You are on page 1of 18

เทคโนโลยีสะอาด

(Clean Technology)

เมื่อเราพูดกันถึงเทคโนโลยีสะอาด (Clean technology) หลายคนคงไม่ร้ ูถึงความหมายที่แท้ จริ งว่าคืออะไร?

เทคโนโลยีสะอาด คือ เครื่องมือที่นำมาใช้ ในกระบวนการผลิตทุกภาคธุรกิจ เพื่อช่วยลด


ผลกระทบต่อสภาพแวดล้ อม โดยใช้ วตั ถุดิบในการผลิตให้ น้อยลง และมีปริ มาณของเสียที่เกิดจากการผลิต
ให้ น้อยที่สดุ แต่ยงั คงปริมาณและคุณภาพของผลผลิตไว้ เหมือนเดิม ซึง่ เทคโนโลยีสะอาดเป็ นเครื่ องมือที่
สำคัญอย่างหนึง่ ที่ช่วยป้องกันปั ญหาสิ่งแวดล้ อม ด้ วยการลดมลพิษ ลดของเสียที่แหล่ง กำเนิด และ
ประหยัดพลังงาน อีกทังยั ้ งช่วยลดความเสี่ยง และเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิต รวมถึงช่วยลดต้ นทุนหรื อ
ค่าใช้ จ่ายในการผลิตได้ เป็ นอย่างดี

สำหรับ แนวคิดของเทคโนโลยีสะอาดนัน้ เกิดขึ ้นจากความต้ องการลดผลกระทบจากกระบวนการผลิต


ที่อาจเกิดขึ ้นต่อทรัพยากรธรรมชาติและมนุษย์ โดยการใช้ วิธีการใดๆ ที่จะสามารถทำให้ ผลกระทบที่เกิด
จากของเสียที่ถกู ปล่อยออกมาจากกระบวนการผลิต ต่างๆ ลดลง เมื่อเทียบกับวิธีการแบบเดิม  
เทคโนโลยีสะอาดจึงนับว่าเป็ นการป้องกันมลพิษ (Pollution Prevention: P2) ที่ใช้ หลักการลดของเสีย
ให้ น้อยที่สดุ (Waste Minimization) จึงเป็ นการป้องกันของเสียที่จะเกิดขึ ้นจากกระบวนการผลิตที่แหล่ง
กำเนิด แทนการควบคุม บำบัด และกำจัดของเสียแบบเดิมซึง่ มีคา่ ใช้ จ่ายสูงกว่า ดังนัน้ การลดมลพิษที่

Page 1
แหล่งกำเนิดจึงเป็ นทังการรั
้ กษาสิ่งแวดล้ อมและการลดค่าใช้ จ่าย ในการผลิตไปพร้ อมๆ กันยกตัวอย่างเช่น
การใช้ วตั ถุดิบที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมน้ อยลงทดแทนวัตถุดิบที่ใช้ อยูเ่ ดิม การออกแบบขันตอนการ

ผลิตใหม่ การนำของเสียกลับมาใช้ ซ้ำ (Reuse) หรื อการนำของเสียกลับมาใช้ ใหม่ (Recycle) เพื่อลด
ปริ มาณของเสียและมลพิษที่จะถูกปล่อยออกมาจากกระบวนการผลิตนัน  ้

ดังนันเทคโนโลยี
้ สะอาดจึงเป็ นเครื่ องมือที่มีประสิทธิภาพในการสร้ างการพัฒนาที่ ยัง่ ยืน (Sustainable
Development) ทำให้ สามารถรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้ อมควบคูไ่ ปกับการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ
เพื่อเพิ่มผลผลิตคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ประหยัดพลังงาน และขีดความสามารถในการแข่งขันได้ อีกด้ วย 

โครงการ ส่งเสริมการผลิตสิ่งทอขนาดเล็กที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมพื ้นที่ภาคเหนือ เป็ นโครงการที่กรม


ส่งเสริ มคุณภาพสิ่งแวดล้ อม ได้ สนับสนุนงบประมาณให้ ศนู ย์วิชาการและเทคโนโลยีสิ่งทอพื ้นบ้ าน (ฝ้าย
แกมไหม) ดำเนินการเพื่อช่วยให้ ผ้ ผู ลิตสิ่งทอขนาดเล็กสามารถนำแนวคิดของเทคโนโลยีสะอาด มาใช้
ปฏิบตั ิเพื่อปรับปรุงการผลิตให้ มีความเป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมมากขึ ้น และนำไปสูก่ ารรับรองการผลิตที่เป็ น
มิตรกับสิ่งแวดล้ อม

การผลิตที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมนี ้จะยึดตามหลักการ 1A 3R และเสริ มในส่วนของการบำบัดที่ปลาย


ทาง 1T กล่าวคือ หลีกเลี่ยง (Avoid) ลดการใช้ ที่ไม่จำเป็ น (Reduce) ใช้ ซ้ำ (Reuse) นำกลับมาใช้ ใหม่
(Recycle) บำบัดและทิ ้งทำลาย (Treat and dispose) รวมถึงควบคุมคุณภาพและความสม่ำเสมอของ
ผลิตภัณฑ์ (Quality Control & Consistency) ซึง่ การผลิตสินค้ าให้ ได้ คณ ุ ภาพตามต้ องการในครัง้ แรกถือ
เป็ นส่วนหนึง่ ในการลด ของเสียที่ต้นทางเช่นกัน
สิ่งที่เกณฑ์การผลิตที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมให้ ความสำคัญเป็ นอย่างยิ่งคือ การจัดการข้ อมูล ซึง่ เป็ นสิ่งที่
จำเป็ นและมีประโยชน์มากสำหรับผู้ผลิต เพราะหากไม่มีข้อมูล ผู้ผลิตจะไม่สามารถจัดการการผลิตอย่างมี
ประสิทธิภาพ หรื อวัดผลความสำเร็จได้ นอกจากนี ้การจัดการข้ อมูลที่ดียงั ใช้ เป็ นสัญญาณของปั ญหาหรื อ
เหตุขดั ข้ องที่ อาจจะเกิดขึ ้น การตรวจสอบข้ อมูลอย่างสม่ำเสมอจะช่วยให้ ทราบถึงปั ญหาได้ อย่างรวดเร็ ว
และ แก้ ไขได้ ทนั ท่วงที

Page 2
การจัดการข้ อมูลจะเกิดประโยชน์ค้ มุ ค่าก็ตอ่ เมื่อมีการนำข้ อมูลเหล่านันมา
้ ใช้ ประโยชน์ ซึง่ เป็ นสิ่งที่ผ้ ู
ผลิตบางรายอาจละเลยในจุดนี ้ บางครัง้ การใช้ ข้อมูลมีเพียงเพื่อตรวจสอบค่าใช้ จ่ายเท่านัน้ แต่ประโยชน์
ที่แท้ จริ งคือการแปรข้ อมูลเหล่านี ้เป็ นการปรับปรุงพัฒนาที่เกิดจากการใช้ ความรู้พื ้นฐานทางวิทยาศาสตร์

หลังจากที่ผ้ ผู ลิตได้ นำข้ อเสนอแนะต่างๆ ไปปฏิบตั ิอย่างสม่ำเสมอ และมีความต้ องการขอรับรองการ


ผลิตที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม สามารถศึกษาข้ อกำหนดของเกณฑ์การผลิตที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม
ประเภทการผลิตสิ่งทอขนาดเล็ก ขันตอนการขอรั
้ บรอง และสมัครขอรับการรับรองได้ ที่ สำนักงานทรัพยากร
และสิ่งแวดล้ อมแต่ละจังหวัด

กระบวนการผลิตสิ่งทอขนาดเล็กที่ก่อให้ เกิดมลพิษมากที่สดุ คือ กระบวนการเตรี ยมเส้ นด้ ายและการ


ย้ อมสี (Wet process) แนวทางการผลิตที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมจึงเน้ นในส่วนของกระบวนการนี ้เป็ น
สำคัญ

การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมที่ดีที่สดุ คือ การป้องกันตังแต่


้ ต้นทางหรื อตังแต่
้ สาเหตุของของเสีย ซึง่
ประกอบด้ วย การจัดการที่ดี (Good House Keeping) การจดบันทึกชนิด ปริ มาณ การใช้ วตั ถุดิบต่างๆ
(Inventory Control) การหยุดใช้ สารที่เป็ นอันตราย (Hazardous compounds substitution) และการ
ควบคุมกระบวนการ (Process Optimization) ถัดมาจึงเป็ นการใช้ ซ้ำหรื อนำกลับมาใช้ ใหม่
(Reuse/Recycle) ท้ ายที่สดุ จึงนำไปสูก่ ารบำบัดและทำลาย

หากผู้ผลิตไม่ได้ คำนึงถึงการป้องกันที่ต้นทางมาก่อน แต่พิจารณาเพียงการบำบัดและทำลาย นอกจาก


จะไม่เกิดความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ แล้ ว บ่อยครัง้ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมไม่ได้ ลดลงจากเดิมแต่อย่าง
ใด
แนวทางการผลิตที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม
ผู้ผลิตจึงควรให้ ความสำคัญกับข้ อแนะนำแนวทางการผลิตที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมนี ้ ตามลำดับ
คือ

1A (AVOID-หลีกเลี่ยง)
3R (REDUCE-ลดการใช้ ที่ไม่จำเป็ น REUSE-ใช้ ซ้ำ RECYCLE-นำกลับไปใช้ ใหม่) 
และสุดท้ าย 1T (TREAT & DISPOSE-บำบัดและทิ ้งทำลาย)
สำหรับข้ อแนะนำเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพและความสม่ำเสมอของผลิตภัณฑ์ (Quality Control &
Consistency) เป็ นข้ อแนะนำที่ผ้ ผู ลิตสิ่งทอขนาดเล็กควรนำไปประยุกต์ใช้ ให้ เข้ ากับการผลิตของตนให้ มาก
ที่สดุ เท่าที่จะทำได้ เพราะจะเป็ นตัวบ่งชี ้ว่าผู้ผลิตจะสามารถยกระดับการผลิตให้ สงู ขึ ้นได้ มากเพียงใด ดัง
แสดงในรูป

Page 3
การควบคุมคุณภาพและความสม่ำเสมอของผลิตภัณฑ์เป็ นพื ้นฐานสำคัญที่จะรองรับ 1A และ 3R

 หลีกเลี่ยง (Avoid)
 ลดการใช้ ที่ไม่จำเป็ น (Reduce)
 ใช้ ซ้ำ (Reuse)
 นำกลับมาใช้ ใหม่ (Recycle)
 บำบัดและทิ ้งทำลาย (Treat & Dispose)
 ควบคุมคุณภาพและความสม่ำเสมอ (Quality Control & Consistency)
 ขันตอนการขอรั
้ บรองการผลิตที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมประเภทการผลิตสิ่งทอขนาดเล็ก
 การรับรองสถานประกอบการสิ่งทอขนาดเล็กที่มีการผลิตที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม พื ้นที่ภาคเหนือ

ลดการใช้ ท่ ไี ม่ จำเป็ น (Reduce)


R1-1 ย่อยวัสดุให้ สีให้ ละเอียดเพื่อให้ สกัดสีได้ มากขึ ้น และใช้ เวลาในการต้ มสกัดน้ อยลง โดยอาจใส่
ในถุงตาข่ายเพื่อช่วยให้ แยกกากวัสดุได้ สะดวก
R1-2 ใช้ เกลือในการย้ อมสีไดเร็กท์ที่เหมาะสมกับความเข้ มของสี โดยศึกษาจากคูม่ ือการย้ อมสีหรื อ
สอบถามจากผู้ขาย (แต่การใช้ น้อยกว่าปริ มาณที่จำเป็ นต้ องใช้ จะเป็ นการสูญเสียมากกว่าการ
ประหยัด)
R1-3 ลดความถี่ในการถ่ายน้ำล้ างทิ ้ง โดยเพิ่มจำนวนอ่างล้ างให้ มากขึ ้น เพื่อให้ สามารถใช้ หลักการ
ล้ างแบบสวนทาง (Counter flow) ดูหวั ข้ อใช้ ซ้ำ (REUSE) ซึง่ สามารถล้ างฝ้ายได้ สะอาดเช่น
เดียวกับการล้ างแบบน้ำล้ น แต่ใช้ น้ำน้ อยกว่ากันมาก์
R1-4 ลดการรั่วไหลของน้ำโดย ตรวจสอบและซ่อมแซมรอยรั่ว หรื อการชำรุดของอุปกรณ์ในระบบน้ำ
อย่างสม่ำเสมอ
R1-5 ลดการใช้ เชื ้อเพลิงโดยปรับปรุงเตาให้ ลดการสูญเสียความร้ อนลง เช่น

 ทำวัสดุบงั เตา เพื่อลดการสูญเสียความร้ อนสูพ่ ื ้นที่โดยรอบเตา กรณีที่เตาขนาดเล็ก


และย้ อมปริ มาณน้ อยๆ

Page 4
 ทำความสะอาดหัวเตาอย่างน้ อยเดือนละครัง้ (กรณีใช้ เตาแก๊ ส) และปรับสัดส่วน
ของอากาศและเชื ้อเพลิงให้ อยูใ่ นเกณฑ์เหมาะสม
 หุ้มฉนวนหม้ อที่ใช้ เพื่อลดการสูญเสียความร้ อนสูพ่ ื ้นที่โดยรอบเตา

R1-6 ลดการนำสิ่งสกปรกหรื อสิ่งปนเปื อ้ น (เช่น ในขันตอนการล้


้ างทำความสะอาดฝ้าย การล้ างสี)
ข้ ามไปยังขันตอนการล้
้ างถัดไป โดยการบิดหมาด หรื อปั่ นหมาดก่อน

ใช้ ซ้ำ (Reuse)


R2-1 ใช้ การล้ างแบบสวนทาง (Counter flow) และถ่ายน้ำที่สกปรกออกทีละอ่างรวมทังบิ ้ ด/ปั่ น
หมาด ก่อนย้ ายฝ้ายไปล้ างยังอ่างถัดไป เพื่อลดปริ มาณสิ่งสกปรกที่จะปนเปื อ้ นในอ่างล้ างถัด
ไป ดังแสดงในรูปที่ R2-1

Page 5
รู ปที่ R2-1 การใช้ ซ้ำน้ำล้ างตามหลักการล้ างสวนทาง (Counter Flow)
R2-2 น้ำล้ างสุดท้ ายสามารถนำไปใช้ เป็ นน้ำล้ างรอบแรกได้ ภายใต้ หลักการที่น้ำล้ างที่ใช้ งานแล้ ว
หากยังสะอาดกว่าฝ้ายที่จะนำมาล้ างยังสามารถใช้ ได้ โดยฝ้ายจะสะอาดเหมือนกับน้ำที่
สะอาดที่สดุ ที่ใช้ เป็ นน้ำล้ างสุดท้ าย ทำให้ สามารถล้ างฝ้ายได้ สะอาดเท่าเดิมโดยใช้ น้ำน้ อยลง
และเกิดน้ำเสียน้ อยลง
R2-3 หากมีการย้ อมหลายๆ สีในวันเดียวกัน ควรทำการย้ อมจากสีออ่ นไปสีเข้ ม เพื่อให้ สามารถใช้
น้ำล้ างซ้ำได้
R2-4 ฝ้ายที่เหลือจากการใช้ งานให้ แยกเป็ นสัดส่วนเพื่อให้ สามารถนำกลับมาใช้ ได้ สะดวก
R2-5 เชือกฟาง ถุงพลาสติก และวัสดุอื่นๆที่สามารถนำกลับมาใช้ ซ้ำได้ ให้ แยกเป็ นสัดส่วนและนำ
กลับมาใช้ ซ้ำเท่าที่จะทำได้
นำกลับมาใช้ ใหม่ (Recycle)
R3-1 ใช้ ประโยชน์จากวัสดุที่ไม่ใช้ แล้ วที่มีอยูใ่ นท้ องถิ่น เป็ นวัสดุให้ สีในการย้ อม เช่น ขี ้
เลื่อยไม้ ประเภทต่างๆ น้ำล้ างครั่ง
R3-2 เปลือกไม้ ที่สกัดสีออกแล้ วตากแห้ งแล้ วนำไปใช้ เป็ นเชื ้อเพลิง หรื อหมักทำปุ๋ย
R3-3 น้ำสีย้อมจากเปลือกไม้ /น้ำล้ างสีย้อมธรรมชาติที่ไม่มีการใช้ สารช่วยติดสีที่เป็ นเกลือ
ของโลหะหนัก เช่น จุนสี มีโอกาสนำมาใช้ ประโยชน์เป็ นน้ำรดต้ นไม้ ได้ แต่ต้องมีพื ้นที่
มากพอที่จะกระจายน้ำไปได้ โดยไม่เกิดน้ำขังหรื อดินชุ่มน้ำมากเกินไป
R3-4 น้ำสีที่เหลือจากการย้ อมและยังมีสีเข้ มสามารถนำไปย้ อมเส้ นด้ ายเป็ นการย้ อมรอง
พื ้นก่อนจะนำไปย้ อมสีที่เข้ มขึ ้น

ควบคุมคุณภาพและความสม่ำเสมอ (Quality Control & Consistency)


Q1-1 ทดสอบเส้ นด้ ายฝ้ายก่อนย้ อมว่าล้ างไขมันออกหมดหรื อไม่ เส้ นด้ ายฝ้ายที่ล้างไขมันออกหมด
แล้ วจะจมน้ำทังหมด
้ และเส้ นด้ ายฝ้ายที่ผงึ่ แห้ งแล้ วควรจมน้ำภายใน 10 วินาที ปั จจัยที่มีผล
ต่อการล้ างไขมันคือ อุณหภูมิ เวลา ความเข้ มข้ น (ของสบู่ ผงซักฟอก ด่าง) การเพิ่มปั จจัยใด

Page 6
ปั จจัยหนึง่ สามารถลดปั จจัยอื่นๆ ได้ เช่น การใช้ เวลาในการแช่เส้ นด้ ายฝ้ายนานขึ ้น ทำให้
สามารถใช้ สบูน่ ้ อยลง และใช้ อณุ หภูมิต่ำลงได้ ทังนี
้ ้ต้ องทำความสะอาดเส้ นด้ ายฝ้ายทุกครัง้ ไม่
ว่าจะย้ อมสีประเภทใดก็ตาม
Q1-2 ผ้ าที่จะนำไปให้ ลกู ค้ าควรทดสอบให้ แน่ใจว่าสีไม่ตก และสีไม่เปลี่ยนก่อน โดยการตัดผ้ าชิ ้น
เล็กๆ ซักด้ วยผงซักฟอก และตากแดด (ควรเก็บตัวอย่างไว้ เปรี ยบเทียบ และทำเป็ นตัวอย่าง
อ้ างอิงไว้ ด้วย)
Q1-3 แบ่งเส้ นด้ ายออกเป็ นพวงย่อยๆ เพื่อให้ สามารถกลับเส้ นด้ ายในขณะล้ างไขมัน หรื อในขณะ
ย้ อมได้ งา่ ยขึ ้น และทำงานได้ สะดวกขึ ้น โดยไม่ควรเกิน 200 -350 กรัม/พวง
Q1-4 ในการย้ อมสีธรรมชาติ ควรคำนวณปริ มาณน้ำสีย้อมที่ต้องใช้ สำหรับการย้ อมสีเส้ นด้ ายแต่ละ
ครัง้ ที่จะทำการผลิต เพื่อให้ สีย้อมมีความสม่ำเสมอ และเพียงพอสำหรับการย้ อมในครัง้ นันๆ

โดยไม่ต้องเตรี ยมเพิ่มในภายหลังซึง่ สีจะไม่เหมือนเดิม รวมทังไม่
้ เหลือทิ ้งมากเกินไป และมีการ
จดบันทึกปั จจัยการผลิตทุกครัง้
Q1-5 การย้ อมสีรีแอกทีฟ ไม่จำเป็ นต้ องย้ อมที่อณ ุ หภูมิน้ำเดือด ย้ อมที่อณุ หภูมิประมาณ 60?
C หรื อ 80?C ขึ ้นอยูก่ บั สี ต้ องศึกษาวิธีการย้ อมจากคูม่ ือหรื อผู้ขายสีนนๆ
ั ้ แต่การย้ อมสีไดเร็ กท์
ต้ องย้ อมที่อณ
ุ หภูมิน้ำเดือด
Q1-6 การล้ างสีซลั เฟอร์ ควรใช้ วิธีต้มล้ างสีสว่ นเกินและโซเดียมซัลไฟด์ออกไป
Q1-7 น้ำที่ใช้ ในการฟอกย้ อมสี (โดยเฉพาะสีเคมี) ควรเป็ นน้ำอ่อน และมีการกำจัดเหล็กออกไปก่อน
Q1-8 ในการย้ อมสี สีและสารช่วยย้ อมทุกตัวควรละลาย เป็ นสารละลายก่อนในภาชนะเล็กๆจะใส่ลง
ในอ่างย้ อม ส่วนวิธีการย้ อมต้ องศึกษาจากคูม่ ือหรื อผู้ขายสี
Q1-9 คำนวณเปอร์ เซ็นต์สีและสัดส่วนน้ำที่ใช้ ตอ่ เส้ นด้ ายทุกครัง้ เพื่อให้ ได้ สีที่สม่ำเสมอ
Q1-10 เส้ นด้ ายที่ยงั ไม่ได้ ใช้ งาน และเส้ นด้ ายที่ย้อมสีแล้ วรอการทอ ควรผึง่ ให้ แห้ งสนิทและจัดเก็บใน
ถุงพลาสติก เก็บไว้ ในที่ที่ไม่ถกู แสงแดดระบุวนั ที่ สีที่ย้อม ให้ ชดั เจน
Q1-11 หาอุปกรณ์ควบคุมการทำงาน มาช่วยให้ มากที่สดุ เท่าที่จะทำได้ เช่น นาฬิกาตังเวลา
้ อุปกรณ์
วัดความเป็ นกรด-ด่าง
Q1-12 ใช้ น้ำที่เหมาะสมกับการย้ อม (ตรวจสอบคุณภาพน้ำใช้ อย่างน้ อยปี ละสองครัง้ หากใช้ น้ำใต้ ดิน
และสังเกตความเปลี่ยนแปลงของน้ำใช้ เช่น ความใส ความขุ่น กลิ่น) เช่น น้ำที่มีสนิมมากจะ
ทำให้ สีย้อมธรรมชาติออกไปทางสีเทา ดำ ซึง่ สามารถใช้ ได้ หากต้ องการสีในโทนนี ้ แต่หากไม่
ต้ องการควรกำจัดเหล็กออกก่อน ซึง่ สามารถทำได้ หลายวิธี เช่น การปล่อยให้ สมั ผัสอากาศ
และกรองสนิมออก
Q1-13 วางแผนการผลิตให้ สามารถผลิตได้ อย่างต่อเนื่องในปริ มาณที่ไม่น้อยเกินไปจนทำให้ ต้นทุน
การใช้ ทรัพยากร (เช่น น้ำ) ต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ (เส้ นด้ าย) สูงมากขึ ้น

Page 7
ขัน้ ตอนการขอรับรองการผลิตที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมประเภทการผลิตสิ่ง
ทอขนาดเล็ก
Certification Procedure for Environmentally Friendly Production Criteria 
(Small Scale Textile Production)

Page 8
สัญลักษณ์ ท่ แี สดงถึงการผลิตที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมของผลิตภัณฑ์

G mark คือ สัญลักษณ์ที่แสดงถึงการผลิตที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมของผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ ซึง่ รับรอง


โดยกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้ อม 
G แสดงถึง green production เป็ นการรับรองขันตอนการผลิ
้ ตผลิตภัณฑ์ที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม
ปลอดภัย ประหยัด รักษาสิ่งแวดล้ อม (ปลอดภัยทังผู ้ ้ ผลิต ผู้ขาย ผู้ซื ้อ และผู้บริ โภค ประหยัดต้ นทุนและการ
ใช้ ทรัพยากร ลดการปล่อยของเสีย อนุรักษ์ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม) ตามหลักการ 1A-3Rs สัญลักษณ์รูป
ตัว G เป็ นโล่ที่มี 3 ระดับคือ ทอง (ดีเยี่ยม) เงิน (ดีมาก) และทองแดง (ดี) ซึง่ จากระยะเวลาการดำเนินงาน
มา 3 ปี มีสถานประกอบการที่ได้ รับโล่ตวั G ทอง 4 แห่ง
การได้ รับสัญลักษณ์ G จากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้ อม จะต้ องผ่านการรับรองจากคณะกรรมการ
จากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง ดังเช่นสินค้ าประเภทสิ่งทอ มีคณะกรรมการจากสำนักงาน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมประจำจังหวัด สำนักงานสิ่งแวดล้ อมภาค และสำนักส่งเสริ มการมีสว่ น
ร่วมของประชาชน กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้ อม และผู้เชี่ยวชาญด้ านสิ่งทอจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา กรมส่งเสริ มอุตสาหกรรม ทำการตรวจรับรองขันตอนการผลิ ้ ต 3 ครัง้
คือ ตรวจครัง้ ที่ 1 เพื่อประเมินสภาพทัว่ ไปของสถานประกอบการและให้ คำแนะนำในการปรับปรุงการผลิต
ของตนเอง ตรวจครัง้ ที่ 2 เป็ นการตรวจเยี่ยมเพื่อติดตามผลและให้ คำแนะนำแก่สถานประกอบการในการ
ปรับปรุงการผลิตของตนเองให้ เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม ตรวจครัง้ ที่ 3 เป็ นการตรวจเพื่อรับรองการผลิตที่
เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม เป็ นการตัดสินให้ สถานประกอบการ ผ่านหรื อไม่ผา่ นเพื่อได้ รับโล่รูปตัว G เพื่อ
เป็ นการแสดงว่า มีการรับรองการผลิตที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม และหากสถานประกอบการได้ รับโล่รูปตัว
G จะมีอายุการรับรอง 3 ปี ระหว่างนันจะมี้ คณะกรรมการทำการตรวจเยี่ยมและติดตามผลไปด้ วย และ
หากพบว่าสถานประกอบการใดไม่สามารถรักษามาตรฐานตามเกณฑ์การผลิตที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม
จะต้ องคืนโล่และสิทธิ์การใช้ สญ ั ลักษณ์รูปตัว G ให้ แก่กรมส่งเสริ มคุณภาพสิ่งแวดล้ อมในทันที

หลักการของเทคโนโลยีสะอาด
เทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดเป็ นหลักการป้องกันมลพิษ (Pollution Prevention) ที่ใช้ หลักการลดของเสีย
เหลือน้ อยที่สดุ (Waste Minimization) โดยวิธีการแยกสารมลพิษที่เกิดจากกระบวนการผลิตทุกขันตอน
้ ซึง่
ประกอบด้ วยการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตหรื อการเปลี่ยนวัตถุดิบที่ ทำให้ เกิดผลพลอยได้ ที่ไม่เป็ น

Page 9
อันตราย รวมทังการลดปริ
้ มาณและความเข้ มข้ นขององค์ประกอบในของเสียด้ วยการนำไปใช้ ซ้ำ (Reuse)
หรื อการนำกลับไปใช้ ใหม่ (Recycle) จนไม่สามารถนำของเสียไปใช้ ประโยชน์ได้ แล้ ว ก็จะนำไปบำบัดให้ ถกู
ต้ องตามหลักวิชาการต่อไป โดยมีการดำเนินการอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่อง นอกจากนี ้ในการดำเนินการ
เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายได้ นนยั
ั ้ งต้ องประกอบด้ วยทัศนคติที่ดีและการร่วมมือกันอย่างเต็มที่จากบุคคลากร
ทุกฝ่ ายอีกด้ วย

หลักการเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดในการป้องกันมลพิษ

วิธีการเทคโนโลยีสะอาด
เทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด มีวิธีดำเนินงานแบ่งออกเป็ น 2 วิธี คือ วิธีลดมลพิษที่แหล่งกำเนิดและวิธี
การนำกลับมาใช้ ใหม่หรื อการใช้ ซ้ำ

Page
10
วิธีการดำเนินงานเทคโนโลยีที่สะอาด

การลดมลพิษที่แหล่ งกำเนิด แบ่ งออกเป็ น 2 วิธี ดังนี ้


1. การปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต (Process Change) แบ่งออกเป็ น 3 วิธี คือ
o การปรับเปลี่ยนวัตถุดิบ (Input Material Change)

เป็ นการเลือกใช้ วตั ถุดิบที่สะอาด หมายถึง คุณสมบัติของวัตถุดิบเองหรื อสิ่งปนเปื อ้ นมา


กับวัตถุดิบ สิ่งสกปรกที่ปนเปื อ้ นมากับวัตถุดิบ หากเป็ นไปได้ ควรมีการกำจัดออกตังแต่
้ ต้น
คือแหล่งที่มาก่อนที่จะขนเข้ าสูโ่ รงงาน เพื่อเข้ าสูก่ ระบวนการผลิต รวมทังคุ
้ ณภาพต้ องให้
ได้ ตามมาตรฐานการผลิตของโรงงานด้ วย 

o การปรับปรุงเทคโนโลยี (Technology Improvement)

เป็ น การเพิ่มศัก ยภาพการผลิต หรื อ การใช้ ท รัพ ยากรอย่า งมีประสิท ธิภ าพ ได้ แ ก่ การ
ปรับปรุงผังโรงงาน การเพิ่มระบบอัตโนมัติ การปรับปรุงเครื่ องจักรและอุปกรณ์ในการผลิต
และการนำเทคโนโลยีใ หม่มาใช้ เพื่อ ให้ เ กิด ของเสีย น้ อ ยที่ส ดุ และถ้ า หากของเสีย ไม่
สามารถลดหรื อกำจัดได้ แล้ ว ก็ให้ หาวิธีนำเทคโนโลยีเพื่อทำการเคลื่อนย้ ายตัวกลางทาง
สิ่ง แวดล้ อ มเดิม ไปสูต่ วั กลางใหม่ ซึง่ เงือ นไขในการนำเทคโนโลยีม าปรับ ปรุง มีอ งค์
ประกอบ 5 ประการ (5 M) ดังรูป 

o การบริหารการดำเนินงาน (Operational Management)

เป็ นการบริหารระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต เพื่อเพิ่มศักยภาพของกระบวนการ


ผลิต ให้ สามารถลดต้ นทุนการผลิตและผลกระทบสิ่งแวดล้ อมได้ อย่างมีประสิทธิผล ได้ แก่
การปฏิบตั ิที่ดี การจัดการที่ดี การควบคุมรายการวัตถุดิบ การจัดเก็บที่เหมาะสม การ
วางแผนการผลิต การแยกกำจัดหรื อบำบัดของเสียและการฝึ กอบรม

Page
11
เงื่อนไขในการปรับปรุงเทคโนโลยี

2. การปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ (Product Reformulation)

ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ ้นอาจมีคณ
ุ ภาพ รูปลักษณะ ขนาด ภาชนะบรรจุผลิตภัณฑ์ที่มีผลกระทบสิ่ง
แวดล้ อม สามารถทำการปรับปรุงเพื่อลดปั ญหาได้ 4 วิธี

o Product Change Factor เป็ นการออกแบบใหม่เพื่อปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ โดยมีเงื่อนไข


เทคนิคต่างๆที่เหมาะสม
o Production Change Factor เป็ นการปรับปรุงกระบวนการผลิต วิธีการควบคุมสินค้ า การ
เก็บรักษา
o Market Change Factor ปรับเปลี่ยนวิธีการตลาด ประมาณความต้ องการตลาด
o Marketing Change Factor ปรับปรุงการบริ การ การตลาด

การนำกลับมาใช้ ใหม่ หรื อการใช้ ซ้ำ 


โดยปกติควรดำเนินการลดการสูญเสีย ก่อนที่จะหาวิธีนำกลับมาใช้ หมุนเวียนหรื อนำไปสกัดของมีคา่ กลับ
คืน การหมุนเวียนการใช้ เช่น เมื่อนำทรัพยากรมาผ่านการใช้ งานครัง้ หนึง่ แล้ วยังมีคณ ุ ภาพที่จะนำไปใช้ งาน
ในขันตอนอื
้ ่นได้ ก็ควรหาวิธีที่จะนำไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ หรื อถ้ าใช้ ในกระบวนการอื่นไม่ได้ อีกแล้ วก็จะใช้
วิธีการศึกษาเทคโนโลยีเพื่อออกแบบกระบวนการนำทรัพยากรน้ำ วัตถุดิบ หรื อพลังงานกลับมาใช้ อีก หรื อ
ทำให้ เกิดผลพลอยได้ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้ กบั ของเสีย  

โรงงานอุตสาหกรรมโดยทัว่ ไป สามารถนำเทคโนโลยีการผลิตทีสะอาดไปใช้ เป็ นการพัฒนาขีดความ

Page
12
สามารถด้ านการผลิต เพื่อให้ เกิดการแข่งขันในภาคอุตสาหกรรมทังภายในประเทศและการค้
้ าของตลาด
โลกได้ อย่างแน่นอน เนื่องจากเป็ นเทคโนโลยีที่ก่อให้ เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและให้ ประโยชน์อย่าง
มากมาย ซึง่ บางกรณีการนำเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดไปปฏิบตั ิใช้ โดยไม่เสียค่าใช้ จ่ายในการลงทุน แต่
ผลที่ได้ กลับมาสามารถลดต้ นทุนการผลิตได้ มาก หรื อถ้ ามีการลงทุนก็ต้องได้ รับผลตอบแทนภายในระยะ
เวลาคืนทุน (Payback Period) ที่ค้ มุ ค่าต่อการลงทุน

ประโยชน์ เทคโนโลยีสะอาด
ประโยชน์ ต่อตัวเราเอง
1. มีสขุ ภาพกายที่แข็งแรง ปลอดภัยจากสารพิษต่างๆ เพราะมีสารพิษที่ปล่อยสูธ่ รรมชาติและตกค้ าง
อยูใ่ นผลิตภัณฑ์น้อยลง สุขภาพจิตก็ดีด้วย
2. เทคโนโลยีสะอาดทำให้ เราได้ ใช้ สินค้ าอุตสาหกรรมที่มีคณ ุ ภาพสูงขึ ้น
3. มีสภาพแวดล้ อม ความเป็ นอยู่ และคุณภาพชีวิตดีขี ้น เช่น แม่น ้ำลำคลองจะสะอาดขึ ้นและมีขยะ
ลดน้ อยลง
4. ประหยัดค่าใช้ จ่ายในการรักษาพยาบาล
5. มีความภาคภูมิใจในผลงานที่มีสว่ นทำให้ เกิดสิ่งดีๆ ขึ ้นในสังคม

ประโยชน์ ต่อชุมชน
1. มีความสมานสามัคคีกนั ระหว่างข้ านน ชุมชนและโรงงานดีขึ ้นเพราะเข้ าใจปั ญหา และร่วมกันหา
หนทางแก้ ไข
2. ทำให้ เกิดสังคมที่หน่าอยู่ มีทรัพยากรธรรมชาติเหลือให้ ใช้ อย่างเพียงพอ เพราะมีการจัดสรรและใช้
ทรัพยากรอย่างค้ มค่า และมีประสิทธิภาพสูงสุด เช่น มีการนำเอาของเสียกลับมาใช้ ใหม่ เป็ นต้ น
ประโยชน์ ต่อภาคอุตสาหกรรม

1. ช่วยทำให้ เกิดการประหยัดการใช้ น้ำ วัตถุดิบ พลังงาน และลดการเกิดมลพิษ โดยกระบวนการนำ


กลับมาใช้ ใหม่และใช้ ซ้ำ
2. การปรับปรุงสภาพการทำงาน เทคโนโลยีสะอาดจะทำให้ การทำงานมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ ้น
เนื่องจากคนงานมีสขุ อนามัยดีขึ ้น และลดความเสี่ยงในการเกิดอุบตั ิเหตุตา่ งๆ

Page
13
3. การปรับปรุงคุณภาพสินค้ า คุณภาพของสินค้ าเป็ นสิ่งสำคัญของผู้ผลิตภาคอุตสาหกรรม เนื่องจาก
ต้ องแข่งข้ นในระดับสากล การลดมลพิษ ณ แหล่งกำเนิดทำให้ คณ ุ ภาพสินค้ าดีขึ ้น
4. การเพิ่มประสิทธิภาพและกำไรการประหยัดวัตถุดิบและพลังงานนำไปสูก่ ารลดต้ นทุนการผลิต ซึง่
เป็ นการเพิ่มกำไร และขีดความสามารถในการแข่งขัน
5. เทคโนโลยีส ะอาด ทำให้ โ รงงานเกิด ของเสีย น้ อ ยลง ง่า ยต่อ การจัด การและยัง ปฏิบตั ิไ ด้ ต าม
มาตรฐานกฎหมายบ้ านเมือง
6. การลดต้ นทุนการบำบัดเสีย การลดมลพิษที่แหล่งกำเนิดทำให้ มลพิษมีปริ มาณลดลง ซึง่ จะมีผล
ทำให้ ต้นทุนการบำบัดของเสียลดลงด้ วย
7. การมีภาพพจน์ที่ดีตอ่ สาธารณชน เทคโนโลยีสะอาดทำให้ โรงงานหรื อสถานประกอบการสะอาด
และทำให้ เป็ นเพื่อนบ้ านที่ดีกบั ชุมชนรอบข้ าง
8. เทคโนโลยีสะอาดจะลดจำนวนมลพิษจากอุตสาหกรรมลง และเป็ นการลดการสะสมตัวของความ
เป็ นพิษต่างๆ ในสิ่งแวดล้ อม

ประโยชน์ ต่อภาครั ฐ
1. เทคโนโลยีสะอาดช่วยแบ่งเบาภาระกิจในการติดตามตรวจสอบของภาครัฐ
2. บรรลุตามเป้าหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
3. ส่งเสริมภาพพจน์ของประเทศไทยในด้ านการจัดการสิ่งแวดล้ อมและเพิ่มศักยภาพในการส่งออก

ขัน้ ตอนสู่ความสำเร็จในการทำเทคโนโลยีสะอาด
1. วางแผนและจัดองค์ กร (นโยบาย/วัตถุประสงค์ /เป้าหมาย/ตัง้ คณะทำงาน)
การวางแผนและจัดองค์กรนัน้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อแสดงความมุง่ มัน่ ของผู้บริ หาร โดยการกำหนดนโยบาย
และเป้าหมายซึง่ จะเป็ นแนวทางในการทำเทคโนโลยีสะอาด (CT) ขององค์กรนันๆ ้ นอกจากนันผู
้ ้ บริ หาร
สูงสุดยังต้ องให้ การสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ โดจการจัดตังคณะทำงานเทคโนโลยี
้ สะอาด (ทีม CT) และใน
ขันตอนนี
้ ้ อาจมีการพิจารณาถึงอุปสรรคซึง่ อาจมีผลต่อการดำเนินงาน และควรเตรี ยมการเพื่อการแก้ ไขไว้
ด้ วย

2. ทำการประเมินเบือ้ งต้ น (เลือกบริเวณที่จะทำการประเมิน)


หลังจากที่ได้ โครงสร้ างและกรอบในการทำงานแล้ ว คณะทำงานต้ องทำการประเมินเบื ้องต้ นว่ามีบริ เวณใด
บ้ าง ที่เกิดความสูญเสียและสามารถปรับปรุงให้ ดีขึ ้นได้ และเลือกบริ เวณที่จะทำการประเมินโดยละเอียด
ต่อไป การประเมินเบื ้องต้ นอาศัยหลักสามัญสำนึกเป็ นส่วนใหญ่ และยังไม่ลงลึกในรายละเอียด ผลจาก
การประเมินนี ้ จะใช้ เป็ นแนวทางกำหนดบริเวณหรื อทรัพยากรที่จะศึกษาในการประเมินโดยละเอียดต่อไป

3. ทำการประเมินโดยละเอียด (รายกาทางเลือกทัง้ หมด)

Page
14
เมื่อได้ พื ้นที่หรื อบริเวณที่เกิดความสูญเสียสูง และต้ องการจะปรับปรุงให้ ดีขึ ้นแล้ ว จึงเริ่ ม ทำการประเมินโดย
ละเอียดเพื่อจัดทำสมดุลมวลและพลังงาน เข้ า ออก เพื่อทำให้ ทราบถึงสาเหตุและแหล่งกำเนิดของของเสีย
หรื อมลพิษ การสูญเสียพลังงาน ความเสี่ยง และสภาพแวดล้ อม การทำงานที่ไม่ดี จากนันจึ ้ งทำรายการ
และจัดลำดับความสำคัญของทางเลือกเพื่อการปรับปรุงต่อไป

4. ศึกษาความเป็ นไปได้ (รายการของทางเลือกที่ค้ ุมค่ าในการลงทุน)


ศึกษาความเป็ นไปได้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ ทราบถึงระดับความละเอียดที่ต้องทำการศึกษาในแต่ละทาง
เลือก และความพร้ อมของข้ อมูล นอกจากนันสำหรั้ บโครงการที่ต้องมีการลงทุนสูง ต้ องประเมินความคุ้มค่า
ในการลงทุน และทำรายการของทางเลือกที่เป็ นไปได้

5. ลงมือปฏิบัติ (แผนปฏิบัตงิ าน/ดำเนินงานตามแผน)


การลงมือปฏิบตั ิเพื่อให้ ทางเลือกที่ได้ เลือกไว้ ประสบความสำเร็ จ ต้ องมีกาวางแผนการทำงานโดยละเอียด
โดยในแผนงานควรประกอบด้ วย เรื่ องที่จะทำ บริ เวณเป้าหมาย ขันตอน ้ การปฏิบตั ิ กำหนดระยะเวลาเสร็ จ
สิ ้น และผู้รับผิดชอบในแต่ละขันตอนอย่
้ างชัดเจน

6. ติดตามประเมินผล (ติดตาม ตรวจสอบ อย่ างใกล้ ชิด)


เมื่อการทำงานดำเนินไประยะหนึง่ ควรมีการติดตามประเมินผลเพื่อให้ แน่ใจว่า การปฏิบตั ิเป็ นไปตามแผน
งานที่กำหนดไว้ หรื อถ้ าหากมีปัญหาประการใด จะได้ ทบทวนแก้ ไขเพื่อมิให้ เป็ นอุปสรรคในการทำงานต่อ
ไป การติดตามประเมินผลยังเป็ นการทำให้ CT ของบริ ษัทดำเนินต่อไปอย่างต่อเนื่องและดียิ่งขึ ้นอีกด้ วย

ปั จจัยสำคัญสู่ความสำเร็จในการทำเทคโนโลยีสะอาด

Page
15
1. ความมุง่ มัน่ ของผู้บริหาร
2. ความมัน่ คงในนโยบาย
3. การได้ รับการฝึ กอบรมในทุกระดับ
4. มีศรัทธาและเป็ นคุณค่าขอเทคโนโลยีสะอาดอย่างแท้ จริ ง
5. สร้ างแรงจูงใจที่เหมาะสม
6. การมีสว่ นร่วมของพนักงานทุกระดับอย่างสม่ำเสมอ
7. มีแหล่งข้ อมูลสารสนเทศที่ทนั สมัย
8. มีทีมงานที่มีประสิทธิภาพ
9. ทำเทคโนโลยีสะอาดอย่างต่อเนื่อง

ปั ญหา อุปสรรค ของการนำเทคโนโลยีสะอาดไปใช้


1. ไม่เข้ าใจแนวความคิดเทคโนโลยีสะอาด
2. ไม่มีข้อมูล
3. การไม่มีสว่ นร่วมของบุคคลากรในองค์กร
4. ขาดเทคโนโลยี ทังความรู
้ ้ ของบุคคลากร และการพัฒนาวัสดุอปุ กรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องจักรที่ คำนึง
ถึงสิ่งแวดล้ อม
5. ตัวอย่างความสำเร็จ CT ในเชิงรูปธรรมยังมีจำนวนน้ อย
6. การไม่ยอมเปิ ดเผยข้ อมูลความสำเร็ จของ CT ในวงกว้ าง
7. บุคคลากรที่มีความรู้ความสามารถด้ าน CT ยังมีน้อย

Page
16
ตัวอย่ างภาคอุตสาหกรรมที่มีการนำเทคโนโลยีสะอาดมาใช้
บริ ษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) ทุม่ งบ    กว่า 1,200 ล้ านบาท เปิ ดตัวเทคโนโลยีสะอาด
“หอเผาระบบปิ ดระดับพื ้นดิน และระบบดูดกลับไอไฮโดรคาร์ บอน”  เพื่อดูแลสิ่งแวดล้ อมและระดับ
คุณภาพชีวิตของประชาชน โดยนำร่องที่จงั หวัดระยอง หวังให้ เป็ นอุตสาหกรรมนิเวศต้ นแบบของไทย

นายอนนต์ สิริแสงทักษิณ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร บริ ษัท พีทีที โกบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) หรื อ พีที
ที จีซี เปิ ดเผยว่า ทาง พีทีที จีซี ได้ ติดตาม และสอบถามปั ญหาของชาวบ้ านในพื ้นที่อย่างต่อเนื่อง เมื่อ
ทราบถึงปั ญหา จึงตัดสินใจสร้ างหอเผาระบบปิ ด ด้ วยงบประมาณกว่า 500 ล้ านบาท ที่สามารถเผาไหม้ ได้
อย่างหมดจด ไม่มีเขม่าควันและแสง และมีผนังที่ดดู ซับเสียงและความร้ อน มองว่าการลงทุนครัง้ นี ้ เพื่อ
ประโยชน์เชิงนิเวศ และเป็ นจุดเริ่มต้ นของอุตสาหกรรมสีเขียว

ครัง้ นี ้เป็ นการเปิ ดดำเนินการหอเผาระบบปิ ดระดับพื ้นดิน และระบบดูดกลับไอไฮโดรคาร์ บอน นำร่องที่


จังหวัดระยอง ด้ วยงบประมานลงทุนกว่า 1,200 ล้ านบาท เพื่อเป็ นการนำเทคโนโลยีที่ได้ มาตรฐานและเป็ น
ที่ยอมรับในระดับสากล มาใช้ ในการจัดการด้ านสิ่งแวดล้ อม ซึง่ มีระบบควบคุมการทำงานอัตโนมัติตลอด
24 ชัว่ โมง จึงมีความปลอดภัย และเป็ นการส่งเสริ มคุณภาพสิ่งแวดล้ อม ทำให้ ภาคอุตสาหกรรมกับชุมชน
โดยรอบสามารถอยูร่ ่วมกันได้ อย่างกลมกลืน โดยถือว่าเป็ นเทคโนโลยีสะอาดแห่งแรกในประเทศไทย และ
ใหญ่ที่สดุ ในเอเชียด้ วย

Page
17
อ้ างอิง
http://www.tei.or.th/songkhlalake/database/knowledge/knowledge_ct5.html

http://www.ist.cmu.ac.th/cotton/technologyClean.php

http://www.environnet.in.th/?p=8145\

Page
18

You might also like