You are on page 1of 54

การประเมินวัฏจักรชีวิต

(LIFE CYCLE ASSESSMENT : LCA)

Wirongrong MONGKONTHUM
Dept. of Environmental Science, KKU
การประเมินวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment: LCA)

 วิธีการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในเชิงปริมาณตลอดช่วง
ชีวิตของผลิตภัณฑ์ โดยพิจารณาถึงการใช้ทรัพยากร พลังงาน
และการปลดปล่อยของเสียรูปแบบต่าตลอดช่
งๆ วงชีวิต = ?
- การจัดหาวัตถุดิบ
- การผลิต
- การขนส่ง
- การใช้ผลิตภัณฑ์ + การ
ใช้ซ้ำ การ
นำ
กลับมาใช้ใหม่
- การกำจัดทิง้ หลังหมด
ตัง้ แต่เกิดจนตาย
อายุก(Cradle
ารใช้งานto Grave)
LCA เป็ นเครื่องมือในการผลิต Green Products

 LCA ใช้ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมของผลิตภัณฑ์ตลอดวัฏจักร
ชีวิตของผลิตภัณฑ์นัน
้ ๆ
 มีการพิจารณาผลกระทบสิ่งแวดล้อมในทุกๆประเด็นที่เกิดขึน
้ รวม
ผลกระทบทัง้ หมด ; สิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศ พันธุ์พืช/สัตว์ และ
สุขภาพของคน (ไม่รวมด้านเศรษฐศาสตร์)
 ใช้เป็ นเกณฑ์ในการเลือกผลิตภัณฑ์ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
น้อย (ผู้ผลิต และผู้บริโภค)
 ตัดปั ญหาที่จะเกิดตามมา (prevention control)
- จากขัน้ ตอนหนึ่งของวงจรชีวิตไปขัน
้ ตอนอื่นๆ
- จากปั ญหาหนึ่ง ไปสู่ปัญหาอื่น
ทำไมต้อง LCA : ที่มาการประยุกต์ใช้ข้อมูลการเมินวัฏจักรชีวิต/ แรงขับเคลื่อน (แ
รงกดดัน)

1. ปั ญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึน
้ ในปั จจุบัน
 อากาศเปลี่ยนแปลงเนื่องจากโลกร้อนขึน

 การร่อยหรอของทรัพยากร
 การลดลงของปริมาณโอโซนในชัน
้ บรรยากาศ
 ขยะล้นเมือง
 สารพิษ
 มลพิษอื่นๆ
2. อุปสรรคต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : “Sustainable Development…
development that meets the
needs of the present without compromising the ability of
3. บทบาทของสิ่งแวดล้อมต่อมาตรการทางการค้า ผ่านมาตรการการค้าที่
ไม่ใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers:
NTBs) (โดยเฉพาะประเทศพัฒนาแล้ว เช่น EU ญี่ปุ่น อเมริกา อาจใช้เป็ น
กลยุทธ์ในการกีดกันทางการค้า)
WEEE (Waste Electrical and Electronic Equipment) : ระเบียบการ
EU เช่น
กำจัดเศษจากซากผลิตภัณฑ์ไฟฟ้ า
และอิเล็กทรอนิกส์
EU Timber Regulation หรือ FLEGT : มาตรการส่งเสริมการทำป่ าไม้ที่
ยั่งยืน
REACH (Registration, Evaluation, Authorisation and Restriction
of Chemicals) : ระบบการจด
ทะเบียน การประเมิน การรับรอง อนุญาต และการจำกัดการใช้ สารเคมีที่
ผลิตหรือนำเข้ามาใน EU
RoHS (Restriction of Hazardous Substances Directive) : ระเบียบ
จำกัดสารอันตรายในผลิตภัณฑ์
ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์
EU Flower : Eco-labeling โครงการฉลากเขียวของสหภาพยุโรป
4. มนุษย์ (ผู้บริโภค) มีแนวโน้มให้ความสำคัญกับการรักษาสุขภาพ
อนามัยมากขึน
้ (ปั ญหาสิ่งแวดล้อม

ส่งผลต่อสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย) เกิดเงื่อนไขในการ
พิจารณาเลือกสินค้าและบริการ

5. ตลาดสินค้าเพื่อสิ่งแวดล้อมขยายตัว เกิดการแข่งขันในเรื่อง
คุณภาพสินค้าเพื่อรักษาและขยายตลาด

6. เครื่องมือสื่อสารข้อมูลสิ่งแวดล้อมระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคมี
บทบาทมากขึน
้ เช่น ฉลาก

สิ่งแวดล้อมประเภทต่างๆ
ตัวอย่างสลากด้านสิ่งแวดล้อม
LCA เป็ นส่วนหนึ่งในมาตรฐานระบบจัดการสิ่งแวดล้อม ISO14000 (อยู่ใน
ISO 14040)

หลักการ และกรอบแนวคิด LCA ในอนุกรมมาตรฐาน ISO 14040:2006

(องค์การมาตรฐานระหว่าง ประเทศ, International Organization for


Standardization: ISO)

“การเก็บรวบรวม และการประเมินค่าขององค์ประกอบที่ป้อนเข้าสู่
กระบวนการ (Input) และสิ่งที่ได้ออกมา (Output) รวมถึงผลกระทบ
ต่างๆ ที่มีโอกาสเกิดขึน
้ ในระบบผลิตภัณฑ์ตลอดวัฏจักร”
ISO14000 (เป็ นระบบตรวจสอบตนเอง หรือ Self Declaration) แบ่ง
ประเภทของมาตรฐานเป็ น 7 ส่วนหลัก
หลักการของการประเมินวัฏจักรชีวิต
กรอบการดำเนินงาน LCA ตามอนุกรมมาตรฐาน ISO 14040
ขัน
้ ตอนการประเมินวัฏจักรชีวิต

การประเมิน LCA ของผลิตภัณฑ์หรือ กระบวนการใดๆ ตามอนุกรม


มาตรฐาน ISO 14040 -14043 แบ่งกระบวนการทำ LCA ออกเป็ น
4 ขัน
้ ตอน ได้แก่

1) การกำหนดเป้ าหมายและขอบเขตการ ศึกษา

2) การจัดทำบัญชีรายการ

3) การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม

4) การแปลผลการศึกษา
1. การกำหนดเป้ าหมายและขอบเขต (Goal and Scope Definition)

คือ การกำหนดเป้ าหมายและขอบเขตของระบบ (system boundary)


หน่วยการทำงาน

(functional unit) ที่จะทำการศึกษา


 เป็ นการระบุวัตถุประสงค์ของการศึกษาและลักษณะการนำผลของ
การศึกษาไปใช้งานรวมถึงขอบเขตในการศึกษา โดยผลลัพธ์ที่ได้มาก
น้อยเพียงใดนัน
้ ขึน
้ อยู่กับการกำหนดเป้ าหมายและขอบเขตการศึกษา
 ถ้ากำหนดเป้ าหมายและขอบเขตไม่ดีพอจะทำให้ผลที่ได้จากการ
ประเมินไม่ถูกต้องไม่มีประโยชน์ในการที่จะนำผลที่ได้ไปปรับปรุง
ผลิตภัณฑ์นัน
้ ให้ดีขน
ึ้
เป้ าหมายหลักของการทำ LCA มีความแตกต่างกัน เช่น

 เพื่อวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อนของผลิตภัณฑ์
- อาศัยข้อมูลผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในด้านต่างๆ ที่เกิดขึน

ตลอดวัฏจักรชีวิต
 เพื่อการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ (อาศัยความรูพ้ืนฐานของการออก
แบบและขอมูลในเชิงตัวเลขมาก)
 เพื่อจัดทำฉลากสิ่งแวดล้อม
- เป็ นช่องทางการสื่อสารระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคให้รับทราบ
ถึงผลกระทบจาก
ผลิตภัณฑ์ที่มีต่อสิ่งแวดล้อม
ขอบเขตของการประเมินวัฏจักรชีวิต
Gate to gate: Partial LCA, พิจารณาเฉพาะกระบวนการใดกระบวนการหนึ่งจากทัง้ สายโซ่การ
ผลิต

Cradle to Gate: เริ่มจากขัน


้ ตอนการได้มาซึ่งวัตถุดิบ การขนส่ง
วัตถุดิบมายังโรงงาน จนถึงการผลิตผลิตภัณฑ์ในโรงงาน ไม่รวมการใช้
งานและการทำลายซากเมื่อหมดอายุ
นิยมใช้สำหรับผลิตภัณฑ์ที่ไม่สามารถวิเคราะห์ผลกระทบในช่วง
การใช้งานได้ชัดเจน เช่น ไฟฟ้ า น้ำ เชื้อเพลิง และวัสดุต่างๆ (เช่น
กระดาษ พลาสติก) หรือผลิตภัณฑ์ที่ผลิตเพื่อเป็ นวัตถุดิบให้กับ
ผลิตภัณฑ์อ่ น
ื  
การกำหนดขอบเขตแบบ Cradle to Gate 
Cradle to Grave : LCA เต็มรูปแบบ ประเมินผลกระทบตัง้ แต่การ
ได้มาซึ่งวัตถุดิบมาผลิตสินค้า การผลิตสินค้า การนำไปใช้งาน การ
กำจัดซากหลังหมดอายุการใช้งาน

Cradle to cradle: รูปแบบพิเศษของ Cradle to grave ได้แก่ กรณีที่ขัน้ ตอน


การกำจัดซากของ
ผลิตภัณฑ์เป็ นกระบวนการรีไซเคิล ทำให้ได้สินค้าเดิมออกมา
2. การจัดทำบัญชีรายการสิ่งแวดล้อม : Life cycle inventory

 คือ การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องภายใน


ขอบเขตและเป้ าหมายของการศึกษา การเก็บขอมูลควรอยูในรูปที่เขาใจงาย
 ข้อมูลที่เก็บรวบรวม (ของระบบทัง้ หมด) ได้แก่
- รายละเอียดของกระบวนการผลิตและ flow chart ของกระบวนการผลิต
- ปริมาณสารขาเข้า : Input (ปริมาณวัตถุดิบ พลังงาน สาร เคมีที่ใช้ใน
กระบวนการ)
- ปริมาณสารขาออก: Output (ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ร่วม มลพิษสู่อากาศ น้ำ
ดิน และ ขยะ)
ตัวอย่างการจัดทำ Life Cycle Inventory

การผลิตผลิตภัณฑ์ A มีสารและพลังงานที่เข้าระบบการผลิตประกอบด้วย

Input วัตถุดิบ a น้ำ ไฟฟ้ า และเชื้อเพลิง

Output ผลิตภัณฑ์ A ผลิตภัณฑ์ร่วม (Co-product)

ของเสียที่เป็ นของแข็ง ความร้อนจากระบบการผลิต

มลสารที่ปล่อยสู่อากาศ (Emissions to Air) ได้แก่ CO2, SO2, NOx

มลสารที่ปล่อยสู่แหล่งน้ำ (Emissions to Water) ได้แก่ COD

มลสารที่ปล่อยสู่ดิน (Emissions to Soil) ได้แก่ ยูเรีย 


สารและพลังงานที่ออกจากระบบการผลิตผลิตภัณฑ์ A 
Life Cycle Inventory ของระบบการผลิตผลิตภัณฑ์ A
Life Cycle Inventory to produce 1 kg of Ethanol in
Colombia

Source: http://www.scielo.org.co/scielo.php?script=sci_arttext&pid=S1909-
ขัน
้ ตอนการจัดทำบัญชีรายการ

1) การเก็บข้อมูล (Data collection) : ข้อมูลได้แก่ ปริมาณสารขาเข้า (วัตถุดิบ &


พลังงาน) ปริมาณสารขาออก (ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ร่วม มลสารต่างๆ ของเสีย)

- ข้อมูลปฐมภูมิ ได้จาก แบบสอบถาม สัมภาษณ์ (โดยตรง โทรศัพท์) จากการวัด

- ข้อมูลทุตยภูมิ ได้จาก แหล่งต่างๆ เช่น EIA report ฐานข้อมูลต่างๆ รายงาน


ของรัฐ รายงาน

วิจัย วิทยานิพนธ์ต่างๆ

- ข้อมูลจากการคำนวณ (สำหรับกรณีที่ไม่มีข้อมูลที่ต้องการ หรือข้อมูลมี


คุณภาพต่ำ)
ข้อมูลที่ต้องจัดเก็บ

Input (ชนิด ปริมาณ) Output (ชนิด ปริมาณ)


วัตถุดิบ มลสารที่ปล่อยสู่อากาศ (+ส่วนประกอบของ
อากาศเสีย)
พลังงาน มลสารที่ปล่อยสู่น้ำ (+ส่วนประกอบของน้ำ
เสีย)
น้ำ (+รูปแบบการนำ มลสารที่ปล่อยสู่ดิน (+ส่วนประกอบ)
ไปใช้)
มาณของวัตถุดิบที่สูญหายระหว่างการผลิต (loss)
ของเสียในรูปของแข็ง
ขนส่ง ได้แก่ พาหนะที่ใช้ ระยะทาง ชนิดและน้ำหนักของที่บรรทุก
อื่นๆ (สารเคมี บรรจุ สารอื่นๆที่ปล่อยออกจากกระบวนการ
บำบัดของเสีย ได้แก่ ชนิดของเสีย ปริมาณ ส่วนประกอบทางเคมี กายภาพ กระ
2) การวิเคราะห์ คำนวณและตรวจสอบข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดเก็บ
การตรวจสอบข้อมูล
 สมดุลมวลสาร
 สมดุลพลังงาน
 เปรียบเทียบกับข้อมูลจากกระบวนการที่คล้ายคลึงกัน
 เปรียบเทียบกับข้อมูลจากแหล่งอ้างอิงอื่น
 เปรียบเทียบกับค่าทางทฤษฎี เช่น ค่าจากการคำนวณ
การปั นส่วน การหาค่าเฉลี่ย (Averaging) : ปริมาณผลกระทบ
(Allocation) ต่อผลิตภัณฑ์
1 หน่วย

 ใช้ในกรณีที่มีการทรัพยากรหนึ่งใดร่วมกันในหลายขัน
้ ตอน/
กระบวนการ และไม่มีการระบุข้อมูลที่ชัดเจน
(ปัตันส่
วอย่
วานรั
งการปั
บผิด นส่ชอบ)
วนโดยใช้น้ำหนัก (ข้อมูลสมมติทัง้ หมด)
การผลิตกระดาษพิมพ์เขียน 30 ตัน จากกลุ่มโรงงานเยื่อและกระดาษที่ มีผลิตภัณฑ์หลาย
ประเภท
ข้อมูลการผลิต กระดาษ 80 แกรม 10 ตัน กระดาษ 70 แกรม 20 ตัน ปริมาณไฟฟ้ าที่ใช้
ทัง้ หมด 20 MWh
การปั นส่วน สัดส่วนการใช้ไฟฟ้ าสำหรับผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดแยกตามน้ำหนัก คำนวณได้
ดังนี ้
กระดาษ 80 แกรม ใช้ไฟฟ้ าในสัดส่วน 10 / (10 + 20) = 33.33%
กระดาษ 70 แกรม ใช้ไฟฟ้ าในสัดส่วน 20 / (10 + 20) = 66.67%
- ไฟฟ้ าที่ใช้ในการผลิตกระดาษ 80 แกรม = 0.3333x20 = 6.67 MWh
- ไฟฟ้ าที่ใช้ในการผลิตกระดาษ 70 แกรม = 0.6667x20 = 13.33 MWh
3. การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตลอดวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์
(Life Cycle Impact Assessment: LCIA)

 มีเป้ าหมายเพื่อประเมินระดับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมว่าผลกระ
ทบด้านใดที่มีความสำคัญในระบบผลิตภัณฑ์ที่พิจารณา
 เป็ นการแปลข้อมูลบัญชีรายการ จาก LCI (ปริมาณของเสีย สาร
ขาเข้า สารขาออก) ให้อยู่ในรูปของผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อ
อธิบายค่าความสามารถในการก่อให้เกิดผลกระทบขัน
้ กลาง (ต่อ
สิ่งแวดล้อม : Mid-point Impact) หรือผลกระทบขัน
้ ปลาย
(End-point Impact: ความเสียหายต่อสุขภาพอนามัย ต่อระบบ
นิเวศ) ที่เกิดขึน
้ ในแต่ละช่วงชีวิตโดยตลอดวัฏจักรของผลิตภัณฑ์
 เพื่อนำมากำหนดแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงต่อไป
ระดับความเสียหาย เช่น ความ
แสดงปั ญหาที่เกิดต่อสวล. เสียหายต่อสุขภาพ หรือต่อ
โครงสร้างการประเมินผลกระทบ ระบบนิเวศ

บัญชีรายการ ผลกระทบขัน
้ กลาง ผลกระทบขัน
้ ปลาย

Global Cance
CO2 r
Warming Respirat
Ozone ory
CH4
decease
depletion Sea
VOC Carcinogens water
CFCs Acidification level
Extincti
Eutrophicatio on of
SOx
n species
NOx Land use Reduced
change resource
PM10
Nutrification base
การประเมินผลกระทบ

 จำแนกกลุ่มผลกระทบ (Classification)

เป็ นการจำแนกข้อมูลในบัญชีรายการให้เข้า
กลุ่ม

ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม (ที่สำคัญ)

เช่น
Climate Change Global Warming
Ozone depletion
Resources depletion
Energy depletion
Toxicity (human, eco)
กลุ่มผลกระทบที่สำคัญ
 การกำหนดบทบาทและบ่งชป
ี้ ริมาณใน แต่ละกลุม
่ ผลกระทบ
(Characterization) แปลงข้อมูลในบัญชีรายการให้เป็ นค่าความ
สามารถในการก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (ISO ให้คำถึงแค่
พิจารณา “ผลกระทบในเชิงปริมาณ (Impact score)” โดยคิดจากค่า
ตรงนี)้
Characterization Factor (แฟคเตอร์กำหนดบทบาท) = ค่าแสดงศักยภาพใน
การก่อให้เกิดผลกระทบของข้อมูล

ต.ย. กำหนดบทบาทด้าน GWP

เช่น CH4 มีค่า Characterization Factor = 25 kgCO2/kgCH4

หมายความว่า CH4 1 kg มีผลกระทบต่อ GWP เท่า CO2 25 kg หรือ

CH4 มีผลกระทบต่อ GWP มากกว่า CO2 25 เท่า

Impact Score = Characterization Factor x


Inventory value
โจทย์ตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์ A และ B มีผลกระทบในดัชนี GWP
เท่าใด
เมื่อผลิตภัณฑ์ A ปลดปล่อย CO2 = 20 กก.ต่อกก. ผลิตภัณฑ์
CH4 = 2 กก. ต่อกก. ผลิตภัณฑ์
N2O = 0.1 กก. ต่อกก. ผลิตภัณฑ์
เมื่อผลิตภัณฑ์ B ปลดปล่อย CO2 = 50 กก.ต่อกก. ผลิตภัณฑ์
CH4 = 0.5 กก. ต่อกก. ผลิตภัณฑ์
N2O = 0.2 กก. ต่อกก. ผลิตภัณฑ์
เปรียบเทียบผลกระทบของผลิตภัณฑ์จากการกำหนดบทบาท
ด้าน GWP

รายการ ปริมาณ GWP Characterization Factor GWP


ข้อมูล (kg) (kgCO2/kg) (kgCO2)

ผลิตภัณฑ์ A
CO2 20 1 20 x 1 = 20

CH4 2 25 2 x 25 = 50

N2O 0.1 298 0.1 x 298 =


29.8
Total 99.8
ผลิตภัณฑ์ B
กำหนดบทบาทด้าน Acidification potential (ADP)

ผลิตภัณฑ์ A และ B มีผลกระทบในดัชนี ADP เท่าใด


ผลิตภัณฑ์ A ปล่อย NH3 = 0.03 กก.ต่อกก. ผลิตภัณฑ์
NOx = 4.5 กก. ต่อกก. ผลิตภัณฑ์
SO2 = 7 กก. ต่อกก. ผลิตภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์ B ปล่อย NH3 = 0.05 กก.ต่อกก. ผลิตภัณฑ์
NOx = 3.5 กก. ต่อกก. ผลิตภัณฑ์
SO2 = 5 กก. ต่อกก. ผลิตภัณฑ์
เปรียบเทียบผลกระทบของผลิตภัณฑ์จากการกำหนดบทบาท
ด้าน ADP

รายการ ปริมาณ ADP Characterization Factor ADP


ข้อมูล (kg) (kgSO2/kg) (kgSO2)

ผลิตภัณฑ์ A
NH3 0.03 1.88 0.0564

NOx 4.5 0.7 3.15


SO2 7 1 7

Total 10.2064
ผลิตภัณฑ์ B
NH3 0.05 1.88 0.094
ตัวอย่างผลกระทบจากการกำหนดบทบาทของวัฏจักรชีวิต
ของถุงกระดาษและถุงพลาสติก LDPE
ตัวอย่างผลกระทบจากการกำหนดบทบาท
Ex : GHG emission ของรถยนต์ 2 รุ่น
การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม (Impact Assessment
Methods)

 นิยมใช้โปรแกรม สำเร็จรูปในการประเมิน เพราะมีความสะดวกผล


 โปรแกรมสำเร็จรูปในโปรแกรม SimaPro ได้แก่ CML, Cumulative
Energy Demand,
Eco-indicator 95, Eco-indicator 99, Ecopoint 2006, EDIP 2003,
EPS, IMPACT 2002+, IPCC 2007 และ TRACI
โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการศึกษา LCA ที่นิยมในปั จจุบัน
ให้น้ำหนักและความสำคัญ (Valuation, Weighting)
 เป็ นการกำหนดความสำคัญให้แก่ผลกระทบแต่ละกลุ่ม เพื่อให้สามารถ
เปรียบเทียบกันได้ระหว่างผลิตภัณฑ์
 จุดประสงค์เพื่อการจัดอันดับผลลัพธ์ของประเภท ผลกระทบที่ต่างกัน
 ค่าผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมแต่ละชนิดจะต่างกันไป ขึน
้ กับมุมมองของผู้
ประเมินว่าจะกำหนดค่ามลภาวะ (Weighting Factor) ว่าเป็ นเท่าใด
ข้อมูลสมมติเพื่อพิจารณาระดับผลกระทบตามการให้น้ำหนักและ
ความสำคัญ

โจทย์ การประเมินวัฏจักรชีวิตเพื่อเปรียบเทียบระหว่างเส้นใยฝ้ ายกับ


เส้นใยพอลิเอสเตอร์
ผลกระทบ เส้นใยฝ้ ายให้ผลกระทบด้านการใช้พ้ืนที่และความเป็ นพิษต่อ
ระบบนิเวศสูง
เส้นใยพอลิเอสเตอร์มีการใช้ทรัพยากรมากและมีศักยภาพในการก่อให้เกิด
ภาวะโลกร้อนสูง
คำถาม เส้นใยฝ้ ายดีกว่าหรือเส้นใยพอลิเอสเตอร์ดีกว่า ???

หากพิจารณาให้ระบบนิเวศมีน้ำหนักมากกว่าการใช้ทรัพยากรและโลก
ร้อน
: เส้นใยพอลิเอสเตอร์ดีกว่า
หากพิจารณาให้ระบบนิเวศมีน้ำหนักน้อยกว่าการใช้ทรัพยากรและโลก
ร้อน
4. การแปลผลและการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ (Interpretation)

เป็ นการนำผลที่ได้มาวิเคราะห์ถึงแหล่งหรือสาเหตุของปั ญหาเพื่อใช้


เป็ นแนวทางในการ
 พัฒนาและปรับปรุ การกำหนดเป้
งผลิตภัณฑ์า
หมาย
 วางแผนกลยุทธ์
และขอบเขตการ
 กำหนดนโยบาย ศึกษา
Direct
 การตลาด
(Goal & Scope
definition) applications
การวิเคราะห์เพื่อ การแปรผล
 อื่นๆ  พัฒนาและ
ทำบัญชีรายการ และการ
ปรับปรุง
สิ่งแวดล้อม ปรับปรุง
ผลิตภัณฑ์
(Inventory ผลิตภัณฑ์  วางแผนกลยุทธ์
Analysis) (Interpreta  กำหนดนโยบาย
การประเมิน tion)  การตลาด
ผลกระทบสิ่ง
 อื่นๆ
แวดล้อม
(Impact
ประโยชน์ขLCA เป็ นเครื
องการทำ LCA ่ องมือในการผลิต Green Prod

 ทราบผลกระทบสิ่งแวดล้อมของผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการผลิตสินค้า

สามารถปรับปรุงแก้ไขปั ญหาที่เกิดขึน
้ ได้ครบทุกด้าน
 เป็ นฐานข้อมูลเพื่อการออกแบบเชิงนิเวศ (Eco design)
 เปรียบเทียบผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของผลิตภัณฑ์
 ใช้อ้างอิงด้านสิ่งแวดล้อมให้เป็ นไปตามกฎหมายของประเทศคู่ค้าเพื่อ

สนับสนุนการส่งออก
 เตรียมความพร้อมของประเทศในการรองรับกับมาตรการด้านการค้า

และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของประเทศคู่ค้าใหญ่ๆ ของไทย เช่น


ใครใช้ LCA

ภาคอุตสาหกรรม

- ออกแบบและปรับปรุงกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ 

- พัฒนากลยุทธ์ด้านการตลาดและแผนการลงทุน
- ช่วยในการหาผู้จัดหาวัตถุดิบ (supplier) ให้ผลิตผลิตภัณฑ์ที่เป็ น
มิตรต่อสิ่งแวดล้อม

- ใช้ส่งเสริมการตลาดเรื่องสิ่งแวดล้อม

- เพิ่มโอกาสทางการค้า (ตลาดที่มีข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อม)
ภาครัฐ
- ใช้เป็ นเกณฑ์ในการจัดทำฉลากสิ่งแวดล้อม
- ใช้เป็ นเกณฑ์ในการกำหนดมาตรฐาน/การควบคุมด้วยกฎหมาย
- พิจารณาสนับสนุนเงินทุนหรือการจัดทำโครงสร้างภาษีอากรเอกชน

- เป็ นข้อมูลเพื่อเผยแพร่ต่อผู้บริโภคเพื่อสร้างจิตสำนึก
- เป็ นข้อมูลเพื่อให้รัฐบาลมีการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม
ผู้บริโภค
- เป็ นข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ 
- เกิดจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม
Linear Economy
X Take Make Dispose

 Circular Economy : เศรษฐกิจหมุนเวียน


Recycle Reuse Reduce

Circular Supply Resource Product Life


: ใช้วัสดุรีไซเคิล ใช้พ. Recovery Extension
หมุนเวียน Ex. ลดการสูญ การยืดอายุ
ใช้ทรัพยากรชีวภาพที่ เสียวัตถุดิบ, การ ผลิตภัณฑ์ as a Service
Product
ย่อยสลายและสร้าง หาทางนำกลับมา การให้เช่าผลิตภัณฑ์หรือ
Sharing
ใหม่ได้  Platform เกิดใช้ใหม่ ให้บริการผู้ที่ต้องการใช้
การร่วมมือกันระหว่างผู้ใช้ เป็ นครัง้ ๆ 
LCA is a part of the SDG12
ฐานข้อมูลวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ของไทย ถูกนำไปประยุกต์ใช้โดยผ่านการดำเนิน
งานของนักวิจัย สวทช. ร่วมกับภาคีเครือข่ายทัง้ ของภาครัฐ ภาคเอกชน ตลอดจน
องค์กรระหว่างประเทศ ตัวอย่างดังนี ้

https://www.mtec.or.th/research-projects/38290/
ฐานข้อมูล LCA ของไทย

https://www.nstda-tiis.or.th/our-rd-activities/lci-
database/development-and-establishment-of-national-
lci-database/
ทัง้ หมดที่พูดกันมา คำถามคือ แล้ว LCA
เกี่ยวข้องกับ
Clean Technology อย่างไร ?

You might also like