You are on page 1of 234

คู่มือการใช้ งาน ZW3D

สํ าหรับผู้เริ่มต้ น

 
ZW3D คือซอฟต์แวร์ สําหรับทํางานด้ าน CAD/CAM จากอเมริ กาที่ทํางานได้ ทงหมดใน
ั้
หนึ่งเดียว ตังแต่
้ การเริ่ มออกแบบจําลอง 3 มิติ ตามความต้ องการของลูกค้ าหรื อนักออกแบบ
ด้ วยระบบ CAD HYBRID MODELING 100% ที่ช่วยให้ นกั ออกแบบสะดวกและทํางานได้
อย่างง่ายดายกับงาน Solid – Wireframe – Surface ไปจนถึงกระบวนการผลิตโดยเครื่ องจักร
CNC จาก CAM 2-5 แกน ที่ชาญฉลาดจนเป็ นผลิตภัณฑ์ที่พร้ อมส่งมอบ อีกทังยั้ งเป็ นที่นิยมใช้
แพร่ หลายในยุโรปและอเมริ กา
ZWSOFT (ZWCAD SOFTWARE CO.LTD.) เป็ นบริ ษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ ZWCAD โดย
ได้ ร่วมมือกับองค์กรที่มีชื่อเสียงของโลก ในการพัฒนาความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยี อีกทังยั
้ ง
เป็ นสมาชิกบอร์ ดของ ITC (IntelliCAD Technology Consortium) ได้ ร่วมทุนกับ VX Corp .
จากอเมริ กาในการพัฒนาจาก VX CAD/CAM เป็ น ZW3D ในปี 2010
ทางบริ ษัท แคด อินโนเวทีฟ จํากัด ได้ เล็งเห็นความสําคัญของการพัฒนาศักยภาพใน
การทํางานของผู้ผลิต โดยมีความต้ องการให้ ซอฟต์แวร์ นี ้ สามารถช่วยเหลือในเรื่ องของการ
ทํางานที่จะทําให้ ผลผลิตออกมาได้ อย่างรวดเร็ ว ประหยัดเวลา และมีประสิทธิภาพ เพื่อเพิ่ม
ผลผลิตที่ดีที่สดุ สําหรับหน่วยงาน
โดยบริ ษัท แคด อินโนเวทีฟ จํากัด หวังเป็ นอย่างยิ่งว่า คู่มือการใช้ งานโปรแกรมฉบับนี ้
จะมีคณ
ุ ค่าและสามารถช่วยเหลือผู้ใช้ งานได้ อย่างมีประโยชน์สงู สุด
CAD INNOVATIVE CO., LTD.
www.zw3dcadcamthai.com

ลิขสิทธิ์คมู่ ือ โดย บริ ษัท เซียน จิ ้น เทรดดิ ้ง จํากัด


 

คํานํา
คู่มือฉบับนี ้สําหรับผู้เริ่ มต้ น หรื อผู้ที่สนใจออกแบบงานด้ าน 3 มิติไปจนถึงการสร้ างรหัส
การควบคุมเครื่ องจักรอัตโนมัติ (G-Code หรื อ NC Code) ด้ วยซอฟตแวร์ ZW3D CAD/CAM
All- in- One ใช้ อ้างอิง หรื อศึกษาด้ วยตนเอง
สิง่ ที่ต้องเตรี ยมสําหรับผู้ที่จะเรี ยนรู้ คือ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบตั ิการ Windows 7
ขึ ้นไป (สําหรับรุ่น 2013, 2015 ยังสามารถใช้ กบั Windows XP SP3 ได้ ) และความรู้พื ้นฐาน
ด้ านการอ่านแบบ เขียนแบบ รวมถึงหน่วยการวัดในการเขียนแบบ
คู่มื อ ได้ แนะนํ า เป็ นภาษาไทยที ละขั้นตอนอย่ า งละเอี ยดทุกครั้ งในการคลิ กเมาส์
ประกอบรู ปภาพทีช่ ดั เจนในบทต้นๆ ตังแต่
้ การติดตังซอฟต์
้ แวร์ ไปจนถึงการออกแบบด้ วยแบบ
ร่ าง (Sketch) - ผิวอิสระ (Free form surface) – รูปร่าง 3 มิติ (3D Modeling) การเขียนแบบ
สัง่ งาน และการสร้ างคําสัง่ ควบคุมเครื่ องจักร (CAM) พร้ อมทัง้ แบบฝึ กหัด และตัวอย่าง
ประกอบในขันพื
้ ้นฐาน
หากผู้เ รี ย นรู้ ต้ อ งการศึก ษาเพิ่ ม เติ ม สามารถติ ด ต่อ หรื อ เข้ า ไปเยี่ ยมชม-สอบถามที่
www.zw3dcadcamthai.com และหวังว่าคู่มือฉบับนี ้จะเป็ นประโยชน์ตอ่ ผู้ที่ต้องการศึกษา แต่
หากมี ข้ อผิ ด พลาดประการใดผู้ จั ด ทํ า ต้ องขออภั ย ไว้ ณ. ที่ นี ้ และโปรดแจ้ งไปที่
support@cadinnovative.co.th เพื่อทําการปรับปรุงแก้ ไขในโอกาสต่อไป

บริ ษัท แคด อินโนเวทีฟ จํากัด

ลิขสิทธิ์คมู่ ือ โดย บริ ษัท เซียน จิ ้น เทรดดิ ้ง จํากัด


สารบัญ
1. ZW3D เบื ้องต้ น ..... 1- 1
ความต้ องการของระบบ (System Requirements) ..... 1- 1
ZW3D แต่ละรุ่น ..... 1- 2
การติดตัง้ (Installation) ..... 1- 4
ส่วนติดต่อผู้ใช้ งาน (User Interface) ..... 1-10
รูปแบบการจัดเก็บและชนิดของข้ อมูล (Multi-Object – File type) ..... 1-11
การช่วยเหลือและคูม่ ือช่วยสอน (Help & Show-n-Tell) ..... 1-13
การใช้ เมาส์และคีย์บอร์ ด (Mouse - Keyboard) ..... 1-15
มุมมองชิ ้นงาน (View, Plane) ..... 1-17
ตังค่
้ าการใช้ งาน (Configuration) ..... 1-19
2. การแลกเปลีย่ นข้ อมูล (Data Exchange) ..... 2- 1
การนําเข้ าข้ อมูลต่างรูปแบบ (Import) ..... 2- 2
การส่งออกข้ อมูลเป็ นรูปแบบอื่น (Export) ..... 2- 5
3. ออกแบบ 3 มิติด้วย รูปร่ าง (Model Feature) ….. 3- 1
4. จัดเก็บไฟล์ข้อมูลแบบ Multi-Object ….. 4- 1
5. ออกแบบ 3 มิติด้วย เส้ นร่ าง ( Sketch) ..... 5- 1
6. แบบสัง่ งานและกําหนดขนาด (2D Sheet) ..... 6- 1
การสัง่ พิมพ์และส่งออก (Printing & Export) ..... 6- 40

 
 

บทที่ 1 ZW3D เบือ้ งต้ น


ความต้ อ งการของระบบ (System Requirements)
ในการที่จะใช้ งาน ZW3D ในการออกแบบให้ ได้ ผลดี และ เกิดประโยชน์ สูงสุดนัน้
จํ า เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ งใช้ อุป กรณ์ ห รื อ ส่ ว นประกอบของเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ที่ เ หมาะสม
นอกเหนือจากความรู้พื ้นฐานด้ านการเขียนแบบ อ่านแบบ ดังนี ้

 Operating System (ระบบปฏิบ ัต กิ าร) Windows XP SP3 ขึ ้นไปจนถึง Windows 8.1


ทัง้ 32 bit และ 64 bit โดยระบบปฏิบตั ิการ 64 bit จะ
ให้ การทํางานที่รวดเร็วกว่า
 Processor (หน่ ว ยประมวลผล) Intel Core 2 Duo
เป็ นอย่างน้ อยขึ ้นไปจนถึง Intel Core i7 หรื อ Intel
XEON ที่เหมาะกับการทํางานด้ าน CAD/CAM
 RAM (หน่ ว ยความจําหลัก ) ควรมีอย่างน้ อย 2GB
สําหรับระบบปฏิบตั ิการ 32 bit และ 4 – 8GB เป็ นอย่างน้ อยสําหรับระบบปฏิบตั ิการ
64 bit
 Video (Graphic Card) หรื อที่เราเรี ยกว่าการ์ ดจอ และควรเป็ นการ์ ดจอแบบแยกซึง่ ใน
ตลาดมีหลักๆ คือยี่ห้อ AMD และ NVIDIA แต่มีหลายรุ่นและหลายราคาตังแต่ ้ พนั กว่า
บาทจนถึงหลายแสนบาท สําหรับ ZW3D แนะนําเป็ น NVIDIA รุ่นที่ขึ ้นต้ นด้ วย GT…,
GTX… จนถึง Quadro… โดยจะต้ องระบุคณ ุ สมบัติเป็ น OpenGL 3.0 เป็ นอย่างตํ่า
สําหรับ ZW3D 2014
 HDD (Hard Disk Drive) หรื ออุปกรณ์เก็บข้ อมูลในการติดตังระบบปฏิ
้ บตั ิการและ
ZW3D ควรมีความจุอย่างน้ อย 80 GB (ZW3D premium ต้ องการความจุ 10 – 30
GB) แต่ในปั จจุบนั นอกจาก HDD แล้ วยังมี SSD (Solid State Drive) ที่ให้ การทํางานที่
เร็ วกว่ามาก แต่ราคาก็แพงกว่า HDD พอสมควร

1‐1 
 
 

ZW3D แต่ ล ะรุ่ น


ZW3D CAD/CAM ซึ่งเป็ นทัง้ CAD สําหรับการออกแบบ และ CAD/CAM ที่ทงั ้
ออกแบบและนําไปแปลงเป็ นรหัส nc code เพื่อสัง่ ผลิต ในปั จจุบนั ประกอบไปด้ วยรุ่นต่างๆ ซึง่
มีความสามารถและคําสัง่ ครอบคลุมที่แตกต่างกัน ดังนี ้

 ZW3D Lite สําหรับงานด้ านออกแบบ เขียนแบบ 3 มิติอย่างเดียว แต่มีความสามารถ


ทั ง้ นํ า เข้ า – ส่ ง ออกไฟล์ น ามสกุ ล IGES,
STEP, NX, CATIA… ตลอดจนทํางาน
ประกอบ (Assembly) และใบสั่ ง งาน (2D
Sheet, Drafting) ได้ เหมาะสําหรับผู้เริ่ ม หรื อ
เปลี่ยนจากการเขียนแบบ 2 มิติ (2D) มาเป็ น
3 มิติ (3D) เพื่อความสะดวกและง่ายกว่า
 ZW3D Standard เพิ่มเติมความสามารถในการออกแบบจากรุ่น Lite โดยสามารถ
ออกแบบงานที่ ซั บ ซ้ อนด้ วยเครื่ อ งมื อ ที่
ง่า ยดายกว่ า เช่ น งานบิ ด งอรู ป ร่ า ง (Flex)
งานออกแบบรู ปร่ างที่แปรผันตามผิวอิสระ
(Morph) การทํ า ภาพเคลื่ อ นไหว
(Animation) เพื่อจําลองการทํางาน และยัง
รองรั บพืน้ ผิวอิสระคุณภาพความละเอียด
สูง คือ Free Form Surface Class A ด้ วย ตลอดจนโมดูลออกแบบเฉพาะ เช่น งาน
โลหะแผ่น (Sheet Metal)
 ZW3D Professional ยกระดับความสามารถจากรุ่น Standard โดยเพิ่มโมดูล Mold
เพื่อการออกแบบแม่พลาสติกเข้ ามาอํานวยความสะดวก รวดเร็ ว แม่นยํา และง่ายดาย
ในการออกแบบแม่พิมพ์ ซึง่ มีชิ ้นส่วนมาตรฐาน
และ Mold Base เตรี ยมให้ เลือกใช้ พร้ อมทัง้
คํ า สั่ง ในการแบ่ง แม่ พิ ม พ์ ต ลอดจนการสร้ าง
Electrode ให้ อตั โนมัติอีกด้ วย

1‐2 
 
 

 ZW3D Premium เป็ นรุ่ นสูงสุดโดยประกอบไปด้ วย CAD และ CAM ที่มีคําสัง่ ทุก
ฟั งก์ชนั ทังการออกแบบที
้ ่ซบั ซ้ อนทางด้ าน CAD และการทํา CAM 2 - 3 แกนถึงการ
เพิ่ม Add-ons 5 แกน

 ZW3D 2-axis Machining สําหรับงานด้ าน


CAM ซึง่ ยังคงมี CAD เช่นเดียวกันกับรุ่น Lite
อี กด้ วย ทัง้ ยัง มี ฟัง ก์ ชัน ในซ่อมแซมผิ ว (Heal)
ในกรณีที่รับไฟล์ข้อมูลต่างรู ปแบบและเสียหาย
เข้ ามาก็ยังสามารถทํางานได้ โดยในรุ่ น 2-Axis (2 แกน) นีป้ ระกอบไปด้ วย CAM
สําหรับงานกลึง (Turning) และ CAM สําหรับงานกัด (Milling) 2 – 2.5 แกน ทังงาน

เจาะรู (Drill, Hole Making) และการคํานวณให้ แบบอัตโนมัติ (Tactics)

 ZW3D 3-axis Machining เช่นเดียวกันกับ 2-Axis แต่เพิ่ม


แกนที่ 3 เข้ ามาพร้ อมทังการกั
้ ดความเร็ วสูง (HSM) สามารถ
กัดได้ ทงั ้ ผิว งาน 3 มิติและจากงาน Scan (STL File)

 ZW3D Multi-axis Machining เป็ นส่วนที่เพิ่มเติมแกนที่ 4 - 5


( Add-on) สําหรับ Premium และ 3-axis) สําหรับงานที่ต้องการความแม่นยําและ
ซับซ้ อนในการผลิตจากงานที่ออกแบบมาซับซ้ อน

1‐3 
 
 

สําหรับรายละเอียดและการทํางานเพิ่มเติมในแต่ละรุ่นสามารถดูได้ จากเว็บไซต์ของบริ ษัท คือ


http://www.zwsoft.com/zw3d/version-comparison/

การติด ตัง้ (Installation)


ในการติดตังและใช้
้ งาน ZW3D นัน้ สามารถทําได้ ทงแบบั้ Stand-alone และ Network
แต่ในขันตอนการติ
้ ดตัง้ (Installation) นันทํ
้ าเหมือนกันทัง้ 2 แบบต่างกันเฉพาะการลงทะเบียน
เท่านัน้ (Activate Registration) และในคู่มือนี ้เป็ นการแนะนํา แบบ Stand-alone คือเป็ นการ
ใช้ เครื่ องเดียว ตามขันตอนดั
้ งนี ้
1.ใช้ สทิ ธิ์ของผู้ดแู ลระบบ (Administrator) ในการติดตัง้
2.ปิ ดระบบความปลอดภัย (anti-virus) และ Firewall ทังหมด
้ โดยสามารถเปิ ดอีกครัง้
หลังจากการติดตังเสร็
้ จ
3.ใส่แผ่น DVD เข้ าไปในเครื่ อง เมื่อเครื่ องคอมพิวเตอร์ อ่านแล้ วจะมีหน้ าจอแสดงขึ ้นมาโดย
อัตโนมัติ

1‐4 
 
 

4.เลือก “Install ZW3D”

5.เลือกรุ่นของระบบปฏิบตั ิการ ระหว่าง “32 bit หรื อ 64 bit”

1‐5 
 
 

6.กดปุ่ ม “Install”

7.เลือกรุ่นที่ต้องการติดตัง้ เช่น “Standard” หรื อ “Premium” จากนันกด


้ “Next”

1‐6 
 
 

8.กดเลือกเพื่อยอมรับข้ อตกลงที่ช่อง “I accept …” และกด “Next”

9.กดปุ่ ม “Change” เพื่อเปลีย่ นที่อยู่ในการติดตัง้ ZW3D หรื อใช้ ค่ามาตรฐานที่กําหนดใน


Drive C:\Program File\ZWSOFT\ZW3D …แล้ วกด “Next”

1‐7 
 
 

10.ซอฟต์ แ วร์ ทํ า การติ ด ตั ง้ อั ต โนมั ติ จ นเสร็ จ (อ าจใ ช้ เ วล า 5 – 45 น าที ต าม


ความสามารถของเครื่ อ งคอมพิวเตอร์ ท่ ตี ดิ ตัง้ )

11.เมื่อติดตังเสร็
้ จสมบูรณ์ หน้ าจอจะแสดงดังภาพด้ านล่างอัตโนมัติ แล้ วกด “Finish” เพื่อ
เสร็ จสิ ้นการติดตัง้

1‐8 
 
 

12.เมื่อเปิ ดการใช้ งานครัง้ แรก จะมีการให้ เลือกดังภาพด้ านล่าง ให้ เลือก “Evaluation” เพื่อ
ใช้ งานแบบทดทดลอง 30 วัน หรื อติดต่อผู้แทนจําหน่ายเพื่อแนะนําการ Activate License

1‐9 
 
 

ส่ วนติด ต่ อ ผู้ใ ช้ งาน (User Interface)


เมื่อเปิ ด ZW3D ขึ ้นมาจะพบกับส่วนประกอบต่างๆ เรี ยกว่าส่วนติดต่อผู้ใช้ งาน หรื อ
หน้ าจอ (UI, User Interface) ของ ZW3D เป็ นแบบ Ribbon คือสามารถยืด-หดได้ โดยมี
ส่วนประกอบแต่ละส่วนดังนี ้

 Quick Access Toolbar (แถบเครื่ องมือด่วน) มีคําสัง่ ต่างๆ ที่ใช้ งานบ่อยแต่เป็ นการ
เลือกแบบเก่า คืออ่านจากชื่อคําสัง่
 Title Bar (แถบชื่อ) เป็ นการแสดงชื่อของไฟล์ – ประเภทของไฟล์ที่เปิ ดอยูต่ ามลําดับ)
 Ribbon Tools (แถบเครื่ องมือคําสัง่ ฟั งก์ชนั ต่างๆ ซึง่ แถบนี ้สามารถยืดหดได้ เพื่อขยาย
พื ้นที่การทํางานของหน้ าจอ)
 Document Aware Toolbar (แถบเครื่ องมือที่ต้องใช้ บ่อย) เป็ นแถบเครื่ องมือที่ใช้
ประกอบการแสดงผลในรูปแบบต่างๆ ซึง่ ใช้ บอ่ ยมากกับลักษณะงาน 3 มิติ

1‐10 
 
 

 Managers (แถบการจัดการ) ประกอบไปด้ วย ประวัติการทํางานในแต่ละขันตอน ้ –


ลําดับการประกอบชิ ้นส่วน – ลักษณะมุมมอง – ลักษณะการแสดงชิ ้นงาน
 Work Areas (พื ้นที่ในการทํางาน) สําหรับใช้ เป็ นพื ้นที่ในการทํางาน ซึ่งสามารถเพิ่ม
ขยายได้ โดยการปิ ด แถบ Manager หรื อหด Ribbon Tools ได้
 Prompt Line (แถบช่วยแนะนํา) เพื่อช่วยแนะนําการทํางานหรื อเลือกคําสัง่ ในขันตอน้
ต่อไป
 Input Window (หน้ าต่างป้อนข้ อมูล) สําหรับอ่านหรื อป้อนข้ อมูลตําแหน่งในบางกรณี

รู ป แบบการจัด เก็บ และชนิด ของข้ อ มูล (Multi-Object – File type)


การจัดเก็บไฟล์ข้อมูลงานของ ZW3D นันเรี ้ ยกว่า “Multi-Object” คือการเก็บไฟล์หลาย
ประเภท เช่น ไฟล์ชิ ้นงาน 3 มิติ (Part) ไฟล์ชิ ้นงานประกอบกัน (Assembly) ไฟล์แบบสัง่ งาน
(2D Sheet, Drafting) ไฟล์โปรแกรมการผลิต (CAM) ไฟล์เส้ นร่าง (Sketch) ตลอดจนไฟล์
รูปแบบแผ่นกระดาษมาตรฐาน (Drawing Template) ไว้ ด้วยกัน

1‐11 
 
 

และเมื่ อ จั ด เก็ บ ไว้ ด้ วยกั น แล้ ว เราจะเรี ย กว่ า เป็ น “Project” คื อ มี ทุ ก อย่ า งและมี
ความสัมพัน ธ์ กัน แตกต่างกันกับรู ปแบบไฟล์ ของซอฟต์ แวร์ อื่นตรงที่ แยกไฟล์ข้อมูล แต่ละ
ประเภทแล้ วเก็ บไว้ ในแฟ้ ม ( Folder) เดียวกัน แต่ ZW3D เก็บไว้ ในไฟล์เดียวกัน
(สามารถแยกออกในภายหลังได้ )

1‐12 
 
 

การช่ วยเหลือ และคู่ม ือ ช่ วยสอน (Help & Show-n-Tell)


เพื่ อความง่า ยและสะดวกต่อการเรี ย นรู้ ด้ วยตัวเองอย่างรวดเร็ วในเวลาอัน สัน้ หรื อ
ตัวการเข้ าถึงทุกคําสัง่ บน ZW3D อย่างละเอียด ก็มีหลายวิธีการในการเข้ าถึงสื่อหรื อการ
ช่วยเหลือ (Help) แบบต่างๆ เพื่อความสะดวก ถนัด ตามพื ้นฐานของผู้เรี ยนรู้แต่ละท่าน เช่น
การกด F1 เหมือนซอฟต์แวร์ ทวั่ ไปหรื อสือ่ รูปแบบเฉพาะของ ZW3D คือ Show-n-Tell

 F1 เมื่อ ZW3D ทํางานคุณสามารถใช้ เมนูช่วยเหลือ (Help) ในการเข้ าถึงบทความใน


การอธิบายความหมายจํานวนมาก เพียงแค่กดปุ่ ม F1 และจากเมนูช่วยเหลือ (Help)
คุณยังสามารถเรี ยกดูข้อมูลเกี่ยวกับฟั งก์ชนั่ คีย์, ปุ่ มควบคุมและปุ่ มอื่น ๆ ได้
 Quick Tips จะทํางานเมื่อเลื่อน Mouse Pointer ไ ป ชี ้แ ล ะ ค้ า ง ไ ว้ ที่ คํ า สั่ ง ที่
ต้ องการใช้ งานสักครู่ และหากต้ องการข้ อมูลเพิ่มก็สามารถกด F1 เพื่อดูคําอธิบาย
เพิ่มเติมได้
 Show – n – Tell คือเครื่ องมือหรื อสื่อสําหรับการเรี ยนรู้ด้วยตัวเองแบบ 3 มิติ โดย
สามารถอ่านและทําตามไปทีละขัน้ ทีละคําสัง่ บน ZW3D แบบ E-Book (หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์) ได้ ทนั ที ทังยั
้ งสามารถสร้ างขึ ้นเองได้ เพิ่มเติมอีกด้ วย

1‐13 
 
 

สําหรับการใช้ Show-n-Tell นันเพี


้ ยงแค่กดลูกศรเพื่อเลื่อนเดินหน้ าหรื อถอยหลัง
ไปยังบทที่ต้องการและทําตามตัวอย่างพร้ อมทังคํ
้ าอธิบายบนหน้ าจอเท่านัน้

1‐14 
 
 

การใช้ เ มาส์ แ ละคีย์ บ อร์ ด (Mouse - Keyboard)


การป้อนข้ อมูลสําหรับ ZW3D นันก็
้ เหมือนกับการใช้ ซอฟต์แวร์ ทวั่ ไปในปั จจุบนั คือการ
ใช้ เมาส์และแป้นพิมพ์ (Mouse & Keyboard) แต่ก็มีข้อแตกต่างกันในเรื่ องปุ่ มควบคุมบางปุ่ ม
หรื อหน้ าที่ในการสัง่ การ ตลอดจนขันตอนในการเลื
้ อกหรื อทํางานดังนี ้

1‐15 
 
 

• คลิก ปุ่ มซ้ าย 1 ครั ง้ บนวัต ถุท่ ตี ้ อ งการ – เป็ นการเลือกหรื อเพื่อเพิ่มเข้ าไปใน
รายการที่ต้องการเลือกใช้
• คลิก ปุ่ มซ้ าย 2 ครั ง้ (ดับ เบิล คลิก ) - เป็ นการเลือกและเข้ าไปสูค่ ําสัง่ ที่จะใช้
งานโดยอัตโนมัติ
• คลิก ปุ่ มซ้ ายค้ างไว้ + กดปุ่ ม Ctrl พร้ อ มกับ เลือ กวัต ถุท่ เี ลือ กไว้ – เป็ นการ
ยกเลิกการเลือกวัตถุที่ได้ มีการเลือกไว้ แล้ ว
• คลิก ปุ่ มซ้ ายค้ างไว้ + กดปุ่ ม Shift พร้ อ มกับ เลือ กเส้ น ต่ อ เนื่อ ง – เป็ นการ
เลือกเส้ นที่มีความต่อเนื่องกันในครัง้ เดียว
• คลิก ปุ่ มกลาง 1 ครั ง้ - เป็ นการยืนยันคําสัง่ ที่เลือกจากการใช้ คลิก-ซ้ าย ครัง้
เดียว เพื่อเลือก แล้ วแสดงเมนูหรื อตัวเลือกเพื่อทํางานในขันตอนต่
้ อไป
• คลิก ปุ่ มกลางค้ างไว้ แล้ ว ลากเมาส์ – เป็ นการลากชิน้ งาน หรื อลากเลื่อน
หน้ าจอไปในทิศทางที่ต้องการ
• เลื่อ น-หมุน ปุ่ มกลางขึน้ -ลง – เป็ นการย่อ-ขยาย (Zoom) ชิ ้นงานเข้ า-ออกเพื่อ
ความสะดวกในการดูรายละเอียดงานงานที่เล็ก-ใหญ่
• คลิก ปุ่ มขวา 1 ครั ง้ + จุด หรื อ วัต ถุท่ แี สดงผล (highlighted) – เพื่อเลือก
คําสัง่ ต่างๆที่แสดงขึ ้นและพร้ อมที่จะทํางานได้ อย่างเหมาะสมกับวัตถุที่เลือกใน
ขันตอนต่
้ อไป
• คลิก ปุ่ มขวาค้ างไว้ แ ล้ ว ขยับ -หมุน เมาส์ - เพื่อเป็ นการหมุน (Rotate) ชิ ้นงาน
ตามต้ องการ
• คลิก ปุ่ มขวา 1 ครั ง้ (บนพืน้ ที่ว่างหน้ าจอที่ท าํ งาน (Working Areas)) – เพื่อ
แสดงคําสัง่ ต่างๆในการทํางานที่ถกู ตังไว้ ้ เช่น insert Sketch/ Insert Datum…

1‐16 
 
 

มุม มองชิน้ งาน (View, Plane)


ในการทํางานออกแบบด้ วยซอฟต์แวร์ ด้าน 3 มิติ (3D) จําเป็ นจะต้ องเข้ าใจในเรื่ องของ
มุมมอง ระนาบและจุดอ้ างอิง เนื่องจากมีความแตกต่างกับงานด้ าน 2 มิติ (2D) ที่ใช้ เพียงแค่
ระนาบ X, Y หรื ออาจจะใช้ แกน Z บ้ างในบางครัง้ ซึง่ จะให้ ได้ เฉพาะ ขนาด และ พื ้นที่ แต่ 3D จะ
สามารถบอกปริ มาตรและนํ ้าหนักได้

ในการออกแบบด้ าน 3D นันค่
้ อนข้ างง่ายกว่า 2D เนื่องจากการได้ เห็นรูปร่างเสมือนจริ งทันที

1‐17 
 
 

อย่างไรก็ตามหลังจากการออกแบบ 3D แล้ วก็จะนําไปสู่การผลิตซึ่งใช้ เครื่ องจักร


อัตโนมัติ (CNC Machine) ซึ่งส่วนใหญ่ทํางานในระบบ 3 แกน แต่วิ่งหรื อเดินทางในระนาบ
(Plane) เช่น XY, XZ, YX ดังนันเพื ้ ่อให้ การออกแบบสอดคล้ องและง่ายต่อการทํางานร่วมกัน
การสือ่ สารกัน จึงจําเป็ นต้ องทํางานไปในมาตรฐานหรื อทิศทางเดียวกัน โดย ZW3D รองรับและ
มีขนตอนการเลื
ั้ อกใช้ ที่ง่าย ดังนี ้
• สามารถเลือกได้ จาก แถบ Document Aware Toolbar

• สามารถใช้ คีย์ลดั (Hot key) จากแป้นพิมพ์ (Keyboard) เช่น กด Ctrl และ I


พร้ อมกัน จะแสดงภาพแบบ ISO Metric

1‐18 
 
 

ตัง้ ค่ าการใช้ งาน (Configuration)


การตัง้ ค่า การใช้ ง าน หรื อ องค์ ป ระกอบการใช้ ง านของ ZW3D สามารถปรั บ แต่ง ได้
เพื่อให้ เหมาะกับการใช้ งานในแต่ละคน แต่ละงาน หรื อมาตรฐานต่างๆ ซึง่ ZW3D ได้ กําหนดค่า
เริ่ มต้ นการใช้ งาน (Default) มาให้ เป็ นค่าโดยทัว่ ไป แต่หากต้ องการปรับแต่งก็สามารถทําได้
โดย คลิก เลือ ก ที่รูป เฟื อง ด้ านบนขอบซ้ ายของหน้ าจอ (ขวามือ) ก็จะมีหน้ าจอแสดงดังภาพ
ด้ านล่าง

ด้ านซ้ ายมือก็จะมีแถบองค์ประกอบด้ านต่างๆ ดังนี ้

1‐19 
 
 

• General : สําหรับการตังค่
้ าองค์ประกอบทัว่ ไป เช่น Default linear units
(ค่าเริ่ มต้ นของหน่วยวัด mm-in)
• Part : สําหรับการตังค่ ้ าองค์ประกอบของชิ ้นส่วนงาน (Model Part)
จนถึงงานประกอบ (Assembly)
• 2D : สําหรับการตังค่
้ าองค์ประกอบของงานวาดเส้ นร่าง (Sketch) –
ใบสัง่ งาน (2D Sheet, Drafting)
• Color : สําหรับการตังค่ ้ าองค์ประกอบของการแสดงสีของวัตถุต่างๆ
เพื่ อ บอกความหมายหรื อ แสดงความแตกต่ า งของวัต ถุ เช่ น สี ข องเส้ น ร่ า ง
(Sketch) และ เส้ นบอกขนาด (Dimension, Annotation)
• Background : สําหรั บการตัง้ ค่าองค์ ประกอบของการแสดงพืน้ หลังของ
จอแสดงผลซอฟต์แวร์ โดยการเปลี่ยนสีได้ 4 ส่วน หรื อแม้ แต่ใส่รูปภาพเป็ นลาย
นํ ้า
• Display : สําหรั บการตัง้ ค่าองค์ ประกอบของแสดงผลค่าทางด้ าน
คณิ ต ศาสตร์ ห รื อ ตัว เลขความละเอี ย ดของวัต ถุ ซึ่ง สามารถปรั บ ให้ ห ยาบ-
ละเอียดให้ เหมาะสมกับงานแต่ละประเภทได้
• Files : สําหรับการตังค่ ้ าองค์ประกอบฟั งก์ชนั่ การใช้ งาน เช่น การเปิ ด
ใช้ ง านการจัด การสํา รองข้ อ มูล อัต โนมัติ นอกจากนี ค้ ุณ ยัง สามารถระบุค่ า
เริ่ มต้ นที่เกี่ยวข้ องกับไฟล์ต่างๆ เช่น วัตถุแม่แบบ (Template) ชื่อไฟล์ ZW3D
และเริ่ มต้ นสําหรับการเปิ ดไฟล์ข้อมูล
• CAM : สําหรับการตังค่้ าองค์ประกอบของ CAM โดยทัว่ ไป เช่น การ
เปิ ดไฟล์แม่แบบในการสร้ าง CAM หรื อ แม่แบบและค่าคุณสมบัติต่างๆของ
เครื่ องมือตัด
• User : สําหรับการตัง้ ค่าองค์ประกอบของผู้ใช้ งานเพื่อให้ แสดงใน
รายงานต่างๆ
• PDM : การตังค่
้ าเหล่านี ้จะถูกใช้ โดยทังการกํ
้ าหนดค่า Smart Team
PDM และโดย ZW3D PDM

1‐20 
 
 

บทที่ 2 การแลกเปลี่ย นข้ อ มูล (Data Exchange)


ในการออกแบบ 3D นันสามารถทํ ้ าได้ หลายรู ปแบบตามลักษณะของการทํางาน เช่น
การออกแบบใหม่โดยเขียนใหม่ทัง้ หมด เริ่ มจากการออกแบบเส้ นร่ าง (Sketch) แล้ วยืด
(Extrude) เป็ น 3D หรื อการเขียนกําหนดการขึ ้นรูป 3D ตามรูปแบบมาตรฐาน (Feature) แล้ ว
ทําการตัด-ต่อ-รวม โดยใช้ รูปร่ างที่มีหรื อการวาดเส้ นร่ าง (Sketch) ตามระนาบ (Plane) เข้ ามา
ช่วยอีกทางเลือก
นอกจากนี ้ยังปฏิเสธไม่ได้ ว่าในปั จจุบนั ซอฟต์แวร์ ทางด้ าน CAD/CAM มีมากมายหลาย
ยี่ห้ อ ให้ เ ลือกใช้ แตกต่า งกันไปตามราคาและลักษณะการใช้ ง านซึ่ง ล้ วนแล้ ว แต่มีข้ อดี แ ละ
ข้ อ เด่น ที่ แ ตกต่า งกัน ไป ขึน้ อยู่อุต สาหกรรมที่ เลือกใช้ แต่ในบางครั ง้ ที่ เ ราเป็ นผู้รับจ้ า งช่ ว ง
(Supplier) เพื่อมาทํางานต่อ เช่น โรงกลึง โรงกัด (Machining Shop) ขนาดเล็ก-กลาง โดย
การรับความต้ องการของลูกค้ า เช่น
 รับไฟล์งานมาเพื่อ กลึง-กัด ตามแบบอย่างเดียว (ลูกค้ าให้ ไฟล์ 3D และใบสัง่ งาน 2D
Sheet)
 รับไฟล์งาน 2D – 3D มาเพื่อทํางานต่อ เช่น ออกแบบแม่พิมพ์ – ออกแบบหีบห่อ
(Packaging) – ออกแบบอุปกรณ์จบั ยึด (Jig & Fixture) – เครื่ องจักรสําหรับตรวจสอบ
(Machine - Automation Design)
เป็ น การยากที่ จ ะให้ ลูก ค้ า มาใช้ ซ อฟต์ แ วร์ เ ดี ย วกัน กับ เรา หรื อ เราไปใช้ ซ อฟต์ แ วร์ ใ ห้
เหมื อ นกับลูกค้ า ทุก ราย ทุก รุ่ น
ซึ่ง มี ก ารปรั บ รุ่ น ทุกปี นั่นทํ า ให้
เกิ ดระบบแลกเปลี่ยนข้ อมูลกัน
ขึ ้น (Data Exchange) โดย
กํ า หนดเป็ น รู ป แบบมาตรฐาน
กลางขึ น้ มาใช้ ร่ วมกั น เช่ น
.IGES, .STEP, .DXF แต่
บางครัง้ เราก็จําเป็ นจะต้ องทําทังนํ ้ าเข้ า และส่งออก (Import & Export) ซึง่ ZW3D สามารถทํา
ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

2‐1 
 
 

การนําเข้ าข้ อ มูล ต่ างรู ป แบบ (Import)


ในการนําเข้ าไฟล์ข้อมูลของ ZW3D นันสามารถทํ
้ าได้ 3 แบบคือ
1. Open (เปิ ด)
2. Import (นําเข้ า)
3. Drag & Drop (ลากแล้ ววาง)

 Open : คือการเปิ ดแบบธรรมดา ก็สามารถเปิ ดได้ แต่ค่า Parameter ต่างๆ จะถูก


กําหนดตามค่า Configuration ทันที และเกิดที่จะเปิ ดจะต้ องเลือกรูปแบบนามสกุลที่จะ
เปิ ด (หากไม่เปลีย่ นจะไม่สามารถมองเห็นได้ )

2‐2 
 
 

 Import : คือการเปิ ดที่เราสามารถเลือก กําหนด Parameter ต่างๆ ในการนําเข้ าก่อนได้


ซึง่ ไม่ต้องเปลีย่ นนามสกุลของไฟล์ก็สามารถมองเห็นทังหมดได้

 Drag & Drop : เหมือนกันกับการ Import แต่การเลือกจะง่ายกว่าคือ เพียงแค่ลากไฟล์


ที่ต้องการจากหน้ าต่างมาวางไว้ ที่หน้ าต่างของ ZW3D ก็สามารถทําได้ เลย

2‐3 
 
 

ชนิด ของไฟล์ ท่ ี ZW3D สามารถรองรับ และนําเข้ าได้

 Image Formats (ไฟล์รูปภาพต่างๆ)


 DWG : *.dwg
 DXF : *.dxf
 IGES : *.igs, *.iges
 Neutral : *.z3n, *.vxn
 Parasolid : *.x_t, *.x_b, *.xmt_txt, *.xmt_bin
 PS2(PARTsolutions 2D file : *.ps2
 PS3 (PARTsolutions 3D file : *.ps3
 STEP : *.stp, *.step
 STL : *.stl
 VDA : *.vda
 VRML : *.wrl
 ACIS : *.sat, *.sab, *asat, *asab
 CATIA V4 : *.cat, *.model, *.exp
 CATIA V5 : *.CATPart, *.CATProduct
 Inventor : *.ipt, *.iam
 NX – UG : *.prt
 ProE : *.prt, *.prt.*, *.asm, *.asm*
 SolidEdge : *.part, *.asm.*, *.psm
 SolidWorks : *.sldprt, *.sldasm
 JT : *.jt

2‐4 
 
 

การส่ งออกข้ อ มูล เป็ นรู ป แบบอื่น (Export)


นอกเหนือจากการนําเข้ าแล้ ว ZW3D ก็ยงั สามารถส่งออกเป็ นไฟล์กลาง
ตามมาตรฐานต่างๆได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ หรื อแม้ การส่งออกเป็ นไฟล์รูปภาพ ไฟล์เอกสาร
เช่น .PDF ซึ่งสามารถแสดงเป็ นรู ปแบบ E-Book 3 มิติเพื่อหมุนดูมมุ มองต่างๆได้ รวมถึง
นามสกุลที่สาํ คัญของลูกค้ าที่นิยมใช้ คือ CATIA
ขันตอนในการส่
้ งออก (Export) นันเหมื
้ อนกันกับการ Save as ทัว่ ไป ซึง่ จะเลือกจาก
คําสัง่ Export หรื อ Save as ก็ได้ แต่อาจแตกต่างกันในเรื่ องของ Parameter ตัวเลือกของแต่ละ
รูปแบบเท่านัน้
ชนิด ของไฟล์ ท่ ี ZW3D สามารถส่ งออกได้
 IGES : *.igs
 STEP : *.stp, *.step
 DWG/DXF : *.dwg, *.dxf
 Parasolid Text : *.x_t
 Parasolid Binary : *.x_b
 VDA : *.vda
 ACIS : *.sat, *sab
 STL : *.stl
 VRML : *.wrl
 Neutral : *.z3n, *.vxn
 HTML : *.html, *.htm
 PDF : *.pdf
 Image : *.bmp, *.gif, *.jpg, *.jpeg, *.png, *.tif, *.tiff
 CATIA V4 : *.model
 CATIA V5 PART : *.CATPart
 CATIA V5 ASSEMBLY : *.CATProduct
 JT : *.jt

2‐5 
 
 

บทที่ 3 ออกแบบงาน 3 มิต ิ ด้ วยรู ป ร่ าง (Model Feature)


ในคู่มือนี ้เป็ นการเริ่ มต้ นออกแบบอย่างง่ายแต่ละเอียดทีละขันตอนใน

การสร้ างแบบ 3D ตังแต่ ้ เริ่ มต้ นการทํางาน – การใช้ คําสัง่ แต่ละหมวด – การ
ปรั บแต่ง - การประยุกต์ ใช้ คํ าสัง่ จนถึงการออกใบสัง่ งาน (2D Sheet,
Drafting) เพื่อให้ เข้ าใจขันตอน
้ กระบวนการทํางานของ ZW3D ว่ามีอะไรบ้ าง
การขึน้ รู ป 3 มิต ิ ด้ ว ย คุณสมบัต ขิ องรู ป ร่ าง (Model Feature)
การขึน้ รู ปหรื อการสร้ างชิน้ งาน 3D ด้ วย Feature
หมายถึ ง การสร้ างด้ ว ยรู ป ร่ า งมาตรฐานของรู ป ร่ า งทาง
คณิ ต ศาสตร์ แล้ วมี ก ารปรั บ ตั ด แต่ ง ด้ วยความสั ม พั น ธ์
พื ้นฐานง่ายๆ ให้ เกิดรู ปร่ างที่ต้องการ อาศัยความเข้ าใจตาม
คุณสมบัติและความสัมพันธ์ ที่มี และไม่ซบั ซ้ อนดังตัวอย่าง
ด้ านล่าง โดยการอธิบายประกอบรูปภาพทีละขันตอน ้

โดยการเริ่ มต้ นในบทนี ้ จะอธิบายวิธีการทํางาน การใช้ งานทีละขัน้ ตอนอย่างละเอียด


ทังคํ
้ าอธิบายและรูปภาพประกอบ เพื่อเป็ นพื ้นฐานและให้ ท่านสามารถเริ่ มใช้ ZW3D ได้ ง่าย
สามารถที่จะหาคําสัง่ และเข้ าใจรู ปแบบการทํ างานของซอฟต์ แวร์ ได้ เร็ วขึน้ ส่วนในขัน้ ตอน
Advance หรื อการประยุกต์ใช้ ขนสู
ั ้ งในแต่ละคําสัง่ อย่างละเอียดจะกล่าวในบทต่อไป

3‐1 
 
 

ออกแบบงานตามตัวอย่างด้ วย Model Feature เริ่ มต้ นด้ วยการเปิ ดการใช้ งาน ZW3D
ผ่านไอคอนหน้ าจอหลังจากที่ติดตังเสร็
้ จ

1. เปิ ดโปรแกรม ZW3D จากไอคอนบนหน้ าจอโดยการ ดับเบิลคลิก

2. คลิก “ New” เพื่อเริ่ มสร้ างไฟล์งานใหม่

3‐2 
 
 

3. ตังชื
้ ่อไฟล์งานเป็ น “Model Feature”

4. คลิก กดปุ่ ม [ OK ] เพื่อยืนยัน

3‐3 
 
 

5. เริ่ มสร้ างรูป 3D จากแถบ “Shape” ในช่อง “Basic Shape” แล้ วเลือกตัวรูปร่างพื ้นฐาน

6. เลือกรูปทรงกลม ( Sphere)

3‐4 
 
 

7. กําหนดระบุตําแหน่ง จุดที่จะวาง

8. กําหนดขนาดของรูปร่าง

3‐5 
 
 

9. เลือกรูปแบบการกําหนดขนาดเป็ นรัศมี หรื อ เส้ นผ่านศูนย์กลาง ( R, n )

10. กําหนดขนาด R 50.0 mm. ตามแบบตัวอย่าง

3‐6 
 
 

11. คลิกเครื่ องหมาย  เพื่อยืนยันและ จบคําสัง่ หรื อคลิกที่ปมุ่ กลาง (ลูกกลิ ้ง) ของเมาส์

12. กลับไปเลือกชุดคําสัง่ จากที่ที่เดิม คือแถบ Shape – Basic Shape

3‐7 
 
 

13. เลือกรูปทรงกระบอก (Cylinder)

14. เปลี่ยนมุมมองภาพจากแบบ “Shade” เป็ น “Wireframe” เพื่อความสะดวกในการดู


และกําหนดตําแหน่ง

3‐8 
 
 

15. กําหนดจุด ตําแหน่งในการวาง คือ “0” เหมือนกันกับรูปร่ างทรงกลม โดยพิมพ์ “0” แล้ ว
กดปุ่ ม Enter เพื่อยืนยัน

16. กําหนดขนาดของทรงกระบอก โดยเปลี่ยนจากรัศมีเป็ นแบบเส้ นผ่านศูนย์กลางตามที่


แบบกําหนด

3‐9 
 
 

17. กําหนดขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางทรงกระบอกเป็ น 66.0 mm. ตามแบบ

18. เลือ่ นเมาส์ไปคลิกวางที่แถบ Align plane เพื่อกําหนดระนาบอ้ างอิงและทิศทาง

3‐10 
 
 

19. เลือกระนาบ YZ จากสัญลักษณ์  หรื อเลื่อนเมาส์ไปเลือกจาก Plane มาตรฐานที่


กลางจอ

20. เลือ่ นเมาส์ไปซ้ าย-ขวา หรื อทิศทางที่ต้องการยืดรูปร่างออกไป

3‐11 
 
 

21. ใส่ขนาดความยาว (Length) ตามแบบกําหนด คือยาว 100.0 mm.

22. เลือกรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างจาก Boolean เป็ นแบบที่สอง คือ Add เพื่อ


เชื่อมต่อรูปร่าง (Shape) เข้ าด้ วยกันทันที (ไม่ต้องเลือกคําสัง่ Combine ทีหลัง)

3‐12 
 
 

23. คลิกเครื่ องหมาย  เพื่อจบคําสัง่ (สามารถกดปุ่ มกลางของเมาส์เพื่อความสะดวกได้ )

24. เปลี่ยนมุมมองจาก Wireframe เป็ น Shade จากแถบ Document Aware Toolbar เพื่อ
ดูผลแบบ 3 มิติ

3‐13 
 
 

25. กลับมาเลือกกลุม่ คําสัง่ การสร้ างรูปร่ าง จากแถบ Shape – Basic Shape อีกครัง้

26. เลือกรูปทรงกรวย (Cone)

3‐14 
 
 

27. เลื่ อ นเมาส์ ไ ปบนพื น้ ที่ ว่ า งหน้ า จอแล้ ว คลิ ก ขวา 1 ครั ง้ เพื่ อ เรี ย กเมนูคํ า สั่ง ช่ ว ยวาง
ตําแหน่ง Snap

28. เลือกตัวช่วยจับตําแหน่งอัตโนมัติ (Snap) เป็ น Center of Curvature คือจุดศูนย์กลาง


ของเส้ นโค้ ง

3‐15 
 
 

29. เลื่อนเมาส์ไปชี ้ที่ขอบชิ ้นงาน หรื อเส้ นขอบที่ต้องการ เส้ นที่เราเลือกจะแสดงผลโดยการ


เปลีย่ นสีทนั ที และรูปร่างที่เรากําลังจะสร้ างก็จะวิ่งเข้ าไปอยูใ่ นจุดทันที

30. เลือ่ นเมาส์มาคลิกที่ Align plane เพื่อกําหนดทิศทาง หรื อ ระนาบในการวางรูปร่ างที่เรา


จะสร้ างขึ ้นใหม่

3‐16 
 
 

31. เลือ่ นเมาส์ไปแตะและคลิกที่ผิว ที่ต้องการกําหนดเป็ นระนาบ

32. หลังจากคลิกเลือกระนาบแล้ ว คลิกเลือกที่ตวั เลขบอกขนาดของรู ปทรง หรื อพิมพ์จาก


Diameter ด้ านซ้ ายมือตามแบบ คือ 66.0 mm.

3‐17 
 
 

33. กําหนดความยาว (Length) ตามแบบ แต่เนื่องจากการกําหนดขนาดในแบบเป็ น


ลักษณะต่อเนื่อง จะต้ องคํานวณเพื่อให้ ได้ ระยะเฉพาะรู ปทรงกรวยเท่านัน้ ซึ่ง ZW3D
รองรับการคํานวณค่าดังกล่าว จึงสามารถพิมพ์ค่าตัวเลข 145 – 100 ได้ ทันที (ดูแบบ
ตัวอย่างประกอบ)

34. กําหนดขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางด้ านเล็ก คือ 40.0 mm.

3‐18 
 
 

35. กําหนดความสัมพันธ์ของรูปร่าง (Shape) จาก Boolean เป็ น Add (เชื่อมต่อ)

36. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

3‐19 
 
 

37. เลือกรูปทรงกระบอก (Cylinder) จากแถบ Shape – Basic Shape

38. คลิก Align plane เพื่อกําหนดระนาบอ้ างอิง

3‐20 
 
 

39. คลิกเลือกที่ผิวด้ านหน้ าของกรวย เพื่อเลือกเป็ นระนาบ

40. คลิกขวาบนพื ้นที่วา่ งหน้ าจอ เพื่อเรี ยกเมนูคําสัง่ Snap ช่วยในการวางตําแหน่ง

3‐21 
 
 

41. เลือก Center of Curvature (จุดศูนย์กลางของส่วนโค้ ง)

42. คลิกเลือกเส้ นมุมขอบด้ านนอกของกรวย

3‐22 
 
 

43. กําหนดขนาดตามแบบ n 40.0 mm.

44. กําหนดความยาว (Length) โดยพิมพ์ 205 – 145 ได้ เลย (ดูแบบตัวอย่างประกอบ)

3‐23 
 
 

45. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

46. เลือกคําสัง่ ชุดเดิมจาก Shape – Basic Shape

3‐24 
 
 

47. เลือกรูปทรงสีเ่ หลีย่ ม (Block)

48. เปลีย่ นมุมมองจาก Shade เป็ น Wireframe ที่แถบ Document Aware Toolbar

3‐25 
 
 

49. กําหนดจุดวางตําแหน่งเป็ น “0” แล้ วกด ปุ่ ม Enter

50. เลือกตัวเลือกแรก (Center) จากแถบ Required

3‐26 
 
 

51. คลิกวางที่แถบ 2nd point เพื่อกําหนดขนาดของรูปทรงสีเ่ หลีย่ ม

52. ลากเมาส์ไปในทิศทางเพื่อกําหนดขนาดโดยประมาณ และให้ โตกว่ารู ปทรงเดิมที่สร้ าง


ไว้ แล้ ว

3‐27 
 
 

53. เปลีย่ นมุมมองจาก Wireframe เป็ น Shade ที่ Document Aware Toolbar

54. เลือกตัวเลือกความสัมพันธ์ของรู ปร่ างที่สี่ (Intersect) เพื่อให้ เหลือเฉพาะส่วนเนือ้ ที่


สัมผัสกัน และไม่ต้องใช้ คําสัง่ ใดๆมาตัดแต่งอีก (งานได้ รูปร่ างที่อ้างอิงจากศูนย์กลาง
ร่วมกัน)

3‐28 
 
 

55. คลิกเลือกที่ตวั เลขบอกขนาดความกว้ างของ Block แล้ วเปลี่ยนเป็ น 50.0 ตามแบบ

56. เลือ่ นเมาส์ไปกดลากที่หวั ลูกศรที่บอกขนาด แล้ วลากให้ ได้ ขนาดอื่นๆตามต้ องการ


เพื่อให้ ได้ รูปร่ างดังรูปด้ านล่าง แล้ วกด  เพื่อจบคําสัง่

3‐29 
 
 

57. เลือกรูปทรงกระบอก (Cylinder) จากแถบ Shape – Basic Shape

58. คลิกแถบ Align plane เพื่อกําหนดระนาบ

3‐30 
 
 

59. คลิกเลือกที่ผิวตัดเรี ยบด้ านข้ าง เพื่อเป็ นระนาบอ้ างอิง

60. คลิกที่แถบ Center เพื่อกําหนดจุดวางรูปร่ างรูที่จะตัด

3‐31 
 
 

61. คลิกขวาบนพื ้นที่วา่ ง เพือ่ เรี ยกเมนูช่วยวางตําแหน่ง

62. เลือก Center of Curvature

3‐32 
 
 

63. คลิกเลือกส่วนขอบส่วนโค้ งของรูปร่าง

64. เลือกรูปแบบความสัมพันธ์รูปร่างที่สาม (Remove) จาก Boolean

3‐33 
 
 

65. กําหนดเส้ นผ่านศูนย์กลางตามแบบ n 50.0 mm.

66. คลิก  เพื่อเลือกตัวกําหนดความยาวแบบต่างๆ นอกเหนือจากการพิมพ์ตวั เลข

3‐34 
 
 

67. เลือก “To Point” หมายถึงการกําหนดความยาว “ไปถึงจุดใดๆ ที่เมาส์คลิกเลือก”

68. คลิกขวาค้ างไว้ ที่หน้ าจอว่าง เพื่อกําหนดเป็ นจุดหมุน สําหรับหมุนชิ ้นงานไปดูด้านอื่นๆ

3‐35 
 
 

69. คลิกเลือกที่ผิวตัดเรี ยบอีกด้ านที่พลิกมา เป็ นจุดสิ ้นสุดการตัด

70. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

3‐36 
 
 

71. คลิกเพื่อเปลี่ยนมุมมองภาพให้ เป็ นแบบ “ISO Metric” หรื อแบบ 3 มิติ จากแถบ
Document Aware Toolbar

72. คลิกที่ระนาบ หรื อหน้ าตัดผิวที่เรี ยบ

3‐37 
 
 

73. เลือกมุมมองภาพจาก Document Aware Toolbar เป็ น Auto Align เพื่อหมุนภาพให้


ฉายในแนวระนาบ

74. เลือกรูปทรงสีเ่ หลีย่ ม (Block) จากแถบ Shape – Basic Shape

3‐38 
 
 

75. เลือกลักษณะการวางที่สองแบบมุม (Corner) จาก Required

76. คลิกขวาบนพื ้นที่วา่ งหน้ าจอ เพื่อเรี ยกเมนูช่วยวางตําแหน่ง (Snap)

3‐39 
 
 

77. เลือกตําแหน่งการวางแบบ Quadrant Curvature เพื่อวางในส่วนมุมของส่วนโค้ ง

78. เลือกส่วนโค้ งด้ านบน (เมาส์จะเด้ งเลือ่ นเกาะให้ อตั โนมัติ เมื่อเลือ่ นไปใกล้ ถึงจุด)

3‐40 
 
 

79. ลากเมาส์ไปคลิกวางเกาะบนจุดใดๆ เพื่อให้ ได้ รูปร่ างตามต้ องการโดยประมาณ (จะ


เห็น ได้ ว่าเมื่อ คลิก วาง ตัวเลขทางด้ านซ้ ายมือ จะมีค่ าเป็ นลบ)

80. ใส่ค่าตามแบบ โดยคลิกที่ตัวเลขบนชิ น้ งาน แล้ วพิมพ์ -30 เพื่อให้ ค่าลบกํ าหนดทิ ศ
ทางการวางที่ถกู ต้ อง และเลือกความสัมพันธ์ของรูปร่างแบบที่สาม (Remove)

3‐41 
 
 

81. กําหนดความกว้ างตามแบบ (ดูแบบประกอบ) แต่แบบกําหนดเฉพาะตรงกลางไม่ได้


กําหนดด้ านข้ าง คือค่า 10 จากเส้ นผ่านศูนย์กลาง 40 และหากคํานวณก็จะได้ ค่า 15
แต่ต้องพิมพ์เป็ น -15 หรื อ พิมพ์เป็ นการคํานวณ –(40-10)/2 ก็จะได้ คา่ เป็ น -15

82. ป้อนค่าความยาว (Height) เป็ น 50 หรื อมากกว่าแล้ วคลิก  เพื่อจบคําสัง่

3‐42 
 
 

83. หมุนชิ ้นงานดูลกั ษณะการตัด

84. เลือกคําสัง่ “Extrude” จาก Shape - Basic Shape และเลือกความสัมพันธ์ ที่


Boolean เป็ นแบบที่สาม (Remove) จากเลือ่ นเมาส์ไปคลิกแตะที่ผิวดังรูป

3‐43 
 
 

85. เลือกรูปแบบการยืด (Extrude type) เป็ นแบบ 2 side แล้ วพิมพ์ปอ้ นค่าจุดเริ่ มต้ น
(Start S) เป็ น “ 0 “ พร้ อมทัง้ เลือก Boolean เป็ น Remove

86. คลิกที่แถบ End E เพื่อกําหนดจุดสิ ้นสุดการยืด หรื อ ความยาวตัด

3‐44 
 
 

87. ลากเมาส์ ไปในทิศทางที่ต้องการตัด ( การแสดงผลต้ องเป็ นแบบ Shade และ Boolean


ต้ องเป็ น Remove จึงจะแสดงผลดังรูปด้ านล่าง

88. คลิกวาง เมื่อได้ ตําแหน่ง หรื อระยะที่ต้องการ แล้ วกด  เพื่อจบคําสัง่

3‐45 
 
 

89. คลิก Filter ดังรูป

90. เลือก “Feature” จาก Filter หรื อตัวช่วยกรองในการเลือกวัตถุ

3‐46 
 
 

91. เลือกคําสัง่ “Mirror” จากแถบ Shape – Basic Editing เพื่อทําการคัดลอกรูปร่างให้


เหมือนกันแบบกระจกเงา ได้ งานซ้ าย-ขวา แล้ วคลิกเลือกจุดหรื อผิวที่ต้องการ

92. คลิกที่แถบ Plane เพื่อกําหนด เลือกระนาบอ้ างอิง (กระจก)

3‐47 
 
 

93. เลือกระนาบ (Plane) XY ตามมาตรฐานดังรูป

94. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

3‐48 
 
 

95. เลือกคําสัง่ Extrude จาก Shape – Basic Shape อีกครัง้

96. คลิกที่ผิวและทําซํ ้าขันตอนที


้ ่ 85. อีกครัง้

3‐49 
 
 

97. ลากเมาส์มาด้ านซ้ ายมือ หรื อระยะประมาณ -8

98. ลากเมาส์ไปขวามือ หรื อประมาณ 28 โดยเลือก Boolean เป็ น Remove จะเห็นผลการ


ตัดที่ได้ ดงั รูปด้ านล่าง

3‐50 
 
 

99. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

100. เลือกคําสัง่ Cylinder จาก Shape – Basic Shape

3‐51 
 
 

101. คลิกวางที่แถบ Align plane เพื่อกําหนดระนาบ

102. คลิกที่ผิวระนาบ เพื่อกําหนดตําแหน่งการวางรู n16.0 mm. ตามแบบ (ดูแบบ


ตัวอย่างปรกอบ)

3‐52 
 
 

103. กําหนดขนาดรู n16.0 ตามแบบ

104. คลิกที่แถบ Center เพื่อกําหนดการวางตําแหน่ง

3‐53 
 
 

105. คลิกขวาบนพื ้นที่วา่ งหน้ าจอ เพื่อเรี ยกเมนูการช่วยวางตําแหน่ง (Snap)

106. เลือก” Between” เพื่อกําหนดตําแหน่งแบบระหว่างจุด

3‐54 
 
 

107. เลื่อนเมาส์มาใกล้ ขอบของเส้ นตรง เมาส์จะถูกคําสัง่ กระโดดไปเกาะตรงกลาง


ของเส้ นโดยอัตโนมัติ (Snap)

108. เลื่อนเมาส์มาที่ขอบเส้ นที่สองในลักษณะเดียวกัน และหลังจากเกาะตรงกลาง


เส้ นแล้ วให้ เลือก “Distance” จากค่าเริ่ มต้ นที่เป็ น “Percent”

3‐55 
 
 

109. พิมพ์ปอ้ นระยะตําแหน่งของรู 16.0 ตามแบบ คือ 15.0 หรื อสามารถหมุนเลื่อน


ปุ่ มกลางของเมาส์ (Ball Wheel) เพื่อปรับเปลีย่ นค่าทีละ 1 ได้

110. คลิก  เพื่อจบคําสัง่ หลังจากได้ คา่ และรูปแบบตามต้ องการ

3‐56 
 
 

111. คลิกเปลี่ยนรู ปแบบการมองภาพเป็ น “ISO Metric” จากแถบ Document


Aware Toolbar หรื อกดแป้นคีย์ลดั (Hot Key) คือ Ctrl และ I พร้ อมกัน เพื่อดูภาพใน
ลักษณะ 3D และปรับขนาดให้ พอดีกบั จอภาพ

112. เลือ่ นเมาส์มาที่แถบ File

3‐57 
 
 

113. เลือก “Save As…”

114. เลือกตํ าแหน่ ง หรื อสถานที่ ที่ ต้องการเก็ บบันทึกไฟล์ข้ อมูลนี ไ้ ว้ และสําหรั บ
ตัวอย่างนี ้ ให้ บนั ทึกไว้ ที่หน้ าจอ ด้ านหน้ า (Desktop) เพื่อง่ายในการเรี ยนรู้ในคูม่ ือนี ้ต่อ

3‐58 
 
 

115. ตังชื
้ ่อไฟล์เป็ น “Model Feature”

116. คลิกปุ่ ม “Save” เพื่อบันทึก

3‐59 
 
 

Model from Feature Shape

3‐60 
 
 

บทที่ 4 จัด เก็บ ไฟล์ ข้ อ มูล แบบ Multi-Object


สําหรับบทเรี ยนนี ้เราจะการจัดเก็บไฟล์ข้อมูลงานเป็ นไฟล์ใหม่ซงึ่ ต่อไปจะกลายเป็ นวัตถุ
1 ชิน้ (Object) ในไฟล์เดิมที่จะเปรี ยบเสมือนแฟ้มเก็บเอกสาร (Folder) แล้ วจะกลายเป็ น
Project Multi-Object ตามบทที่ 1 ( หน้ า 1-11 ) ดังนี ้
1. เปิ ดโปรแกรม ZW3D ขึ ้นมาใหม่

2. เลือก “Open” เพื่อเปิ ดไฟล์ข้อมูลที่มีอยูแ่ ล้ ว

4‐1 
 
 

3. เลือกไฟล์ที่สร้ างไว้ หน้ าจอ คือ “Model Feature” จากบทที่ 3

4. จะพบว่า เมื่อคลิกเลือก ไฟล์ Model Feature แล้ ว จะพบวัตถุ (รูปร่ าง, ชิ ้นงาน) ชื่อ
“Model Feature ในช่องด้ านขวามือของหน้ าจอ

4‐2 
 
 

5. คลิกปุ่ ม “Open” เพื่อเปิ ดไฟล์

6. เราจะพบกับชิ ้นงาน หรื อวัตถุที่เราสร้ างไว้ ทนั ที หลังจากนันให้


้ ทําการ คลิก เลือ กที่ รู ป
คนวิ่ง (Exit) เพื่อออกไปที่หน้ าหลักของ Multi-Object

4‐3 
 
 

7. จะพบกับหน้ าหลักของ Multi-Object ไฟล์งาน Model Feature ที่มี Object (วัตถุ) ชื่อ
Model Feature

8. เลือกไอคอน “Part/Assembly” เพื่อสร้ างชิ ้นงาน หรื อ วัตถุ (Object) ใหม่

4‐4 
 
 

9. พิมพ์ปอ้ นชื่อ ชิ ้นงานใหม่เป็ น “Model from Sketch”

10. คลิก “OK” เพื่อบันทึกจัดเก็บ

4‐5 
 
 

11. ที่ Title Bar จะพบการแสดงรู ปแบบ Multi-Object ที่หมายถึง วัตถุ “Model from
Sketch” จัดเก็บอยูใ่ นไฟล์ “Model Feature”

12. คลิกเลือกที่รูปคนวิ่ง ( Exit) ซึง่ หมายถึงการออกไปสูห่ น้ าหลักของ Multi-Object

4‐6 
 
 

13. เมื่อออกมาที่หน้ าจอหลักของ Multi-Object แล้ วด้ านบน Title Bar จะแสดงเพียงแค่ชื่อ
ของไฟล์ นัน่ คือ “ File [Model Feature.Z3]

14. ส่วนด้ านซ้ ายมือจะพบวัตถุ หรื อชิ ้นงาน (Object) “Model Feature” และ “Model from
Sketch “ ซึง่ ตารางนี ้เอง คือการเก็บวัตถุ หรื อไฟล์ย่อยต่างๆ ทัง้ ไฟล์ 3D – งานประกอบ
(3D Assembly) – 2D Sheet (ใบสัง่ งาน) – CAM …ไว้ ในไฟล์หลักที่เปรี ยบเสมือนแฟ้ม
(Folder) นัน่ เอง

4‐7 
 
 

15. ในการเปิ ดไฟล์ชิ ้นงาน หรื อ Object ใดๆ นัน้ สามารถดับเบิลคลิกที่ชื่อวัตถุนนได้


ั ้ ทนั ที

16. เมื่อเปิ ดออกมาก็จะพบชื่อที่ Title Bar

4‐8 
 
 

17. คลิก “Save” เพื่อบันทึก

18. เราสามารถปิ ดไฟล์ที่เราไม่ใช้ แล้ วโดยการคลิกที่เครื่ องหมาย X ด้ านหลังชื่อไฟล์ดงั รูป


โดยที่ยงั คงเปิ ดโปรแกรมเอาไว้

4‐9 
 
 

19. ลักษณะของหน้ าจอโปรแกรม ZW3D หลังจากปิ ดไฟล์ตา่ งๆไป แต่ยงั ไม่ได้ ปิดโปรแกรม

20. คลิกขวาที่ไฟล์ Model Feature บนหน้ าจอที่ได้ สร้ างและบันทึกไว้ เพื่อเรี ยกเมนู
Windows ขึ ้นมา

4‐10 
 
 

21. เลือก “Rename” เพื่อเปลีย่ นชื่อไฟล์

22. พิมพ์ปอ้ นเปลีย่ นชื่อไฟล์ จาก Model feature เป็ น “ Model_1 “

4‐11 
 
 

23. กลับมาที่โปรแกรม ZW3D แล้ วคลิก “Open” เพื่อเปิ ดไฟล์

24. คลิกเลือกไฟล์ Model_1 เพื่อเปิ ด

4‐12 
 
 

25. ที่ด้านขวามือจะพบวัตถุ (Object) 2 รายการที่หน้ าเมนูนี ้ คือ Model Feature และ


Model from Sketch ในไฟล์งาน Model_1

26. คลิกปุ่ ม “Open” เพื่อเปิ ดไฟล์ Model_1

4‐13 
 
 

27. ดับเบิลคลิกที่ Object “Model from Sketch” เพื่อเปิ ดขึ ้นมาสร้ างงานต่อ

28. ที่ Title Bar จะพบการแจ้ งสถานะ ตําแหน่งที่อยู่ของไฟล์และวัตถุ คือ Object “Model
from Sketch” เก็บไว้ ใน File “Model_1”

ⓘ ในบทต่อไปจะใช้ ไฟล์นี ้ในการทํางานต่อ

4‐14 
 
 

บทที่ 5 ออกแบบ 3 มิต ดิ ้ วยเส้ น ร่ าง ( Sketch)


ในการสร้ างหรื อออกแบบงาน 3D นัน้ สามารถทําได้ หลาย
วิธีสําหรับ ZW3D และจากตัวอย่างในบทที่ 3 นัน้ เราได้ สร้ าง
ชิ ้นงานจากคุณสมบัติของรูปร่ าง (Shape Feature) และในงาน
ชิน้ เดียวกัน เราก็ยังสามารถใช้ วิธีการอื่นๆ ในการสร้ าง เช่น การ
วาดเส้ นร่ าง (Sketch) ขึ ้นมาก่อน แล้ วค่อยมาใช้ เครื่ องมือต่างๆ เข้ า
มาปรับเปลี่ยนเพื่อให้ เป็ น 3D ซึง่ ท่านที่มีประสบการณ์การเขียนแบบ 2D
จาก AutoCAD หรื อ ZWCAD จะคุ้นเคย แต่ท่านจะสามารถทํา 3D ขึ ้นใหม่ หรื อ นําไฟล์งาน
เก่าที่มีมาเปลีย่ นเป็ น 3D ด้ วยวิธีการที่งา่ ยกว่าด้ วยการใช้ ZW3D
การเขียนแบบ ออกแบบ 3D จากเส้ น ร่ าง (Sketch)

5‐1 
 
 

สํ า หรั บ การสร้ างตามตัว อย่ า งนี ้ จะทํ า บนไฟล์ ใ หม่ ที่ ส ร้ างไว้ ใ นบทที่ 4 คื อ Project
Multi-Object

1. เริ่ มจาก เลือกคําสัง่ “ Insert Sketch” จากแถบ Shape – Basic Shape

2. เลือกระนาบ ( Plane ) XZ ดังรูป

5‐2 
 
 

3. คลิก  เพื่อตกลง และเข้ าสูโ่ หมดการวาดเส้ นร่าง ( Sketch )

4. เลือกคําสัง่ วาดรูปวงกลม

5‐3 
 
 

5. เลือกรูปแบบการวาดวงกลมแบบกําหนดขนาดของรัศมี – เส้ นผ่านศูนย์กลาง (Radius -


Diameter)

6. คลิกที่จดุ 0,0 เพื่อวางตําแหน่งจุดศูนย์กลางวงกลม

5‐4 
 
 

7. กําหนดขนาดของวงกลม

8. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

5‐5 
 
 

9. เลือกคําสัง่ การวาดเส้ น (Sketch) แบบ “Draw”

10. คลิกวางตําแหน่งเริ่ มวาดเส้ นตรง

5‐6 
 
 

11. ลากเส้ นตรงในแนวนอน แล้ วคลิกวาง

12. ลากเส้ นต่อเนื่องขึ ้นด้ านบนให้ เป็ นแนวตัง้

ⓘ สัญลักษณ์ V และ H จะแสดงเมื่อเส้ นเป็ นแนวตัง้ 90 องศา และแนวนอน 180 องศา


5‐7 
 
 

13. ลากเส้ นต่อเนื่องและคลิกวางตามแบบโดยกะประมาณรูปร่าง (ดูแบบประกอบ)

14. ลากเส้ นเฉียงตามแบบ

5‐8 
 
 

15. ลากเส้ นแนวนอนให้ เลยเข้ ามาในวงกลมแล้ วคลิกวาง ดังรูป

16. คลิก ปุ่ มกลางเมาส์ หรื อ ปุ่ ม Esc บนคีย์บอร์ ด เมื่อต้ องการจบคําสัง่ การวาดเส้ น

5‐9 
 
 

17. คลิกขวา บนที่ว่าง เพื่อเรี ยกเมนูขึ ้นมา และเลือกคําสัง่ “One Touch Trim” เพื่อตัดเส้ น
ที่ไม่ต้องการออก

18. เลือกคลิกที่เส้ นที่ไม่ต้องการเพื่อตัดออก

5‐10 
 
 

19. คลิกเลือกตัดเส้ นที่ไม่ต้องการดังรูป

20. เมื่อได้ รูปร่ างที่ต้องการ (ครึ่งหนึ่งตามแบบ) แล้ วจึงคลิก  เพื่อจบคําสัง่

5‐11 
 
 

21. เลือกคําสัง่ “Mirror” (การคัดลอกแบบกระจก) แล้ วเลือกเส้ นที่ต้องการคัดลอก

22. เลือกเส้ นต่อเนื่องที่ต้องการคัดลอก

5‐12 
 
 

23. เลือกเส้ นให้ ครบดังรูป ยกเว้ นเส้ นตรงกลาง

24. คลิกที่ช่อง “Line” เพื่อกําหนดแนวอ้ างอิง หรื อกระจก

5‐13 
 
 

25. เลือกเส้ นตรงกลางที่ระนาบ Y

26. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

5‐14 
 
 

27. คลิกขวาพื ้นที่วา่ ง เพื่อเรี ยกเมนูขึ ้นมา

28. เลือกคําสัง่ “Quick Dimension” เพื่อกําหนดขนาด

5‐15 
 
 

29. คลิกเลือกเส้ นที่ต้องการกําหนดขนาด

30. คลิก เลือกเส้ นที่ 2

5‐16 
 
 

31. ลากเมาส์ให้ ได้ ระยะโดยประมาณ แล้ วคลิกวาง

32. กําหนดขนาดตามแบบ

5‐17 
 
 

33. คลิกเลือกเส้ นเพื่อกําหนดขนาด

34. คลิกเลือก เส้ นที่ 2

5‐18 
 
 

35. กําหนดขนาดตามแบบ [ 66 ]

36. กําหนดขนาดต่อเนื่อง โดยคลิกเลือกที่จดุ 0,0 (จุดศูนย์กลางอ้ างอิงการ Sketch)

5‐19 
 
 

37. คลิกกําหนดจุดที่ 2

38. ลากออกไป คลิกวางด้ านล่าง

5‐20 
 
 

39. กําหนดขนาดตามแบบ [ 100 ] (ดูแบบประกอบ)

40. กําหนดขนาดต่อเนื่อง (ยังไม่จบคําสัง่ Quick Dimension)

5‐21 
 
 

41. กําหนดจุดที่ 2

42. ลาก คลิกวาง แล้ วกําหนดขนาด [ 145 ] ตามแบบ

5‐22 
 
 

43. กําหนดขนาดต่อเนื่อง

44. คลิกเลือกเส้ นสุดท้ าย (คลิกเลือกที่เส้ น ไม่ใช่ปลายเส้ น) แล้ วกําหนดขนาดตามแบบ

5‐23 
 
 

45. คลิก  เพื่อจบคําสัง่ Quick Dimension

46. เลือกคําสัง่ “Trace Profile” เพื่อต่อเส้ นที่ต้องการ

5‐24 
 
 

47. คลิกเลือกเส้ นที่ต้องการ

48. เมื่อเส้ นมีความต่อเนื่องการ เส้ นจะเปลี่ยนสีไปตลอดความยาว และหยุดเมื่อมีจุดแยก


แล้ วจึงเลือกเส้ นที่ต้องการต่อ

5‐25 
 
 

49. คลิกรูปคนวิ่ง ( Exit ) เพื่อกลับไปสูโ่ หมด Part

50. เลือกคําสัง่ “Revolve” เพื่อขึ ้นรูป 3D

5‐26 
 
 

51. คลิกเลือกเส้ นดังรูป

52. คลิกตัวเลือก (Option) สําหรับ Profile P

5‐27 
 
 

53. เลือกส่วนภายในขอบเขตเส้ น Profile

54. คลิก  เพื่อจบการเลือก Profile

5‐28 
 
 

55. คลิกเลือก แกนในการหมุน (Revolve) เพื่อให้ เป็ น 3D

56. คลิกที่ “Start angle S” เพื่อกําหนดจุดเริ่ มต้ นในการหมุน (ตัวเลขเป็ นมุม 0–360 องศา)

5‐29 
 
 

57. คลิกที่ “End angle E” เพื่อกําหนดจุดสิ ้นสุดการหมุน คือ 360 องศา

58. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

5‐30 
 
 

59. เปลีย่ นมุมมองภาพเป็ น “ISO Metric” เพื่อดูภาพ 3D

60. คลิกขวา บนที่วา่ ง เพื่อเรี ยกเมนูขึ ้นมาใช้

5‐31 
 
 

61. เลือก “Insert Sketch”

62. คลิก  เพื่อเข้ าไปสูห่ น้ าการวาด (Sketch)


ⓘ หากไม่ เ ลือ กระนาบ (Plane) จะกลายเป็ น ระนาบ (Plane) XY โดย
อัต โนมัต ิ

5‐32 
 
 

63. เลือกคําสัง่ การวาด “Draw”

64. คลิกวางในแนวระนาบนอน ( แกน Y = 0 ) สังเกตจากเส้ นประสีขาวในแนว Plane ดังรูป


ด้ านล่าง

5‐33 
 
 

65. ลากเส้ นขึ ้นในแนวตัง้ ( V ) โดยประมาณตามแบบ (ดูแบบประกอบ)

66. ลากเส้ นแนวนอนแล้ วคลิกวาง และ คลิก ปุ่ มกลางเมาส์ หรือ ปุ่ ม Esc เพื่อ จบคําสั่ง

5‐34 
 
 

67. เลือกคําสัง่ “Mirror” (คัดลอกแบบกระจก) เพื่อคัดลอกให้ เหมือนกัน 2 ด้ าน

68. เลือกเส้ นที่ต้องการให้ ครบ ( 2 เส้ น )

5‐35 
 
 

69. คลิกที่ช่อง “Line”

70. เลือกเส้ นอ้ างอิง หรื อแนวกระจก

5‐36 
 
 

71. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

72. คลิกขวาที่วา่ งเพื่อเรี ยกเมนูขึ ้นมา

5‐37 
 
 

73. เลือกคําสัง่ Dimension เพื่อกําหนดขนาดตามแบบ

74. คลิกเส้ นแรก เพื่อกําหนดขนาด

5‐38 
 
 

75. คลิกเลือกเส้ นที่สอง

76. กําหนดขนาดตามแบบ [ 50 ]

5‐39 
 
 

77. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

78. คลิกรูปคนวิ่ง (Exit) เพื่อกลับไปสูห่ น้ า Part

5‐40 
 
 

79. เลือกคําสัง่ “Extrude” เพื่อยืดเส้ น

80. เลือกเส้ นที่ Sketch เอาไว้ (เมื่อเลือ่ นเมาส์มาแตะ เส้ นจะเปลีย่ นสี จึงคลิกเลือก)

5‐41 
 
 

81. ลากเส้ นให้ เลยชิ ้นงาน แล้ วคลิกวาง

82. ลากเส้ นลงให้ เลยชิ ้นงาน แล้ วคลิกวาง

5‐42 
 
 

83. เลือก Boolean แบบ Remove เพื่อตัดชิ ้นงาน

84. คลิกเลือก  ที่ Flip face direction เพื่อกลับด้ านการตัดที่แสดงด้ านล่าง

5‐43 
 
 

85. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

86. คลิกขวาที่วา่ ง เพื่อเรี ยกเมนูขึ ้นมา

5‐44 
 
 

87. เลือก ‘Insert Sketch”

88. คลิกเลือกผิวระนาบ (Plane) เพื่อใช้ เป็ นแนวอ้ างอิง

5‐45 
 
 

89. คลิกช่อง “Origin” เพื่อกําหนดจุดศุนย์ในระนาบ

90. คลิกขวาที่วา่ ง เพื่อเรี ยกเมนู

5‐46 
 
 

91. เลือก “Center of Curvature” เพื่อช่วยกําหนดจุดศูนย์

92. คลิกเลือกที่ขอบที่โค้ ง

5‐47 
 
 

93. คลิกช่อง “Up”

94. เลื่อนเมาส์มาที่ลกู ศรระนาบ (Plane) และคลิกเลือกแนวลูกศรที่ต้องการให้ ตงั ้ จากนัน้


คลิก  เพื่อเข้ าสูห่ น้ า Sketch

5‐48 
 
 

95. เลือกคําสัง่ “Draw” เพื่อวาดเส้ นตัด

96. คลิกเลือกที่กึ่งกลางเส้ นขอบ (อ้ างอิงจาก 3D)

5‐49 
 
 

97. ลากเส้ นแนวนอนดังรูปด้ านล่าง

98. ลากเส้ นแนวตังลงด้


้ านล่างดังรู ปด้ านล่าง แล้ วคลิกปุ่ มกลางบนเมาส์ หรื อกด Esc บน
คีย์บอร์ ด เพื่อจบคําสัง่ การสร้ างเส้ น

5‐50 
 
 

99. เลือกคําสัง่ คัดลอกแบบกระจก “Mirror”

100. เลือกเส้ นที่ได้ สร้ างไว้ ทงั ้ 3 เส้ น

5‐51 
 
 

101. คลิกที่ช่อง “Line”

102. คลิกที่ลกู ศรในแนวระนาบ Y แล้ วคลิก  เพื่อจบคําสัง่

5‐52 
 
 

103. คลิกขวา บนที่วา่ ง เพื่อเรี ยกเมนูขึ ้นมา

104. เลือกคําสัง่ “Quick Dimension” เพื่อกําหนดขนาด

5‐53 
 
 

105. คลิกบนเส้ นที่ 1

106. คลิกบนเส้ นที่ 2

5‐54 
 
 

107. ลากเมาส์ไปด้ านขวามือดังรูปแล้ วกําหนดขนาดตามแบบ [ 10 ]

108. คลิกเลือกเส้ นเพื่อกําหนาดขนาดต่อเนื่องโดยที่ไม่จบคําสัง่

5‐55 
 
 

109. คลิกเลือกเส้ นที่ 2 (เส้ นที่ไม่ได้ สร้ าง แต่เกิดจาก 3D)

110. ลากเมาส์ลงแล้ วคลิกวางด้ านล่าง และกําหนดขนาดตามแบบ [ 30 ]

5‐56 
 
 

111. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

112. คลิก Exit เพื่อกลับไปสูโ่ หมดหน้ า Part

5‐57 
 
 

113. คลิกเลือกคําสัง่ Extrude เพื่อยืดเส้ นร่ าง

114. คลิกเลือกเส้ นดังรูป (เมื่อเลือ่ นเมาส์ไปแตะเส้ น เส้ นจะเปลีย่ นสีดงั รูปด้ านล่าง)

5‐58 
 
 

115. ลากเส้ นแล้ วมาคลิกวางด้ านซ้ ายมือ โดยให้ เลยชิ ้นงาน

116. คลิกลากเมาส์ไปด้ านขวามือโดยให้ เ ลยชิ น้ งาน (ที่ Boolean เลือ กเป็ น


Remove) จะได้ ผลที่แสดงดังรูปด้ านล่าง

5‐59 
 
 

117. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

118. คลิกขวา บนที่วา่ ง เพื่อเรี ยกเมนูขึ ้นมา

5‐60 
 
 

119. เลือกคําสัง่ Insert Sketch

120. คลิกเลือกผิว เพื่อกําหนดเป็ นระนาบ

5‐61 
 
 

121. คลิกที่ช่อง Origin

122. คลิกขวา บนที่วา่ ง เพื่อเรี ยกเมนูขึ ้นมา

5‐62 
 
 

123. คลิกเลือก Center of Curvature เพื่อช่วยกําหนดตําแหน่งศูนย์กลาง

124. คลิกเลือกเส้ นขอบโค้ งดังรูป

5‐63 
 
 

125. คลิกวางที่ช่อง “Up”

126. เลื่อนเมาส์ไปชีท้ ี่กลุ่มระนาบ (Plane) เมื่อลูกศรแสดงขึ ้นมา ให้ เลือกลูกศรที่


ต้ องการเป็ นแนวตัง้

5‐64 
 
 

127. คลิก เพื่อเข้ าสูโ่ หมดหน้ า Sketch

128. เลือกคําสัง่ Circle (วาดวงกลม)

5‐65 
 
 

129. เลือกรูปแบบการกําหนดขนาดเป็ น Diameter (เส้ นผ่านศูนย์กลาง)

130. คลิกช่อง Center เพื่อกําหนดจุดวางวงกลม

5‐66 
 
 

131. คลิกวางที่จดุ “0,0” ใน Plane (ระนาบ) อ้ างอิง

132. คลิกช่อง Diameter เพื่อกําหนดขนาด

5‐67 
 
 

133. กําหนดขนาดตามแบบ [ 50 ]

134. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

5‐68 
 
 

135. คลิก “Exit”

136. เลือกคําสัง่ “Extrude” เพื่อยืดเส้ น Profile Sketch (เส้ นร่าง)

5‐69 
 
 

137. คลิกเลือกเส้ น Sketch (เส้ นร่าง)

138. ลากเส้ นไปด้ านซ้ ายมือ แล้ วคลิกวาง

5‐70 
 
 

139. ลากเส้ นไปด้ านขวามือให้ เลยชิ ้นงานดังรูป แล้ วคลิกวาง

140. กําหนดเป็ น “Remove” ที่ตวั เลือกจาก “Boolean”

5‐71 
 
 

141. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

142. คลิกขวา ที่วา่ ง เพื่อเรี ยกเมนูขึ ้นมา

5‐72 
 
 

143. เลือกคําสัง่ Insert Sketch เพื่อเข้ าโหมดหน้ าเส้ นร่าง

144. คลิกเลือกผิวระนาบ เพื่อกําหนดเป็ น Plane (ระนาบ) อ้ างอิง

5‐73 
 
 

145. คลิก เพื่อเข้ าสูโ่ หมดหน้ า Sketch (เส้ นร่าง)

146. เลือกคําสัง่ Circle (วงกลม) แล้ วคลิกวางในตําแหน่ง ดังรูปด้ านล่าง

5‐74 
 
 

147. กําหนดขนาดตามแบบ Diameter [ 16 ]

148. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

5‐75 
 
 

149. คลิกขวา ที่วา่ ง เพื่อเรี ยกเมนูขึ ้นมา

150. เลือกคําสัง่ “Quick Dimension” เพื่อกําหนดขนาด

5‐76 
 
 

151. คลิกเลือกจุดที่ 1 ในศูนย์กลางของวงกลม (เมาส์จะกระโดดเข้ าไปอัตโนมัติ)

152. คลิกเลือกเส้ นที่ 2 จากแนวเส้ นอ้ างอิงของรูป 3D (ไม่ได้ สร้ างในหน้ า Sketch)

5‐77 
 
 

153. ลากเมาส์ไปคลิกวางด้ านล่างดังรูป แล้ วกําหนดขนาดตามแบบ [ 15 ]

154. กําหนดขนาดและกด OK

5‐78 
 
 

155. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

156. คลิก Exit เพื่อกลับไปสูโ่ หมดหน้ า Part

5‐79 
 
 

157. เลือกคําสัง่ Extrude เพื่อยืดเส้ น

158. เลือกเส้ น Profile Sketch (เส้ นร่าง) ขึ ้นด้ านบนแล้ วคลิกวาง

5‐80 
 
 

159. คลิก  เพื่อจบคําสัง่

160. ชิ ้นงานเสร็ จดังรูปด้ านล่าง

5‐81 
 
 

ชิ ้นงานที่สร้ างจาก Feature (คุณสมบัติรูปร่างมาตรฐาน)

ชิ ้นงานที่สร้ างจาก Sketch (เส้ นร่าง)

ประวัติ หรื อบันทึกขันตอนในการเขี


้ ยนแบบ ออกแบบ (History manager) ของทังสองแบบ

ⓘ จากประวัติ จะเห็นการทํางานแต่
ละขั น้ ตอนของทั ง้ สองวิ ธี ซึ่ ง ใช้ คํ า สั่ง
แตกต่า งกัน แต่ได้ งานที่ เ หมื อนกันโดย
แต่ ล ะวิ ธี ก็ จ ะขึ น้ อยู่กับ ความชอบ หรื อ
ความถนัดของผู้ใช้ งานแต่ละท่าน ...

5‐82 
 
 

บทที่ 6 แบบสั่งงานและกําหนดขนาด (2D Sheet)


ในการทํางานออกแบบ - เขียนแบบ ไม่ว่าจะเป็ น 2 มิติ (2D)
หรื อ 3 มิติ (3D) หลังจากที่เสร็ จแล้ ว จําเป็ นจะต้ อง
สร้ างแบบสัง่ งาน (2D Sheet) เพื่อที่จะใช้
สัง่ งาน สื่อสารกับฝ่ ายต่างๆ เช่น ฝ่ าย
ผลิต (Production) ฝ่ ายควบคุม /
ตรวจสอบคุณภาพ (QA/QC) หรื อแม้ แต่สง่
ผู้รับเหมา – รับจ้ างช่วง (Supplier) เพื่อทํางานร่ วมกัน หรื อ
ประสานงานกัน โดยจะอ้ างอิงสิ่งที่เป็ นมาตรฐานเดียวกัน คือ แบบงานที่ถกู กําหนดตัวเลขบอก
ขนาดตัวเดียวกัน ซึ่ง ZW3D สามารถสร้ างแบบสัง่ งานจาก แบบ 3D ให้ โดยอัตโนมัติดงั
ตัวอย่าง ในบทนี ้ ซึง่ ผู้ออกแบบ (Designer Engineer) หรื อผู้ช่วยเขียนแบบ (Draftsman) จะ
เป็ นคนเขียนก็ได้

6‐1 
 
 

ตัวอย่ าง 2D Sheet

6‐2 
 
 

เริ่ มต้ นจากการใช้ ไฟล์ที่เราสร้ างไว้ ที่บทก่อนหน้ านี ้

1. เปิ ดงานที่สร้ างไว้ แล้ ว คือ Model Feature

6‐3 
 
 

2. เมื่อเปิ ดออกมาที่หน้ า Part แล้ วก็ทําการคลิกขวาเพื่อเรี ยกเมนูเข้ าสูห่ น้ า 2D Sheet

3. เลือก 2D Sheet เพื่อเข้ าสูห่ น้ าสร้ างแบบ

6‐4 
 
 

4. คลิก OK เข้ าสูห่ น้ า 2D Sheet โดยใช้ คา่ เริ่ มต้ น (Default)

5. วางในจุดที่ต้องการให้ ครบ 3 จุด

6‐5 
 
 

6‐6 
 
 

6. เลือกรูปแบบกระดาษ “Sheet Format A…” แล้ วคลิกปุ่ มกลางเมาส์ (สามารถเลือกได้


ตังแต่
้ แรกในหน้ า Default หรื อมาเปลี่ยนภายหลังได้ )

7. เลือกรูปแบบกระดาษเป็ นแบบมาตรฐาน (สามารถสร้ างแบบฟอร์ มขึ ้นเองได้ )

6‐7 
 
 

8. เมื่อเลือกขนาดที่ต้องการได้ แล้ ว คลิก OK

6‐8 
 
 

9. เปลีย่ นขนาดชิ ้นงานให้ พอดีกบั ขนาดกระดาษ

6‐9 
 
 

10. คลิกเมาส์ค้างไว้ ที่เส้ นขอบงาน ที่เปลี่ยนสี (Highlight) แล้ วลากไปวางในตําแหน่งที่


ต้ องการ

11. จัดวางดังรูป แล้ วเลือกคําสัง่ เพื่อดึงรูปต่อไปมาวาง

6‐10 
 
 

12. เลือกชิ ้นงานที่ต้องการ

13. เลือกรูปแบบการแสดงผลเป็ น “Shade”

6‐11 
 
 

14. เปลีย่ นมุมมองภาพเป็ น “ISOMETRIC” และเปลี่ยนอัตราส่วนภาพให้ พอดีกบั กระดาษ

6‐12 
 
 

15. วางชิ ้นงานในตําแหน่งที่ต้องการและ  เพื่อจบคําสัง่

6‐13 
 
 

16. ปรับเปลีย่ นมุมมองภาพ ISOMETRIC

6‐14 
 
 

17. สร้ างภาพตัด Section (ภาพผ่านชิ ้นงาน)

6‐15 
 
 

18. เลือกมุมมองที่ต้องการผ่า

19. คลิกเลือกแนวการผ่า (Center Line)

6‐16 
 
 

20. คลิกแนวเส้ นที่ 1

21. คลิกแนวเส้ นที่ 2

6‐17 
 
 

22. ลากชิ ้นงานไปวางในตําแหน่งด้ านล่าง แล้ วคลิก  เพื่อจบคําสัง่

23. จะได้ งานดังรูปด้ านล่าง

6‐18 
 
 

24. สร้ างแบบขยายเฉพาะส่วน ด้ วยคําสัง่ “Detail” จาก Layout – Detail

6‐19 
 
 

25. กําหนดขอบเขต

26. วางป้ายชื่อบอกส่วนขยาย

6‐20 
 
 

27. คลิกที่ “Location” เพื่อเลือกตําแหน่งวาง

28. คลิกวางในตําแหน่งที่ต้องการแล้ วกด 

6‐21 
 
 

29. เปลีย่ นขนาดของเส้ นแสดงการผ่า Section

30. เปลีย่ นขนาดและรูปแบบตามต้ องการ

6‐22 
 
 

31. เปลีย่ นขนาดความหนาเส้ น

6‐23 
 
 

32. เปลีย่ นสีเส้ น และ  เพื่อจบคําสัง่

6‐24 
 
 

33. จะได้ เส้ นแสดงการผ่าแบบใหม่ดงั รูป

34. แก้ ไขขนาดตัวอักษรด้ วยคําสัง่ “Attributes”

6‐25 
 
 

35. เปลีย่ นขนาดความสูงของตัวอักษร

36. คัดลอกรูปแบบที่เหมือนกันด้ วยคําสัง่ “Format Painter”

6‐26 
 
 

37. เลือกต้ นฉบับที่ต้องการคัดลอก (ตัวอักษร Section) และตัวที่ต้องการสําเนาต่อเนื่องกัน


เลย ( ⓘ ต้ นแบบจะสามารถคลิกเลือกได้ ครัง้ เดียว แล้ วเมาส์จะเด้ งไปช่องสําเนาซึง่
สามารถเลือกได้ หลายครัง้ ) แล้ วกด  เพื่อจบคําสัง่

6‐27 
 
 

38. บอกขนาดตามแบบตัวอย่าง ( ⓘ ใน 2D Sheet เป็ นการบอกขนาด แต่ใน Sketch


เป็ นการกําหนดขนาด)

6‐28 
 
 

39. ได้ ขนาดดังรูปด้ านล่าง

40. เลือกกําหนดขนาดต่ อ เนื่อ งโดยยังไม่ ก ด  เพื่อจบคําสัง่

6‐29 
 
 

41. กําหนดขนาดทุกจุดดังรูปด้ านล่าง

42. ปรับแต่งพิกดั ความเผื่อด้ วยคําสัง่ “Modify Tolerance”

“Modify Tolerance”

6‐30 
 
 

43. เลือกรูปแบบที่ต้องการแสดงค่าพิกดั

คลิก เลือ ก

6‐31 
 
 

44. เลือกการแสดงค่าพิกดั แบบ Hole Fit (พิกดั ความเผื่อแบบงานสวม)

6‐32 
 
 

45. เลือกค่าเป็ น “H7” (สังเกตว่าจะมีคา่ มาตรฐานเป็ นตัวเลขขึ ้นให้ ด้านขวามือ)

6‐33 
 
 

46. เลือกรูปแบบการแสดงผล และ  เพื่อจบคําสัง่

6‐34 
 
 

47. ปรับเปลีย่ นรูปแบบอีกครัง้ ด้ วยคําสัง่ “Attributes”

ⓘ การปรับเปลีย่ นคําสัง่ ด้ วย Attributes และ Modify Tolerance สามารถทําได้ เหมือนกัน


แต่ในคําสัง่ “Attributes” จะมีตวั เลือกการปรับแต่งที่มากกว่า

6‐35 
 
 

48. คลิก  และดูผลที่ได้

49. ปรับเปลีย่ นค่าอื่นๆ ด้ วยคําสัง่ “Attributes”

6‐36 
 
 

6‐37 
 
 

50. คัดลอกรูปแบบด้ วย “Format Painter”

6‐38 
 
 

เมื่อเสร็ จแล้ วจะได้ ผลดังรูปด้ านล่าง

6‐39 
 
 

การสั่งพิม พ์ (Print)

หลังจากที่กําหนดขนาด (Dimension) ต่างๆครบตามต้ องการแล้ ว ต้ องการส่งออก


(Export) หรื อสัง่ พิมพ์ (Print) เพื่อนําไปสัง่ งานต่อ สามารถทําได้ ดงั นี ้

1. เลือกคําสัง่ พิมพ์ (Print)

2. ปรับตังค่
้ าต่างๆ ดังนี ้

6‐40 
 
 

3. เลือกเครื่ องพิมพ์ (Print)

4. กําหนดการวางกระดาษ

6‐41 
 
 

5. เลือกขนาดการะดาษที่ต้องการพิมพ์ออก

6. กําหนดตําแหน่งงาน

6‐42 
 
 

7. กําหนดความหนาของเส้ นที่จะพิมพ์

8. ปรับเปลีย่ นค่าความหนาเส้ นตามต้ องการ

6‐43 
 
 

9. ดูภาพก่อนพิมพ์

10. หากไม่ได้ ตามต้ องการ – กลับไปตังค่


้ าใหม่

6‐44 
 
 

11. กลับไปที่แถบ General

12. เลือกแบบ Scale to fit เนื่องจากเขียนบนกระดาษ A3 แต่ต้องการพิมพ์ออกกระดาษ A4

6‐45 
 
 

13. ตรวจดูอีกครัง้

14. เมื่อได้ ตามต้ องการแล้ วจึงกดพิมพ์ (Print)

6‐46 
 
 

15. เมื่อต้ องการส่งออก หรื อ พิมพ์เป็ น PDF File หรื อ 2D CAD File (DXF/DWG)

16. เลือก Export

6‐47 
 
 

17. เลือกรูปแบบไฟล์ที่ต้องการส่งออก

18. ตังชื
้ ่อไฟล์แล้ วกด Save

6‐48 
 
 

19. เลือกรุ่น (Version) และที่เก็บในช่อง File ของไฟล์ที่ต้องการบันทึก แล้ วกด OK เพื่อ


เสร็ จสิ ้นการบันทึก

อย่างไรก็ตาม สําหรับในคูม่ ือเล่มนี ้เป็ นเพียงการแนะนําการใช้ งานขันพื


้ ้นฐานเท่านัน้
หากมีความต้ องการใช้ งานขันสู
้ งหรื อซับซ้ อนในแต่ละคําสัง่ หรื อตามความต้ องการ สามารถ
แจ้ งข้ อมูลหรื อขอคูม่ ือ, Video เพิ่มเติมได้ ทาง E-Mail : sales@cadinnovative.co.th

6‐49 
 

You might also like