You are on page 1of 32

มูลค่ าเงินตามเวลา

วิชา702100 การเงินเบื ้องต้ นสำหรับผู้ประกอบการ


ภาควิชาการเงินและการธนาคาร
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เนือ้ หา

 แนวคิดเบื ้องต้ นมูลค่าเงินตามเวลา


 มูลค่าอนาคตของ เงินก้ อนเดียว และเงินงวด
 มูลค่าปั จจุบนั ของ เงินก้ อนเดียว และเงินงวด
 การประยุกต์มลู ค่าเงินตามเวลา
มูลค่ าเงินตามเวลา

Congratulation !!!
You have won a cash prize
You have 2 payment options:
A. receive Bht 800,000 now.
B. receive Bht 1,000,000 in three years.
มูลค่ าเงินตามเวลา

“ A dollar received today is


worth more than a dollar
received in the future ”
มูลค่าเงินตามเวลา หมายถึง ...
การที่เงิน 1 บาทในวันนี ้ มีคา่ มากกว่าเงิน 1 บาทในวันพรุ่งนี ้
ท ทำไมเงินจึงมีมูลค่ าตามเวลา

 โดยปกติแล้ วคนเราพอใจที่จะบริ โภควันนี ้มากกว่าใน


อนาคต (impatience to consume)
 โอกาสในการลงทุน (investment opportunity)
 เงินเฟ้อซึง่ ทำให้ อำนาจในการซื ้อลดลง (inflation)
 ความเสี่ยง (risk)
ท ทำไมเงินจึงมีมูลค่ าตามเวลา

 โดยปกติแล้ วคนเราพอใจที่จะบริ โภควันนี ้มากกว่าใน


อนาคต (impatience to consume)
 โอกาสในการลงทุน (investment opportunity)
 เงินเฟ้อซึง่ ทำให้ อำนาจในการซื ้อลดลง (inflation)
 ความเสี่ยง (risk)

แนวคิดมูลค่ าเงินตามเวลา

 เงิน จำนวนเดียวกัน ต่างระยะเวลากัน มีมลู ค่าไม่เท่ากัน


 ในการตัดสินใจทางการเงิน ( เช่น ด้ านการลงทุน, ด้ านการ
จัดหาเงินทุน, ด้ านการตัดสินใจในนโยบายจ่ายเงินปั นผล )
จะต้ องพิจารณาถึง ต้ นทุนและผลตอบแทน ซึง่ ครอบคลุม
ช่วงระยะเวลาต่าง ๆ
 แนวคิดของมูลค่าเงินทางเวลาช่วยให้ สามารถเปรี ยบเทียบ
กระแสเงินสดในระยะเวลาที่ตา่ งกันได้

มูลค่ าปั จจุบนั vs มูลค่ าอนาคต
 มูลค่าทางการเงินสามารถพิจารณาได้ ทงั ้ อนาคต และ ปั จจุบนั
ท มูลค่ าอนาคตของกระแสเงินสดก้ อนเดียว

 ดอกเบี ้ยทบต้ น (Compound Interest)


 เกิดขึ ้นเมื่อดอกเบี ้ยที่ได้ รับจากการลงทุนถูกนำมารวมกับเงินต้ น
(Principal) ณ เวลาสิ ้นงวดที่กำหนด แล้ วในช่วงเวลาถัดไป
ดอกเบี ้ยรับก็จะถูกคิดจากเงินต้ นก้ อนใหม่ (ซึง่ ก็คือ เงินต้ นเดิม +
ดอกเบี ้ยรับ ณ เวลาสิ ้นงวดนัน) ้
 Ex. เราฝากเงิน 10,000 บาทไว้ ในบัญชีออมทรัพย์ ซึง่
ธนาคารจ่ายดอกเบี ้ย 10 % หากเราไม่นำดอกเบี ้ยไปใช้ ก่อน
กำหนด มูลค่าในอนาคต ณ สิ ้นปี ที่ 3 จะเป็ นเท่าไร ?
ท มูลค่ าอนาคตของกระแสเงินสดก้ อนเดียว

มูลค่าในอนาคตเมื่อสิ ้นปี ที่ 1 = 10,000 x ( 1 + 0.10 )


= 11,000 บาท

มูลค่าในอนาคตเมื่อสิ ้นปี ที่ 2 = 11,000 x ( 1 + 0.10 )


= 12,100 บาท

มูลค่าในอนาคตเมื่อสิ ้นปี ที่ 3 = 12,100 x ( 1 + 0.10 )


= 13,310 บาท
ท มูลค่ าอนาคตของกระแสเงินสดก้ อนเดียว

มูลค่าในอนาคตเมื่อสิ ้นปี ที่ 1 = 10,000 x ( 1 + 0.10 ) =


11,000 บาท
FV1 = PV x ( 1 + i )
มูลค่าในอนาคตเมื่อสิ ้นปี ที่ 2 = 11,000 x ( 1 + 0.10 ) =
12,100 บาท
FV2 = FV1 x ( 1 + i )
มูลค่าในอนาคตเมื่อสิ ้นปี ที่ 3 = 12,100 x ( 1 + 0.10 ) =
13,310 บาท
FV3 = FV2 x ( 1 + i )
ท มูลค่ าอนาคตของกระแสเงินสดก้ อนเดียว

มูลค่าในอนาคตเมื่อสิ ้นปี ที่ 1 = 10,000 x ( 1 + 0.10 )


= 11,000 บาท
FV1 = PV x ( 1 + i )
มูลค่าในอนาคตเมื่อสิ ้นปี ที่ 2 = 11,000 x ( 1 + 0.10 )
= 12,100 บาท
FV2 = FV1 x ( 1 + i ) = PV x ( 1 + i ) x ( 1 + i )
มูลค่าในอนาคตเมื่อสิ ้นปี ที่ 3 = 12,100 x ( 1 + 0.10 )
= 13,310 บาท
FV3 = FV2 x ( 1 + i ) PV x ( 1 + i ) x ( 1 + i ) x ( 1 + i )
ท มูลค่ าอนาคตของกระแสเงินสดก้ อนเดียว

 ดังนันในการหามู
้ ลค่าในอนาคตสามารถใช้ สมการ
FVt = PV x ( 1 + r )t

เมื่อ FVn = มูลค่าอนาคต ณ สิ ้นงวดที่ n


PV = มูลค่าปั จจุบนั หรื อ เงินต้ นเริ่ มแรก
r = อัตราผลตอบแทนต่อปี
t = ระยะเวลา ( จำนวนงวด )
ท มูลค่ าอนาคตของกระแสเงินสดก้ อนเดียว

 ดังนันในการหามู
้ ลค่าในอนาคตสามารถใช้ สมการ
FVn = PV x ( 1 + i )n

 เราฝากเงิน 1,000 บาทไว้ ในบัญชีออมทรัพย์ ซึง่ ธนาคาร


จ่ายดอกเบี ้ย 5 % หากเราไม่นำดอกเบี ้ยไปใช้ ก่อน
กำหนด มูลค่าในอนาคต ณ สิ ้นปี ที่ 10 จะเป็ นเท่าไร ?
ท มูลค่ าอนาคตของกระแสเงินสดก้ อนเดียว

 what would be the difference in future


value if I deposit $100 for 5 years and
earn 12% annual interest compounded
(a) annually, (b) semiannually, (c) quarterly,
an (d) monthly?
ท มูลค่ าอนาคตของกระแสเงินสดก้ อนเดียว

Let’s assume that the Mercedes Benz has


guaranteed that the price of a new C
Class will always be Bht6,727,000 and
you’d like to buy one but currently have
only Bht1,000,000. How many years will it
take for your initial investment of Bth
1,000,000 to grow to Bht6,727,000 if it is
invested at 10 percent compounded
annually ?
ท มูลค่ าปั จจุบันของกระแสเงินสดก้ อนเดียว

 เป็ นการเทียบมูลค่าของเงินในอนาคตมาเป็ นมูลค่าปั จจุบนั


 กระบวนการหามูลค่าปั จจุบนั หมายถึง การคิดลดกระแส
เงินสด (discounting)โดยสมมติโอกาสที่จะรับผล
ตอบแทน i%
 อัตราผลตอบแทนที่นำมาใช้ อาจมองได้ ในหลายลักษณะไม่
ว่าจะเป็ น ค่าเสียโอกาส opportunity cost, อัตราคิดลด
the discount rate, อัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง the
required return, ต้ นทุนของเงินทุน cost of capital.
ท มูลค่ าปั จจุบันของกระแสเงินสดก้ อนเดียว

 ดังนันในการหามู
้ ลค่าในอนาคตสามารถใช้ สมการ
PV = FVn / ( 1 + i )n

 เราจะต้ องฝากเงินเท่าไรในวันนี ้ เพื่อให้ ได้ รับเงิน 2000


บาท ใน 5 ปี ข้ างหน้ า ถ้ าดอกเบี ้ยเงินฝากเป็ น 6%
ท เงินงวด (Annuity)

 คือ การไหลของกระแสเงินสดที่มีจำนวนเงินและช่วงระยะห่างของการ
เกิดเท่ากัน
 เงินงวดนี ้สามารถเป็ นได้ ทงกระแสเงิ
ั้ นสดเข้ า หรื อ กระแสเงินสดออก
 เงินงวดแบ่งเป็ น 2 ชนิด
1. Ordinary (Deferred) Annuity
2. Annuity Due
 เงินงวดแบบ Annuity Due มีมลู ค่าอนาคตสูงกว่า Ordinary Due
ท เงินงวด (Annuity)
ท มูลค่ าอนาคตของเงินงวด

การหามูลค่าอนาคตของ Ordinary Annuity


 ถ้ าเราทำการฝากเงิน 500 บาท ทุกๆ สิ ้นปี เป็ นเวลา 5 ปี
โดย ธนาคารคิดอัตราดอกเบี ้ยที่ 6% พอถึงสิ ้นปี ที่ 5 เราจะ
มีเงินเท่าไร
FV5 = 500(1+0.06)4 + 500(1+0.06)3+ 500(1+0.06)2 + 500(1+0.06) + 500
= 500(1.262) + 500(1.191) + 500(1.124) + 500(1.060)+ 500
= 631 + 595 + 562 + 530 + 500
= 2,818

มูลค่ าอนาคตของเงินงวด

Year 0 1 2 3 4 5

500 500 500 500 500


เงินฝากปลายปี
500
500 x (1 + .06)1
530

500 x (1 + .06)2 562

500 x (1 + .06)3 595

500 x (1 + .06)4 631


Future Value of the annuity 2,818
ท มูลค่ าอนาคตของเงินงวด

การหามูลค่าอนาคตของ Annuity Due


 เนื่องจาก annuity due ต่างจาก ordinary annuity ตรงที่
มีการเลื่อนการชำระหรื อรับเงินจากปลายปี ไปเป็ นต้ นปี 
ทำให้ ต้องมีการคิดดอกเบี ้ยทบต้ นเพิ่มอีก 1 ปี
 Ex. ถ้ าเราทำการฝากเงิน 500 บาท ทุกๆ ต้ นปี เป็ นเวลา 5
ปี โดย ธนาคารคิดอัตราดอกเบี ้ยที่ 6% พอถึงสิ ้นปี ที่ 5 เรา
จะมีเงินเท่าไร ???
ท มูลค่ าอนาคตของเงินงวด
Ordinary Annuity Annuity Due

Year 0 1 2 3 4 5 Year 0 1 2 3 4 5

เงินฝากปลายปี 500 500 500 500 500 เงินฝากต้ นปี 500 500 500 500 500

500 530

530 562

562 595

595 631

631 669
Future Value of the annuity 2,818 Future Value of the annuity 2,987
ท มูลค่ าปั จจุบนั ของเงินงวด

 Ex. ถ้ าเราต้ องการรู้ วา่ ดอกเบี ้ย 500บาทที่ได้ รับจาก


พันธบัตรรัฐบาล ทุก ๆ สิ ้นปี เป็ นเวลา 5 ปี จะมีคา่ เท่าไรใน
ปั จจุบนั ใช้ อตั ราคิดลดที่ 6% ???
ท มูลค่ าปั จจุบนั ของเงินงวด

Year 0 1 2 3 4 5
เงินรับปลายปี 500 500 500 500 500

471
445
420
396
373
PV = 2,105 ที่อตั ราคิดลด 6 %
สรุ ป

 แนวคิดเบื ้องต้ นมูลค่าเงินตามเวลา


 มูลค่าอนาคตของ เงินก้ อนเดียว และเงินงวด
 มูลค่าปั จจุบนั ของ เงินก้ อนเดียว และเงินงวด
 การประยุกต์มลู ค่าเงินตามเวลา
มหัศจรรย์ดอกเบี้ยทบต้น
นาย ก. นาย ข.
ซื้ อรถเก่า 30,000 บาท ซื้ อรถยนต์ 250,000 บาท
(ไม่ตอ้ งกูเ้ งิน) จ่ายเงินดาวน์ 30,000 บาท
กูเ้ งิน 220,000 บาท
เหลือเงินออมเดือนละ 4,675
เสี ยดอกเบี้ย 10% ต่อปี
บาท
ได้ดอกเบี้ย 10% ต่อปี ผ่อนเดือนละ 4,675 บาท
ออมเงินเป็ นเวลา 5 ปี เป็ นเวลา 5 ปี
ที่มา: จับจ่ายใช้สอยต้องคิด... สู่เศรษฐกิจพอเพียง (รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ)
มหัศจรรย์ดอกเบี้ยทบต้น
นาย ก.
อายุ 18 ปี 23 ปี 58 ปี

ซื้ อรถ 30,000 บาท มีเงินออม 365,024 บาท มีเงินออม 10,258,000 บาท
ออม 4,675 บาท/เดือน (ไม่ตอ้ งออมเพิ่มอีกเลย)
ได้ดอกเบี้ย 10% ลงทุนได้ผลตอบแทน 10%

นาย ข.
อายุ 18 ปี 23 ปี 58 ปี

ซื้อรถราคา 250,000 บาท ผ่อนรถยนต์หมด รถยนต์แทบไม่มีมูลค่า


จ่ายดาวน์ 30,000 บาท รวมมูลค่าเงินผ่อน 280,500 บาท
กูเ้ งิน 220,000 บาท ดอกเบี้ย 10%
ผ่อน 4,675 บาท/เดือน เป็ นระยะเวลา 5 ปี ที่มา: จับจ่ายใช้สอยต้องคิด... สู่เศรษฐกิจพอเพียง (รศ.ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ)
Rule of 72
ระยะเวลาที่เงินจะเพิ่มเป็ นสองเท่า = 72
อัตราผลตอบแทนที่ได้รับต่อปี

มะลินำเงิน 100,000 บาท ไปลงทุนได้ผลตอบแทน 10% ต่อปี


อีกกี่ปีเงินของมะลิจึงเพิ่มขึ้นเป็ น 200,000 บาท
= 72/10
= 7.2 ปี
ถ้าหากมะลิ นำเงินไปลงทุนได้ 20% ต่อปี ระยะเวลา
ที่เงินจะเพิ่มเป็ น 2 เท่า กี่ปี
ใช้สติ...แบ่งสตางค์
โภควิภาค ๔
แบ่งทรัพย์ที่หามาได้ เพื่อบริ โภค & เผือ่ ฉุกเฉิ น
เป็ น ๔ ส่ วน บำรุ งบิดามารดา

ใช้ในการประกอบอาชีพ
ลงทุน / ขยายกิจการ
การบ้ าน
• ต้ องการเก็บเงินดาวน์ ซอื ้ บ้ าน 500,000 บาท โดยเก็บเป็ นเงิน
งวดทุกๆสิน้ ปี คาดว่ าจะใช้ ระยะเวลา 10 ปี โดยมีผลตอบแทนที่
ต้ องการ 10% ถามว่ าจะต้ องเก็บปี ละเท่ าใด

You might also like