของแต่
3.80 (สามจุดแปดศูนย์) ต่อปี ละปี ตลอดอายุหุน้ กู้ เว้นแต่งวดดอกเบี้ย
 ลอยตัว งวดสุ ดท้าย ซึ่งจะชําระในวันครบกําหนด
 ผสม ไถ่ถอนหุ ้นกูแ้ ต่ละชุด
ในการคํานวณดอกเบี้ ย หุ ้น กู้ จะคํานวณ
โดยนํา (ก) ผลคูณของจํานวนเงินต้นคงค้าง
ของหุ ้นกูแ้ ต่ละหน่ วย ณ วันแรกของงวด
ดอกเบี้ยนั้น กับอัตราดอกเบี้ยสําหรับงวด
ดอกเบี้ยนั้น ไปคูณกับ (ข) จํานวนวันสําหรับ
งวดดอกเบี้ ยนั้น หารด้วย 365 (ยกเว้นจะ
ใช้วิธีการนับวันแบบอื่นตามที่กาํ หนดใน
เอกสารแสดงรายละเอียดหุน้ กูท้ ี่เกี่ยวข้อง)
โดยจํานวนดอกเบี้ยที่ ได้ให้ปัดเศษให้ได้
ค่าเป็ นทศนิยม 6 (หก) ตําแหน่ง (ถ้าตําแหน่ง
ที่ 7 (เจ็ด) มีค่ามากกว่าหรื อเท่ากับ 5 (ห้า)
ให้ทาํ การปั ดทศนิ ยมตําแหน่งที่ 6 (หก) ขึ้น
หนึ่ งตําแหน่ง) นอกนั้นให้ปัดลง ทั้งนี้ โดยไม่
คํานึ งถึงข้อกําหนดอื่นใดในข้อกําหนดสิ ทธิ
นี้ หากวันกําหนดชําระเงิ นใด ๆ ของหุ ้ นกู้
ไม่ตรงกับวันทําการ ให้ชาํ ระเงินดังกล่าวใน
วันทําการถัด ไปแทน (โดยจะไม่ มี ก าร
คํานวณดอกเบี้ยสําหรับการเลื่อนวันชําระ
ดอกเบี้ยดังกล่าว) โดยการชําระเงินในกรณี
นี้ จะเสมือนมีผลการชําระเงินในวันกําหนด
ชํา ระดอกเบี้ ย ทั้งนี้ ในวัน กํา หนดชําระ
ดอกเบี้ ย ครั้ งสุ ด ท้าย ให้ ค าํ นวณดอกเบี้ ย
สําหรับจํานวนเงินใด ๆ ที่เลื่อนวันชําระเงิน
ออกไปตามเงื่อนไขในข้อกําหนดสิ ทธิ ไปจนถึง
(แต่ไม่รวม) วันที่มีการชําระดอกเบี้ยจริ ง
วันออกหุ้นกู้ วันที่ 24 สิ งหาคม พ.ศ. 2565 ระยะเวลาการเสนอขาย วันที่ 19, 22 และ 23 สิ งหาคม พ.ศ. 2565
วันครบกําหนด หุน้ กูช้ ุดที่ 1: วันที่ 24 สิ งหาคม พ.ศ. 2567 อายุตราสาร หุน้ กูช้ ุดที่ 1: มีอายุ 2 (สอง) ปี
ไถ่ ถอนหุ้นกู้ หุน้ กูช้ ุดที่ 2: วันที่ 24 สิ งหาคม พ.ศ. 2568 หุน้ กูช้ ุดที่ 2: มีอายุ 3 (สาม) ปี
วันจ่ ายดอกเบีย้ งวดแรก วันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 นายทะเบียนหุ้นกู้ ธนาคารกรุ งศรี อยุธยา จํากัด (มหาชน)
หรื อผูท้ ี่ได้รับแต่งตั้งโดยชอบให้ทาํ หน้าที่
เป็ นนายทะเบียนหุน้ กูแ้ ทน
ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ธนาคารกรุ งศรี อยุธยา จํากัด (มหาชน) หรื อผูท้ ี่ได้รับแต่งตั้งโดยชอบให้ทาํ หน้าที่เ ป็ นผูแ้ ทนผูถ้ ื อหุ ้นกู้แ ทน

ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) หน้า 2


ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิ งหาคม พ.ศ. 2565 (เว้นแต่จะระบุไว้เป็ นอย่างอื่น)
ผู้จัดการ ธนาคารกรุ งเทพ จํากัด (มหาชน)
การจัดจําหน่ ายหุ้นกู้ ธนาคารกรุ งไทย จํากัด (มหาชน)
ธนาคารกสิ กรไทย จํากัด (มหาชน) *
ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จํากัด (มหาชน) และ
บริ ษทั หลักทรัพย์ หยวนต้า (ประเทศไทย) จํากัด
หมายเหตุ:
*
ซึ่ งรวมถึงบริ ษัทหลักทรั พย์ กสิ กรไทย จํากัด (มหาชน) ในฐานะหน่ วยงานขายของธนาคารกสิ กรไทย จํากัด (มหาชน)
สําหรั บการจอง การจัดจําหน่ าย และการจัดสรรหุ้ นกู้ให้ แก่ ผ้ ูลงทุนทั่วไปเท่ านั้น
ทั้งนี้ ผูจ้ ดั การการจัดจําหน่ายหุน้ กู้ มีความเกี่ยวข้องกับผูอ้ อกหุ ้นกู้ ดังต่อไปนี้
ธนาคารกรุ งเทพ จํากัด (มหาชน) ธนาคารกรุ งไทย จํากัด (มหาชน) ธนาคารกสิ กรไทย จํากัด (มหาชน) และ
ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จํากัด (มหาชน) มีสถานะเป็ นเจ้าหนี้ ของผูอ้ อกหุ ้นกูด้ ว้ ย
ณ วันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 ธนาคารกรุ งไทย จํากัด (มหาชน) ถือหุ ้นในผูอ้ อกหุ ้นกูจ้ าํ นวน 400,000 หุ ้น คิด
เป็ นสัดส่ วนร้อยละ 0.02 ของทุนจดทะเบียนที่ชาํ ระแล้วของผูอ้ อกหุ ้นกู้
ข้ อกําหนดในการดํารง ผูอ้ อกหุ ้นกูจ้ ะต้องดํารงสัดส่ วนหนี้ สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น (Debt to Equity Ratio) ของผูอ้ อกหุ ้นกูใ้ นอัตราส่ วนไม่เกิน
อัตราส่ วนทางการเงิน 7: 1 (เจ็ดต่อหนึ่ง) ณ วันสิ้ นงวดบัญชีของแต่ละปี โดยทําการคํานวณจากงบการเงินรวมที่ผ่านการตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชี
ของผูอ้ อกหุน้ กู้ (ซึ่งเป็ นผูส้ อบบัญชีที่ได้รับอนุญาตจากสํานักงาน ก.ล.ต.) ตลอดอายุหุน้ กู้
เพื่อประโยชน์ในการคํานวณอัตราส่ วนดังกล่าวข้างต้น
"หนี้ สิน" หมายถึง หนี้ สินรวมของผูอ้ อกหุ ้นกูต้ ามที่ปรากฏในงบการเงินรวมที่ได้ผ่านการตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีของ
ผูอ้ อกหุน้ กูแ้ ล้ว
"ส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น" หมายถึง ส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นของผูอ้ อกหุ ้นกูต้ ามที่ปรากฏในงบการเงินรวมที่ได้ผ่านการตรวจสอบโดย
ผูส้ อบบัญชีของผูอ้ อกหุน้ กูแ้ ล้ว
ทั้งนี้ ตามรายละเอียดที่ ระบุไว้ในข้อ 7.2(ฒ) ของข้อกําหนดว่าด้วยสิ ทธิ และหน้าที่ ของผูอ้ อกหุ ้นกูแ้ ละผูถ้ ือหุ ้นกู้
สําหรับหุน้ กูป้ ระเภทมีผแู ้ ทนผูถ้ ือหุ ้นกู้ (ตามแบบที่ระบุไว้ในเอกสารแนบ 6.1 ร่ างข้อกําหนดว่าด้วยสิ ทธิ และหน้าที่
ของผูอ้ อกหุ ้นกู้และผูถ้ ื อหุ ้นกู้ สําหรั บหุ ้นกู้ประเภทมี ผูแ้ ทนผูถ้ ื อหุ ้นกู้ ของแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขาย
ตราสารหนี้ (แบบ 69-BASE-PO) และร่ างหนังสื อชี้ชวนสําหรับโครงการหุน้ กู)้ ("ข้ อกําหนดสิ ทธิ")
ข้ อจํากัดการโอน ไม่มีขอ้ จํากัดการโอนหุน้ กู้
ลําดับการได้ รับชําระหนีก้ รณีผ้อู อกตราสารล้มละลายหรื อเลิกกิจการ

ความเสี่ ยง
อายุตราสาร
ยาว ความเสี่ ยงสู ง (1) หมายถึง หุน้ กูช้ ุดที่ 1
(2) หมายถึง หุน้ กูช้ ุดที่ 2
3 ปี (2)
2 ปี (1)
1 ปี
สั้น ความเสี่ ยงตํ่า
AAA AA A BBB unrated อันดับความน่ าเชื่ อถือ

ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) หน้า 3


ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิ งหาคม พ.ศ. 2565 (เว้นแต่จะระบุไว้เป็ นอย่างอื่น)
คําเตือนที่สําคัญ
- ตลาดตราสารหนี้ ในประเทศไทยมีสภาพคล่องตํ่า การขายตราสารก่อนครบกําหนดไถ่ถอนในตลาดรองนั้นอาจได้รับมูลค่าขายตราสารลดลง
หรื อเพิม่ ขึ้นได้ โดยขึ้นอยูก่ บั สภาวะและความต้องการของตลาดในขณะนั้น
- การออกและเสนอขายหุน้ กูค้ รั้งนี้ มีหุ้นกูท้ ้ งั หมด 2 (สอง) ชุด ซึ่งหุน้ กูแ้ ต่ละชุดมีอายุของหุ น้ กู้ และ/หรื อ ระดับความเสี่ ยงของหุน้ กูท้ ี่แตกต่างกัน
โดยหุน้ กูท้ ี่มีอายุมากกว่าจะมีระดับความเสี่ ยงที่สูงกว่า
- การจัดอันดับความน่าเชื่อถือของหุ ้นกูเ้ ป็ นเพียงข้อมูลประกอบการตัดสิ นใจลงทุนเท่านั้น มิใช่สิ่งชี้นาํ การซื้ อขายตราสารหนี้ที่เสนอขาย และ
ไม่ได้เป็ นการรับประกันความสามารถในการชําระหนี้ของผูอ้ อกหุน้ กู้
ลักษณะพิเศษและความเสี่ ยงที่สําคัญของตราสาร
หุ ้นกูไ้ ม่มีลกั ษณะพิเศษและไม่มีความเสี่ ยงของหุ ้นกูใ้ นลักษณะพิเศษใด ๆ กล่าวคือ มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยหุ ้นกูใ้ นอัตราคงที่อย่างชัดเจน
และแน่ นอน และผูอ้ อกหุ ้นกู้ตกลงชําระคืนเงินต้นเต็มจํานวนไม่ว่าในกรณี ใด ๆ โดยไม่มีขอ้ กําหนดในการแปลงสภาพหุ ้นกู้เป็ นหุ ้นหรื อ
สิ นทรัพย์อื่นใด และไม่มีเหตุการณ์หรื อเงื่อนไขใดที่อนุญาตให้มีการไถ่ถอนหุ ้นกูก้ ่อนกําหนด นอกจากนั้น สิ ทธิ หรื อลําดับในการรับชําระหนี้
ของผูถ้ ือหุน้ กูย้ งั เท่าเทียมกับลําดับในการรับชําระหนี้ของเจ้าหนี้สามัญที่ไม่มีหลักประกันและไม่ดอ้ ยสิ ทธิของผูอ้ อกหุ ้นกู้
ความเสี่ ยงทั่วไป
ความเสี่ ยงเกี่ยวกับผู้ออกหุ้นกู้
รายละเอียดปรากฏตาม ส่ วนที่ 2.1 การประกอบธุรกิจ หัวข้อที่ 3 ปัจจัยความเสี่ ยง ของแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (MTN)
(แบบ 69-BASE-PO) และร่ างหนังสื อชี้ชวน ทั้งนี้ ความเสี่ ยงหลักที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการชําระหนี้ของผูอ้ อกหุ ้นกู้ โดยตรงมีดงั นี้
ความเสี่ ยงด้านคุณภาพของลูกหนี้ ผูอ้ อกหุน้ กูด้ าํ เนิ นธุรกิจให้บริ การสิ นเชื่อทะเบียนรถ โดยมุ่งเน้นกลุ่มลูกค้าที่มีรายได้อยูใ่ นระดับปานกลาง
ถึงน้อยที่ไม่สามารถเข้าถึงบริ การสิ นเชื่ อของธนาคารพาณิ ชย์ เช่น พนักงานโรงงาน รับจ้าง เกษตรกร เป็ นต้น ซึ่ งลูกค้ากลุ่มดังกล่าวเป็ นกลุ่มที่ มี
รายได้ไม่แน่นอน และอาจส่ งผลทําให้โอกาสในการผิดนัดชําระหนี้ค่อนข้างสู ง ดังนั้น ผูอ้ อกหุ ้นกูอ้ าจได้รับผลกระทบดังกล่าว โดยทําให้สินเชื่อ
ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ของผูอ้ อกหุน้ กูเ้ พิ่มสู งขึ้น ซึ่งจะส่ งผลต่อการตั้งสํารองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญและผลการดําเนินงานของผูอ้ อกหุ ้นกูไ้ ด้
อย่างไรก็ดีดว้ ยระบบการพิจารณาอนุ มตั ิสินเชื่อของผูอ้ อกหุ ้นกู้ ซึ่ งนอกจากการพิจารณาวงเงินสิ นเชื่ อให้สอดคล้องกับหลักประกัน
แล้ว ผูอ้ อกหุ ้นกูย้ งั ให้ความสําคัญกับการตรวจสอบข้อมูลของลูกค้าและผูค้ ้ าํ ประกัน เพื่อพิจารณาถึงความสามารถในการผ่อนชําระหนี้ ของ
ลูกค้าและผูค้ ้ าํ ประกัน ประกอบกับการที่ผอู ้ อกหุ ้นกูม้ ีระบบในการบริ หารและติดตามหนี้ ที่มีประสิ ทธิ ภาพ จะช่วยลดความเสี่ ยงที่จะเกิดสิ นเชื่อ
ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) ลงได้ นอกจากนี้ ผูอ้ อกหุ ้นกูไ้ ด้มีการกําหนดวงเงินสู งสุ ดสําหรับสิ นเชื่ อแต่ละประเภทและวงเงินสู งสุ ดสําหรับ
สิ นเชื่ อทุกประเภทของลูกค้าแต่ละราย (Single Limit) เพื่อจํากัดความเสี่ ยงสู งสุ ดที่อาจเกิดจากผูข้ อสิ นเชื่ อแต่ละราย ซึ่ งสามารถช่วยลดความเสี่ ยง
ดังกล่าวได้อีกส่ วนหนึ่ ง จากนโยบายดังกล่าวข้างต้น ทําให้ผอู ้ อกหุน้ กูส้ ามารถรักษาสัดส่ วนสิ นเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อสิ นเชื่อรวมให้อยูใ่ น
ระดับตํ่า โดยในปี พ.ศ. 2561 - พ.ศ. 2564 และสิ้ นสุ ดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2565 ผูอ้ อกหุ ้นกูม้ ีสัดส่ วนเงินให้สินเชื่ อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อ
สิ นเชื่อรวมเท่ากับร้อยละ 1.12 ร้อยละ 1.03 ร้อยละ 1.05 ร้อยละ 1.39 และร้อยละ 1.96 ตามลําดับ
ความเสี่ ยงจากการพึ่งพิงเงินกูย้ ืมจากแหล่งภายนอก ผูอ้ อกหุ ้นกูใ้ ช้แหล่งเงินทุนหลักในการปล่อยสิ นเชื่อจากการออกหุ ้นกูแ้ ละเงินกูย้ มื จาก
สถาบันการเงิน โดย ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2565 ผูอ้ อกหุ ้นกูม้ ีวงเงินกูย้ ืมจํานวน 90,181 ล้านบาท และมีภาระหนี้ คงค้างจํานวน 82,620 ล้านบาท
คิดเป็ นร้อยละ 75.48 ของแหล่งเงินทุนทั้งหมดของผูอ้ อกหุ ้นกู้ โดยแบ่งเป็ น เงินกูย้ ืมระยะสั้นจํานวน 5,863 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 7.10 ของ
เงินกูย้ มื ทั้งหมด เงินกูย้ ืมระยะยาว และหุ ้นกูจ้ าํ นวน 76,758 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 92.90 ของเงินกูย้ ืมทั้งหมด โดยมีวงเงินระยะยาวจํานวนหนึ่ งเป็ น
วงเงินของธนาคารพาณิ ชย์ ดังนั้น หากผูอ้ อกหุ ้นกูไ้ ม่สามารถออกและเสนอขายหุ ้นกู้ได้ตามแผนการใช้เงินที่วางไว้ และ/หรื อ หากธนาคารพาณิ ชย์
ดังกล่าวไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินกับผูอ้ อกหุน้ กูอ้ ีกต่อไป ผูอ้ อกหุ ้นกูอ้ าจประสบปั ญหาด้านสภาพคล่องที่จะนํามาใช้ในการปล่อยสิ นเชื่อให้แก่
ลูกค้า และจะส่ งผลกระทบต่อผลการดําเนินงานของผูอ้ อกหุน้ กูใ้ นที่สุด
อย่างไรก็ตาม ผูอ้ อกหุน้ กูไ้ ด้เตรี ยมการบริ หารความเสี่ ยงโดยการจัดหาเงินกูย้ มื จากหลากหลายแหล่งทั้งในตลาดตราสารหนี้ และการกู้
จากสถาบันการเงิน เพือ่ กระจายความเสี่ ยงจากการก่อหนี้
ทั้งนี้ ผูอ้ อกหุ ้นกูย้ งั มีความเสี่ ยงที่เกี่ยวข้องกับการดําเนิ นงานอื่น ๆ อาทิ ความเสี่ ยงจากการแข่งขันในอุตสาหกรรมสิ นเชื่อทะเบียนรถ

ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) หน้า 4


ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิ งหาคม พ.ศ. 2565 (เว้นแต่จะระบุไว้เป็ นอย่างอื่น)
ความเสี่ ยงจากการไม่สามารถติดตามยึดหลักประกันได้ ความเสี่ ยงจากการขายทรัพย์สินที่ยึดมาได้ ความเสี่ ยงจากการทุจริ ตของพนักงาน ความเสี่ ยง
จากการเก็บรักษาข้อมูลและเอกสารสําคัญต่าง ๆ ความเสี่ ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ ยงจากโอกาสในการก่อหนี้ เพิ่มใน
อนาคต ความเสี่ ยงจากการเข้ามาควบคุมของภาครัฐ การเปลี่ยนแปลงกฎหมายและการพัฒนามาตรฐานบัญชี ความเสี่ ยงจากการพึ่งพิงผูบ้ ริ หาร
หลักในการประกอบธุรกิจ ความเสี่ ยงจากการมีผถู ้ ือหุน้ รายใหญ่ถือหุน้ เกินกว่าร้อยละ 50 ความเสี่ ยงจากการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก และ
ความเสี่ ยงจากอุตสาหกรรมการเกษตรในประเทศ เป็ นต้น
อนึ่ ง ความเสี่ ยงอื่ น ๆ ที่ เกี่ ยวข้องกับผูอ้ อกหุ ้ นกู้ มี รายละเอี ยดปรากฏตามส่ วนที่ 2.1 การประกอบธุ รกิ จ หั วข้อที่ 3 ปั จจัยความเสี่ ยง
ของแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายตราสารหนี้ (MTN) (แบบ 69-BASE-PO) และร่ างหนังสื อชี้ชวน
ความเสี่ ยงของตราสาร
ความเสี่ ยงด้านเครดิต ผูอ้ อกหุ ้นกูจ้ ะจัดให้มีการจัดอันดับความน่ าเชื่ อถือของหุ ้นกูจ้ ากสถาบันจัดอันดับความน่ าเชื่ อถือที่สํานักงาน
ก.ล.ต. ให้ความเห็นชอบตลอดอายุของหุ ้นกูแ้ ต่ละชุด (รายละเอียดปรากฏตามแบบ 69-Pricing และเอกสารแสดงรายละเอียดหุ ้นกูท้ ี่เกี่ยวข้อง)
ทั้งนี้ ความเสี่ ยงด้านเครดิตหมายถึง ความเสี่ ยงที่ผอู ้ อกหุ ้นกูอ้ าจจะไม่สามารถจ่ายชําระดอกเบี้ย (ถ้ามี) หรื อไม่สามารถจ่ายชําระคืนเงินต้นของหุ น้ กู้
ไม่ว่าด้วยเหตุใด ๆ ซึ่ งเมื่อผูอ้ อกหุ ้นกูห้ ยุดจ่ายดอกเบี้ยหรื อเงินต้นของหุ ้นกู้ จะถือเป็ นการผิดนัดชําระหนี้หุ้นกู้ (Default) โดยหากผูอ้ อกหุ ้นกูต้ กเป็ น
บุคคลล้มละลายหรื อผิดนัดชําระหนี้ หุ้นกู้ ผูถ้ ือหุ ้นกูจ้ ะมีสิทธิ ในการขอรับชําระหนี้ เท่าเทียมกับเจ้าหนี้ ไม่ดอ้ ยสิ ทธิ และไม่มีหลักประกันรายอื่น ๆ
ของผูอ้ อกหุ ้นกู้ โดย ณ วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 หุน้ กูไ้ ด้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ "BBB+" แนวโน้ม "คงที่" โดยบริ ษทั ทริ สเรทติ้ง
จํากัด
ในการประเมิ นความเสี่ ยงด้านเครดิ ตของผูอ้ อกหุ ้นกูห้ รื อหุ ้นกู้ ผูล้ งทุนสามารถดู credit rating ที่ จดั ทําโดยสถาบันจัดอันดับความเสี่ ยง
(CRA) ประกอบการตัดสิ นใจลงทุ นได้ ถ้า credit rating ของผูอ้ อกหุ ้ นกู้หรื อหุ ้นกูต้ ่ าํ แสดงว่าความเสี่ ยงด้านเครดิ ตของหุ ้ นกู้หรื อผูอ้ อกหุ ้ นกู้สู ง
ผลตอบแทนที่ผลู ้ งทุนได้รับควรจะสู งด้วยเพื่อชดเชยความเสี่ ยงที่สูงของผูอ้ อกหุ ้นกูห้ รื อหุ ้นกูด้ งั กล่าว
อย่างไรก็ตาม ก่อนการลงทุนผูล้ งทุนควรศึกษาข้อมูลผลการดําเนิ นงานของผูอ้ อกหุ ้นกู้ นอกจากการพิจารณา credit rating ของหุ ้นกูห้ รื อ
ผูอ้ อกหุ ้นกู้ และผูล้ งทุ นควรติ ดตามข้อมู ลข่ าวสารของผูอ้ อกหุ ้นกู้รวมถึ งการปรั บปรุ งเปลี่ ยนแปลงการจัดอันดับ credit rating ได้จากเว็บไซต์
สํานักงาน ก.ล.ต. สถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือ หรื อสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย
ความเสี่ ยงด้านราคา เมื่อผูถ้ ือหุ ้นกูต้ อ้ งการขายหุ ้นกูก้ ่อนวันครบกําหนดไถ่ถอนหุ ้นกู้ หุ ้นกูอ้ าจขายได้ต่าํ กว่ามูลค่าที่ตราไว้หรื อราคาที่ซ้ื อมา
ซึ่ งเป็ นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาด กล่าวคือ หากอัตราดอกเบี้ยของตลาดสู งขึ้น ราคาหุ ้นกูจ้ ะลดลง ทั้งนี้ โดยทัว่ ไปราคา
ของหุน้ กูท้ ี่มีอายุคงเหลือยาวกว่าจะได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยในตลาดมากกว่า
ความเสี่ ยงด้านสภาพคล่อง เมื่อผูถ้ ือหุ ้นกูป้ ระสงค์จะขายหุ ้นกูใ้ นตลาดรองก่อนครบกําหนดไถ่ถอนหุ ้นกู้ ผูถ้ ือหุ ้นกูอ้ าจไม่สามารถขายหุ ้นกู้
ได้ทนั ทีในราคาที่ตนเองต้องการ เนื่ องจากการซื้ อขายเปลี่ยนมือของตราสารในตลาดรองอาจมีไม่มาก ทั้งนี้ ผูอ้ อกหุ ้นกูไ้ ม่ได้นาํ หุ ้นกูไ้ ปซื้ อขายใน
ตลาดรองใดๆ ผู ้ถื อหุ ้ นกู้ส ามารถซื้ อขายหุ ้ นกู้ได้ที่ ธนาคารพาณิ ช ย์ บริ ษ ัทหลักทรั พ ย์ หรื อนิ ติ บุ ค คลอื่ นใด ที่ มี ใบอนุ ญ าตค้าหลักทรั พ ย์
อันเป็ นตราสารแห่งหนี้
ความเสี่ ยงจากความสามารถในการชําระหนี้ ผูอ้ อกหุ ้นกูม้ ีการออกหุ ้นกูอ้ ย่างต่อเนื่ องเพื่อนําเงินไปใช้เพื่อเป็ นเงินทุนหมุนเวียนในการ
ดําเนิ นธุ รกิจ และ/หรื อ รองรับการขยายธุ รกิจของผูอ้ อกหุ ้นกู้ และ/หรื อ ไปใช้เพื่อชําระคืนหุ ้นกูห้ รื อตัว๋ แลกเงินที่ ถึงกําหนดไถ่ถอน รวมถึงใช้เป็ น
เงินทุนหมุนเวียนของผูอ้ อกหุ ้นกู้ อย่างไรก็ดีหากผูอ้ อกหุน้ กูไ้ ม่มีการออกหุ ้นกูใ้ หม่ ผูอ้ อกหุน้ กูเ้ ชื่อว่าจะสามารถจัดหาเงินกูย้ มื ใหม่ เพื่อชําระคืน
หนี้ สินเดิม และปรับเปลี่ยนการชําระคืนเงินต้นให้เหมาะสมกับกระแสเงินสดของผูอ้ อกหุ ้นกูไ้ ด้เป็ นอย่างดี โดย ณ วันที่ 30 มิ ถุนายน พ.ศ. 2565
ผูอ้ อกหุน้ กูม้ ีวงเงินกูย้ มื จากธนาคารพาณิ ชย์คงเหลือที่สามารถเบิกใช้ได้จาํ นวน 4,580 ล้านบาท
ข้อมูลผู้ออกตราสาร
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
บริ ษทั ฯ ประกอบธุรกิจให้บริ การสิ นเชื่อทะเบียนรถ สิ นเชื่อโฉนดที่ดินและสิ นเชื่อส่ วนบุคคลแก่ลูกค้ารายย่อยที่เป็ นบุคคลธรรมดาทัว่ ไป
ทั้งนี้ ลักษณะของการให้บริ การสิ นเชื่อแต่ละประเภท มีรายละเอียดดังนี้
1. สิ นเชื่อทะเบียนรถ

ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) หน้า 5


ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิ งหาคม พ.ศ. 2565 (เว้นแต่จะระบุไว้เป็ นอย่างอื่น)
สิ นเชื่ อทะเบียนรถเป็ นการให้บริ การสิ นเชื่ อแก่ลูกค้ารายย่อยทัว่ ไปที่เป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ในรถมาแล้วไม่น้อยกว่าระยะเวลาที่
บริ ษ ัทฯ กําหนด หรื อมี หลักฐานที่ แสดงให้เห็ นได้ว่าญาติ สนิ ทเป็ นผูถ้ ื อกรรมสิ ทธิ์ มาก่ อนหน้ านั้น เพื่ อให้มน่ั ใจได้ว่าผูข้ อสิ นเชื่ อเป็ นเจ้าของ
กรรมสิ ทธิ์ จริ ง ลูกค้าที่มาขอสิ นเชื่ อจะต้องส่ งมอบสมุดคู่มือจดทะเบี ยนรถตัวจริ งให้แก่บริ ษทั ฯ เพื่อเป็ นหลักประกัน โดยไม่ตอ้ งจดทะเบียนโอน
กรรมสิ ทธิ์ ในสมุดคู่มือจดทะเบียนรถ แต่จะต้องลงนามในบันทึกข้อตกลงการโอนกรรมสิ ทธิ์ เพื่อรับทราบข้อตกลงที่หากลูกค้าผิดนัดไม่ชาํ ระหนี้
ให้กบั บริ ษทั ฯ ไม่ว่าทั้งหมดหรื อบางส่ วน ลูกค้ายินยอมที่จะโอนกรรมสิ ทธิ์ และส่ งมอบรถที่เป็ นหลักประกันการขอสิ นเชื่อให้แก่บริ ษทั ฯ รวมทั้งลง
นามในแบบคําขอโอนและรั บโอนและหนังสื อมอบอํานาจของกรมการขนส่ งทางบก ทั้งนี้ ลู กค้าจะยังคงเป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ในรถที่ นํามา
ขอสิ นเชื่อและสามารถนํารถกลับไปใช้งานตามปกติได้
บริ การสิ นเชื่อทะเบียนรถของบริ ษทั ฯ สามารถแบ่งประเภทตามประเภทของรถที่เป็ นหลักประกันได้ ดังนี้
(1) สิ นเชื่อทะเบียนรถจักรยานยนต์
(2) สิ นเชื่อทะเบียนรถยนต์
(3) สิ นเชื่อทะเบียนรถเพื่อการเกษตร
2. สิ นเชื่ออื่น ๆ
2.1 บริ การสิ นเชื่อส่ วนบุคคล
สิ นเชื่ อส่ วนบุคคลภายใต้การกํากับของธนาคารแห่ งประเทศไทย โดยได้รับใบอนุ ญาตจากกระทรวงการคลังเมื่อวันที่
31 สิ งหาคม พ.ศ. 2549 บริ ษทั ฯ มี นโยบายการให้บริ การสิ นเชื่ อส่ วนบุคคลเฉพาะแก่ ลูกค้าที่ เคยใช้บริ การสิ นเชื่ อทะเบี ยนรถของบริ ษทั ฯ และมี
ประวัติการชําระที่ ดีเท่านั้น เนื่ องจากเป็ นการให้สินเชื่ อโดยไม่มีหลักประกัน ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ จะจํากัดวงเงินการให้สินเชื่ อส่ วนบุคคล โดยหากเป็ น
วงเงินตามที่บริ ษทั ฯ กําหนด จะต้องมีผูค้ ้ าํ ประกัน ซึ่ งต้องเป็ นเจ้าบ้านหรื อข้าราชการเท่านั้น เนื่ องจากบริ ษทั ฯ พิจารณาว่าเป็ นอาชีพที่มน่ั คงและมี
หลักแหล่งที่แน่นอน สามารถช่วยป้ องกันความเสี่ ยงกรณี ที่ผูข้ อสิ นเชื่อไม่สามารถชําระหนี้ ให้แก่บริ ษทั ฯ ได้ สําหรับสิ นเชื่อส่ วนบุคคลนี้ บริ ษทั ฯ
กําหนดระยะเวลาผ่อนชําระเป็ นรายเดือนตั้งแต่ 6 - 30 เดือน โดยคิดอัตราดอกเบี้ยคงที่จากลูกค้า
2.2 บริ การสิ นเชื่อโฉนดที่ดิน
สิ นเชื่อโฉนดที่ดินเป็ นการให้บริ การสิ นเชื่อแก่ลูกค้ารายย่อยทัว่ ไปที่เป็ นเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดิน ลูกค้าที่มาขอสิ นเชื่อ
จะต้องส่ งมอบโฉนดที่ดินตัวจริ งให้แก่บริ ษทั ฯ เพื่อเป็ นหลักประกันการขอสิ นเชื่อ โดยหลักเกณฑ์และวิธีการเป็ นไปตามเงื่อนไขที่บริ ษทั ฯ กําหนด
2.3 บริ การสิ นเชื่อนาโนไฟแนนซ์
สิ นเชื่ อนาโนไฟแนนซ์ภายใต้การกํากับของธนาคารแห่ งประเทศไทย โดยได้รับใบอนุ ญาตจากกระทรวงการคลังเมื่ อ
วันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั ฯ มีนโยบายการให้บริ การสิ นเชื่อนาโนไฟแนนซ์เฉพาะแก่ลูกค้าที่เคยใช้บริ การสิ นเชื่อทะเบียนรถของบริ ษทั ฯ
และมีประวัติการชําระที่ดีเท่านั้น เนื่องจากเป็ นการให้สินเชื่อโดยไม่มีหลักประกัน
2.4 บริ การสิ นเชื่อเช่าซื้อรถจักรยานยนต์
บริ ษทั ฯ ประกอบธุ รกิ จให้บริ การสิ นเชื่ อเช่าซื้ อรถจักรยานยนต์ภายใต้บริ ษทั เมืองไทยลิสซิ่ ง จํากัด ("MTLS") ซึ่ ง
ปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ถือหุ ้นใน MTLS เป็ นสัดส่ วนร้อยละ 99.99 ของจํานวนหุ ้นที่ จาํ หน่ ายได้แล้วทั้งหมด ทั้งนี้ MTLS ประกอบธุ รกิจให้บริ การ
สิ นเชื่ อเช่าซื้ อ รถจักรยานยนต์ใหม่แก่ลูกค้าสิ นเชื่ อทะเบียนรถของ บริ ษทั ฯ ที่มีประวัติการชําระที่ดีและมีความต้องการจะ ซื้ อรถจักรยานยนต์
ใหม่ดว้ ยการเช่าซื้อผ่านสาขา ของบริ ษทั ฯ
2.5 บริ การนายหน้าประกันวินาศภัย
บริ ษ ัท ฯ ประกอบธุ รกิ จนายหน้าประกันวินาศภัย ภายใต้ บริ ษ ัท เมื องไทยลิ ส ซิ่ ง อิ นชัวรั นส์ โบรกเกอร์ จํากัด ("MTLI")
ปั จจุบ ัน บริ ษ ัทฯ ถื อหุ ้นใน MTLI เป็ นสัด ส่ วนร้ อยละ 99.99 ของจํานวนหุ ้นที่ จาํ หน่ าย ได้แล้วทั้งหมด ทั้งนี้ MTLI ประกอบธุ รกิ จนายหน้า
ประกันวินาศภัย ได้แก่ พ.ร.บ. รถจักรยานยนต์ และรถยนต์ (Compulsory Third Party Insurance : CTP) และประกันอุบตั ิเหตุส่วนบุคคล โดย
ได้รับใบอนุญาตจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับและส่ งเสริ มการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ตั้งแต่วนั ที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
2.6 บริ การให้เช่าซื้อสิ นค้า
บริ ษทั ฯ ประกอบธุ รกิจให้เช่ าซื้ อสิ นค้าภายใต้บริ ษทั เมืองไทย เพย์ เลเทอร์ จํากัด ("MTPL") ซึ่ งปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ถือหุ ้นใน
MTPL เป็ นสัดส่ วนร้อยละ 99.99 ของจํานวนหุ ้นที่จาํ หน่ายได้แล้วทั้งหมด ทั้งนี้ MTPL ประกอบธุรกิจให้บริ การเช่าซื้อสิ นค้าแก่ลูกค้าที่มีประวัติ
การชําระที่ดีดว้ ยการเช่าซื้อผ่านสาขาของบริ ษทั ฯ

ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) หน้า 6


ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิ งหาคม พ.ศ. 2565 (เว้นแต่จะระบุไว้เป็ นอย่างอื่น)
วัตถุประสงค์ การใช้ เงิน
ผูอ้ อกหุ ้นกูป้ ระกอบธุรกิจตามที่ระบุไว้ในเอกสารนี้ โดยมีสํานักงานใหญ่ต้ งั อยู่เลขที่ 332/1 ถนนจรัญสนิ ทวงศ์ แขวงบางพลัด เขตบางพลัด
กรุ งเทพมหานคร 10700 เลขทะเบียนบริ ษทั 0107557000195 โทรศัพท์ 0-2483-8888 มีวตั ถุประสงค์ในการนําเงินที่ได้รับจากการออกและเสนอขายหุ ้นกู้
ในครั้งนี้ จํานวนไม่เกิน 5,500,000,000 (ห้าพันห้าร้อยล้าน) บาท ไปใช้ดงั นี้
วัตถุประสงค์ การใช้ เงิน จํานวนเงินที่ใช้ ระยะเวลาที่ใช้ เงิน รายละเอียด
โดยประมาณ โดยประมาณ
1. ชําระคืนหนี้จากการออกหุน้ กู้ ประมาณ ภายในเดือน ชําระคืนหนี้ จากการออกหุ ้นกูจ้ าํ นวน 3 รุ่ น ได้แก่ หุ ้นกูข้ อง
3,865.20 ล้านบาท พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 บริ ษทั เมืองไทย แคปปิ ตอล จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 3/2561 ชุดที่
2 ครบกํ า หนดไถ่ ถ อนปี พ.ศ. 2565 (MTC22NA) ในเดื อ น
พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 เป็ นเงินจํานวน 1,515.50 ล้านบาท หุ ้น
กูข้ องบริ ษทั เมืองไทย แคปปิ ตอล จํากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2562
ชุดที่ 2 ครบกําหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2565 (MTC22NB) ในเดื อน
พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 เป็ นเงินจํานวน 2,349.70 ล้านบาท
2. เงินทุนหมุนเวียน จํานวนที่เหลือ ภายในเดือน ผูอ้ อกหุ ้ นกู้จะนําเงิ นที่ ได้รับจากการออกหุ ้นกู้ในครั้ งนี้ ไ ป
พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 เพื่อใช้ในการประกอบธุรกิจทัว่ ไปของผูอ้ อกหุ น้ กู้ และ/หรื อ
เพื่อการขยายธุรกิจของผูอ้ อกหุน้ กู้

ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) หน้า 7


ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิ งหาคม พ.ศ. 2565 (เว้นแต่จะระบุไว้เป็ นอย่างอื่น)
สรุปฐานะการเงินและผลการดําเนินงานตามงบการเงินรวมย้ อนหลัง 2 ปี และไตรมาสล่าสุ ดหรื อเท่ าที่มีผลการดําเนินงานจริง
หน่วย ล้านบาท (เว้นแต่จะระบุไว้เป็ นอย่างอื่น)
งวดสามเดือนสิ้นสุ ด งวดปี สิ้นสุ ดหรื อ งวดปี สิ้นสุ ดหรื อ
ข้ อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน ณ วันที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม
พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2563
สิ นทรัพย์รวม 115,822.25 98,389.84 77,221.88
หนี้สินรวม 88,981.98 73,521.34 56,539.74
ส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น 26,840.27 24,868.50 20,682.13
รายได้รวม 9,272.56 16,018.74 14,732.59
ค่าใช้จ่ายรวม 3,909.14 6,961.41 6,144.15
กําไร(ขาดทุน) สุ ทธิ 2,756.17 4,944.55 5,219.92
อัตราส่ วนหนี้ สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อกําไรก่อนดอกเบี้ยจ่ายภาษีเงินได้ 8.35 7.14 5.43
ค่าเสื่ อมราคา และค่าตัดจําหน่าย (interest bearing debt to EBITDA ratio)(เท่า)
อัตราส่ วนหนี้สินสุ ทธิต่อกําไรก่อนดอกเบี้ยจ่ายภาษีเงินได้ ค่าเสื่ อมราคา 7.92 6.89 5.22
และค่าตัดจําหน่าย (net debt to EBITDA ratio) 1 (เท่า)
อัตราส่ วนความสามารถในการชําระดอกเบี้ย 4.50 4.85 5.57
(interest coverage ratio : ICR) 2 (เท่า)
อัตราส่ วนความสามารถในการชําระหนี้ (debt service coverage ratio : DSCR) 3 0.31 0.33 0.49
(เท่า)
อัตราส่ วนหนี้ สิ นที่ มีภาระดอกเบี้ ยต่ อส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้น (interest bearing 3.08 2.71 2.47
debt to equity : IBD/E ratio) (เท่า)
อัตราหนี้สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น (debt to equity : D/E ratio) 4 (เท่า) 3.32 2.96 2.73
อัตราส่ วนสภาพคล่อง (current ratio) (เท่า) 1.64 1.57 1.87
อัตราส่ วนตัว๋ เงินจ่ายต่อหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย (BE size to interest 0.03 0.02 0.02
bearing debt ratio) (เท่า)
อัตราส่ วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยที่ครบกําหนดภายใน 1 ปี ต่อหนี้สินที่มี 0.40 0.43 0.38
ภาระดอกเบี้ยทั้งหมด (เท่า)
อัตราส่ วนเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงินต่อหนี้สินรวม (เท่า) 0.25 0.26 0.20
อัตราส่ วนเงินให้สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อสิ นเชื่อรวม (NPL Ratio) 1.96 1.39 1.06
(ร้อยละ) 5
อัตราส่ วนค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญต่อสิ นเชื่อรวม (ร้อยละ) 6 1.89 2.00 1.87
อัตราส่ วนผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์ (ROA) (ร้อยละ) 7 (จากกําไรสุ ทธิ) 5.00 5.63 7.50
อัตราส่ วนผลตอบแทนจากสิ นทรั พย์ (ROA) (ร้อยละ) (จากกําไร 8
8.65 9.49 11.98
ก่อนดอกเบี้ยและภาษี)
หมายเหตุ : ตัวเลขอ้างอิงจากงบการเงินของบริ ษทั ฯ ซึ่งมีการปัดเศษทศนิยม โดยให้ปัดทศนิยมตําแหน่งที่ 2 ขึ้นถ้าทศนิยมตําแหน่งที่ 3 มีค่ามากกว่า 5 นอกนั้นให้ปัดลง ดังนั้น อาจทําให้ผลรวมของ
หนี้สินรวมและส่ วนของผูถ้ ือหุ้นไม่เท่ากับสิ นทรัพย์รวม
(1) อัตราส่ วนหนี้สินสุ ทธิต่อกําไรก่อนดอกเบี้ยจ่ายภาษีเงินได้ ค่าเสื่ อมราคา และค่าตัดจําหน่าย (net debt to EBITDA ratio) คํานวณจาก (หนี้สินทั้งหมดที่มีภาระดอกเบี้ยไม่รวมหนี้สินตาม
สัญญาเช่า – เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด) / กําไรก่อนดอกเบี้ยจ่ายภาษีเงินได้ ค่าเสื่ อมราคา และค่าตัดจําหน่าย
(2) อัตราส่ วนความสามารถในการชําระดอกเบี้ย คํานวณจาก กําไรก่อนหักดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจําหน่าย (EBITDA) / ดอกเบี้ยจ่าย
(3) อัตราส่ วนความสามารถในการชําระหนี้ คํานวณจาก กําไรก่อนหักดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้ ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจําหน่าย (EBITDA) / (หนี้สินระยะสั้นที่มีภาระดอกเบี้ย + ส่ วนของ
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยระยะยาวที่จะถึงกําหนดชําระภายใน 1 ปี )
(4) อัตราส่ วนหนี้ สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ้น เป็ นการคํานวณตามนิยามตามข้อกําหนดสิ ทธิ โดยผูอ้ อกจะต้องดํารงสัดส่ วนหนี้ สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ้น (Debt to Equity Ratio) ของผูอ้ อกหุ้นกู้

ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) หน้า 8


ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิ งหาคม พ.ศ. 2565 (เว้นแต่จะระบุไว้เป็ นอย่างอื่น)
ในอัตราส่ วนไม่เกิน 7: 1 (เจ็ดต่อหนึ่ ง) ณ วันสิ้ นงวดบัญชีของแต่ละปี โดยทําการคํานวณจากงบการเงินรวมที่ผ่านการตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีของผูอ้ อกหุ้นกู้ (ซึ่ งเป็ นผูส้ อบบัญชีที่
ได้รบั อนุญาตจากสํานักงาน ก.ล.ต.) ตลอดอายุหุ้นกู้
(5) อัตราส่ วนเงินให้สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ต่อสิ นเชื่อรวม (NPL Ratio) คํานวณจากสิ นเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ / สิ นเชื่อรวม
(6) อัตราส่ วนค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญต่อสิ นเชื่อรวม คํานวณจากค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ(หรื อเรี ยกว่าค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น) / สิ นเชื่อรวม
(7) อัตราส่ วนผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์ คํานวณจากกําไรสุ ทธิ / สิ นทรัพย์รวมเฉลี่ย
(8) อัตราส่ วนผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์ คํานวณจากกําไรก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี / สิ นทรัพย์รวมเฉลี่ย

ประวัติการผิดนัดชําระหนี้
 ไม่มี  มี
การผิดนัดชําระหนี้ ดอกเบี้ยหรื อเงินต้นของตราสารหนี้ หรื อผิดนัดชําระหนี้ เงินกูย้ ืมจากธนาคารพาณิ ชย์ บริ ษทั เงินทุน บริ ษทั เครดิตฟองซิ เอร์
หรื อสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้นโดยดูประวัติยอ้ นหลัง 3 (สาม) ปี จากบริ ษทั ข้อมูลเครดิตแห่ งชาติ และงบการเงินที่ตรวจสอบ
โดยผูส้ อบบัญชีอนุญาต
ข้ อมูลผู้ติดต่ อ
1. ผูล้ งทุนสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมและรับหนังสื อชี้ชวนได้ที่
1.1 ธนาคารกรุ งเทพ จํากัด (มหาชน)
ที่อยู่ : เลขที่ 333 ถนนสี ลม แขวงสี ลม เขตบางรัก กรุ งเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์ : 02-645-5555 หรื อ 1333 (สําหรับผูล้ งทุนทัว่ ไป)
1.2 ธนาคารกรุ งไทย จํากัด (มหาชน)
ที่อยู่ : เลขที่ 35 ถนนสุ ขมุ วิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุ งเทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ : 0-2111-1111 (Krungthai Call Center)
1.3 ธนาคารกสิ กรไทย จํากัด (มหาชน)
ที่อยู่ : เลขที่ 400/22 ถนนพหลโยธิ น แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุ งเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ : 0-2888-8888 กด 819
และที่บริ ษทั หลักทรัพย์ กสิ กรไทย จํากัด (มหาชน) ในฐานะหน่ วยงานขายของธนาคารกสิ กรไทย จํากัด (มหาชน) สําหรับการจอง
การจัดจําหน่าย และการจัดสรรหุน้ กูใ้ ห้แก่ผลู ้ งทุนทัว่ ไปเท่านั้น
สถานที่ติดต่อ : เลขที่ 400/22 อาคารธนาคารกสิ ก รไทย ชั้น 1, 3, 11 และ 19 ถนนพหลโยธิ น แขวงสามเสนใน เขตพญาไท
กรุ งเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ : 0-2796-0000 หรื อ 0-2796-0011
1.4 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จํากัด (มหาชน)
ที่อยู่ : เลขที่ 44 อาคารหลังสวน ถนนหลังสวน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุ งเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ : 0-2626-7000
1.5 บริ ษทั หลักทรัพย์ หยวนต้า (ประเทศไทย) จํากัด
ที่อยู่ : เลขที่ 127 อาคารเกษรทาวเวอร์ ชั้น 14-16 ถนนราชดําริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุ งเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ : 0-2009-8351-56

ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) หน้า 9


ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิ งหาคม พ.ศ. 2565 (เว้นแต่จะระบุไว้เป็ นอย่างอื่น)
ข้ อมูลผู้ติดต่ อ
2. หากผูล้ งทุนมีขอ้ ร้องเรี ยน สามารถติดต่อได้ที่
บริ ษทั เมืองไทย แคปปิ ตอล จํากัด (มหาชน)
ที่อยู่ : เลขที่ 332/1 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงบางพลัด เขตบางพลัด กรุ งเทพมหานคร 10700
โทรศัพท์ : 0-2483-8888
Website : https://www.muangthaicap.com/

ส่วนที่ 1 สรุ ปข้อมูลสําคัญของตราสาร (Factsheet) หน้า 10

You might also like