You are on page 1of 26

1

วิธีทางสถิติเพือ่ การควบคุมคุณภาพ

วิธีทางสถิติเป็ นเครื่ องมือ ในการควบคุมและการทวนสอบ ขีดความสามารถของกระบวนการและ


คุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ได้มาซึ่ งคุณภาพของการผลิตและการดำเนินการทั้งหมด
 กำหนดขั้นตอนในการใช้วิธีทางสถิติ โดย :
o กำหนดงานที่จ ำเป็ นที่ตอ้ งใช้วิธีทางสถิติ
o เลือกวิธีทางสถิติที่เหมาะสม
o ควบคุมการใช้วธิ ีทางสถิติ
o รายงานผลของการใช้วิธีทางสถิติให้กบั หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 ควรพิจารณาใช้วิธีทางสถิติ ในเรื่ อง :
o การออกแบบ
o การควบคุมกระบวนการ
o การป้ องกันผลิตภัณฑ์บกพร่ อง
o การวิเคราะห์ปัญหา, การหาสาเหตุ
o การประมาณการต่างๆ
o การวัด การประเมินคุณลักษณะทางคุณภาพ
o การประเมินความเสี่ ยง
o การกำหนดข้อจำกัดของกระบวนการและผลิตภัณฑ์

มองในมุมการบริหารการผลิต
ปัจจัยการผลิ ต : Man and Machine etc.

วัตถุดิบ(Mat Method Output


erial) (การเพิ่ มมูลค่า) สิ นค้าและบริ การ
2

• กระบวนการ คือ การเพิม่ มูลค่า (Value added) แก่วตั ถุดิบให้กลายเป็ นสิ นค้าและบริ การ
โดยปัจจัยการผลิต

• เป้าหมาย : เพิม่ ผลผลิต (Productivity) ให้สูงที่สุด เพื่อเพิม่ กำไรให้องค์กร

มองในมุมด้ านคุณภาพ
X : ตัวแปรที่สามารถควบคุมได้

y = f (x) +  : คุณลักษณะของคุณภาพ
ความผันแปร

Z : ตัวแปรที่ไม่สามารถควบคุมได้
กระบวนการ คือ ความผันแปรต่าง ๆ อันเนื่องมาจากองค์ประกอบต่าง ๆ ของสาเหตุความผันแปร
เป้าหมาย : ลดความผันแปรให้เหลือน้อยที่สุด เพื่อให้งานได้คุณภาพตามที่ตอ้ งการมากที่สุด
เป็ นการเพิ่มกำไรให้องค์กรในแง่การลดการสู ญเสี ย

ความผันแปร (Variable)
ลักษณะคุณภาพจะเปลี่ยนแปลงต่อชิ้น

ลักษณะคุณภาพ
3

แต่จะฟอร์มตัวเป็ นรู ปแบบเฉพาะที่เรี ยกว่า “การแจกแจง

ลักษณะคุณภาพ

การแจกแจงอาจเปลี่ยนไปในค่าของ
รูปทรง
ตำแหน่ ง การกระจาย

ลักษณะคุณภาพ

สาเหตุของการผันแปร
สาเหตุพเิ ศษ (Special Cause )
Dr. Waiter A. SHEWHART สาเหตุผดิ ธรรมชาติ (Assignable Cause)
Dr. Edwards W. Deming สาเหตุพิเศษ (Special Cause )
Joseph M. Juran สาเหตุแบบครั้งคราว (Sporadic Spike)

 ประกอบด้วยอิทธิพลที่สามารถหาสาเหตุได้
 เกิดขึ้นเฉพาะจุดตามธรรมชาติ
 ไม่สามารถทำนายล่วงหน้าได้วา่ จะเกิดเมื่อไร
ทำการแก้ไขเฉพาะจุด ( 15%)
4

เช่น กระแสไฟฟ้ าตก ขดลวดในเตาอบขาดทำให้อุณหภูมิการอบไม่ได้ ฯลฯ

สาเหตุธรรมดา (Common Cause)


Dr. Waiter A. SHEWHART สาเหตุ โดยธรรมชาติ (Chance Cause)
Dr. Edwards W. Deming สาเหตุธรรมดา (Common Cause)
Joseph M. Juran สาเหตุเรื้ อรัง (Chronic)
 ประกอบด้วยสาเหตุเพียงเล็กน้อย
 เป็ นส่ วนหนึ่งในระบบ
 เกิดขึ้นสม่ำเสมอ (สามารถทำนายล่วงหน้าได้)
ทำการแก้ไขกับระบบ ( 85%)
เช่นพนักงานไม่ท ำงานตามมาตรฐาน อ่านค่าผิดพลาด ไม่ได้ต้ งั ค่าเครื่ องให้ถูกต้อง ไม่มีเครื่ อง
ตรวจวัดส่ วนผสมทำให้ใช้การกะส่ วนผสม
สรุ ปแนวคิดการควบคุมคุณภาพโดยวิธีการทางสถิติ
การดำเนินการ ความผันแปร แนวทางการดำเนินการ
ความผันแปรจากสาเหตุพิเศษผิด -การตรวจจับสาเหตุพิเศษผิด
ธรรมชาติและจากสาเหตุปกติ ธรรมชาติและกำจัดทิ้งไป
การควบคุมคุณภาพ
ธรรมชาติ - การตรวจสอบผลการดำเนินงาน
เทียบกับข้อกำหนด
การผันแปรจากสาเหตุปกติธรรมชาติ - การลดสาเหตุธรรมชาติดว้ ย การ
การปรับปรุ งคุณภาพ ออกแบบใหม่ หรื อกำหนดวิธีการ
ใหม่ หรื อเปลี่ยนระบบใหม่
ตัวอย่ างการใช้ วธิ ีทางสถิติ
วิธีทางสถิติ การใช้ งาน
แผนภูมิกา้ งปลา พาเรโต
ค้นหาสาเหตุ และวิเคราะห์ปัญหา
กราฟแท่ง
การควบคุมกระบวนการ
แผนภูมิควบคุม Control ติดตามและควบคุมกระบวนการผลิตและกระบวนการวัด
Chart
การออกแบบการทดลอง
หาปัจจัยที่ผลต่อความสามารถของกระบวนการ และผลกระทบ
Design of Experiment DOE
หาความสัมพันธ์ของตัวแปรในกระบวนการ หรื อการออกแบบ
การวิเคราะห์การถดถอย
ผลิตภัณฑ์กบั ผลที่เกิด
การชักตัวอย่างและเกณฑ์
ใช้ได้ในทุกขั้นตอนของการดำเนินการ
การยอมรับ
5

การควบคุมกระบวนการ การควบคุมผลิ ตภัณฑ์

ผูส้ ่ง Inpu กระบวนการ Outp ผลิ ตภัณฑ์ ลูกค้า


มอบ t ut

การวัดและ / หรือ การจัดการ


การจัดการ
การสังเกตการณ์ และแก้ไข
และแก้ไข

การสืบสวนหา การสืบสวนหา
สาเหตุและ การ การประเมิ นผลและ / สาเหตุและ การ
วิ นิจฉัย หรือการเปรียบเทียบ วิ นิจฉัย

การควบคุมคุณภาพของกระบวนการ (Process Quality Control : PQC) หมายถึง ระบบคุณภาพที่


ให้ความสนใจกับการเฝ้ าพินิจ (Monitoring) และการพัฒนากระบวนการผลิตโดยอาศัยการวิเคราะห์
แนวโน้มและอาการของปัญหา

การควบคุมคุณภาพเพือ่ การยอมรับ (Acceptance Quality Control : AQC) หมายถึง ระบบ


คุณภาพในอันที่จะป้ องกันลูกค้าจากการยอมรับผลิตภัณฑ์ที่บกพร่ อง ตลอดจนการจูงใจและ
กระตุน้ ให้ผผู้ ลิตดำเนินการใช้ระบบการควบคุมคุณภาพของกระบวนการ ทั้งนี้ดว้ ยการกำหนด
จำนวนตรวจสอบและเข้มงวดกับการตรวจสอบ เพื่อตัดสิ นใจว่าจะยอมรับหรื อไม่ในสัดส่ วนที่
สัมพันธ์โดยตรงกับความสำคัญของลักษณะคุณภาพที่ตรวจ และเป็ นสัดส่ วนผกผันกับความถี่ของ
ระดับคุณภาพจากประวัติคุณภาพ

การควบคุมกระบวนการโดยอาศัยสถิติ (Statistics Process Control)


การชักสิง่ ตัวอย่างเพือ่ การยอมรับ
ระดับการประยุกต์

เป็ นการแยกแยะสาเหตุความผั
ความผันแปรแบบผิดธรรมชาติ (Special Cause) ออกจากสาเหตุความ
(AST)
ผันแปรแบบธรรมชาติ (Common Cause) เพื่อหาทางกำจัดทิ้ง และพยายามรักษาให้กระบวนการอยู่
ภายใต้สาเหตุความผันแปรแบบธรรมชาติเสมอ ซึ่ งจะทำให้มีลกั ษณะสำคัญ คือ สามารถคาดการณ์
ตัวแบบความผันแปรได้ การควบคุมกระบวนการ (SPC)
การประยุกต์ ใช้ การควบคุมคุณภาพด้และการศึ กษาความสามารถ
วยวิธีการทางสถิ ติต่างๆ
ของกระบวนการ

การหาค่าความเหมาะสม
ของพารามิเตอร์ดว้ ยการ
ออกแบบการทดลอง
0 (DOE)
เวลา
6

ผลจากการใช้ เทคนิควิธีการทางสถิติเพือ่ ควบคุมคุณภาพ

พิกดั บนของข้ อกำหนด


เฉพาะ
ค่าเฉลี่ยของกระบวนการ

พิกดั ล่างของข้ อกำหนด


เฉพาะ
AST SPC DOE

7 ขัน้ ตอนการแก้ ปัญหาตามแนวทางคิวซีสตอรี่ (QC Story)


1. การกำหนดหัวข้อปัญหา
2. การสำรวจสภาพปัจจุบนั และตั้งเป้ าหมาย  P
3. การวางแผนแก้ไข
4. การวิเคราะห์สาเหตุ
5. การกำหนดมาตรการตอบโต้และการปฏิบตั ิ  D
6. การติดตามผล  C
7. การทำให้เป็ นมาตรฐาน  A

การกำหนดหัวข้ อปัญหา
ในการพิจารณาเลือกปัญหามาแก้ไขจะคำนึงถึง
1. ความถี่ในการเกิดปัญหา
7

2. ความรุ นแรงของปั ญหา


3. ความเป็ นไปได้ในการแก้ปัญหา

ความคาดหมายของลูกค้า

แหล่ งผลิต : ปัจจัยป้ อนเข้า ผลิตภัณฑ์ ลูกค้าภายใน

สาเหตุ ปั ญหา ผลกระทบ

การประเมิน : ระบบการควบคุมปัจจุบนั ความถี่ในการเกิด ความรุ นแรง


(ความสามารถในการแก้ไข) (หรื อโอกาสการเกิดของสาเหตุ) (การใช้งานของลูกค้า)
การวิเคราะห์ สาเหตุ

คำว่า สาเหตุ หมายถึง การแปรเปลี่ยนระดับของปั จจัยป้ อนเข้าสำหรับกระบวนการผลิต


แล้ว ทำให้ค่าที่ควรจะเป็ นของคุณลักษณะของผลลัพธ์จ ากกระบวนการแปรเปลี่ย นไป ดังนั้น
สาเหตุน้ ีจะต้องมาจากการพิจารณาปัจจัยป้ อนเข้าเสมอ การแปรเปลี่ยนของปั จจัยป้ อนเข้าแบ่งเป็ น

Controllable Factors Worker Controllable Factors


Uncontrollable Factors Management Controllable Factors

วิธีการวิเคราะห์ปัญหา จะใช้วิธีการระดมสมองผ่านการสังเกตการณ์จากหลักการ 3 จริ งคือ


สถานที่เกิดเหตุจริ ง สภาพแวดล้อมจริ ง และของจริ ง เพื่อสร้างสมมุติฐานของสาเหตุ จากนั้ นให้
ดำเนินการพิสูจน์ดว้ ยเครื่ องมือทางสถิติที่เหมาะสม ได้แก่ ชุดเครื่ องมือ 7 อย่าง
1. แผนภาพก้างปลา Fish Bone Diagram
2. กราฟ Graph
3. แผนภาพพาราโต Perato Diagram
4. ใบตรวจสอบ Check Sheet
5. ฮีสโตแกรม Histogram
6. แผนภูมิควบคุม Control Chart
7. แผนภาพการกระจาย

แผนภาพก้ างปลา Fish Bone Diagram


8

จากแนวคิดของ ดร. จูอิจิ อิชิกาว่า ได้สร้างแผนภาพ ที่แสดงถึงสาเหตุจากใหญ่มาหาเล็ก


หรื อเหตุและผลทำให้เกิดปัญหา บางครั้งก็เรี ยกว่า แผนภาพ อิชิกาว่า หรื อแผนภาพเหตุและผล
Cause and effect diagram
การวิเคราะห์ กำหนดแนวความคิดของการจำแนกสาเหตุ โดยใช้แนวความคิดจากแหล่ง
กำเนิดของสาเหตุ คือ 4M คือ Man คน Machine เครื่ องจักร Material วัตถุดิบ และ Method วิธีการ
ทำงาน
สาเหตุหลัก
Machine เครื่องจักร Man คน

ขาดการบำรุ ง ไม่มีทกั ษะ สาเหตุยอ่ ย


คนทำงานผิด

ปัญหา
ขาดขั้นตอนมาตรฐาน

ส่ วนผสมไม่สม่ำเสมอ

รู ปที่ 1 แผนภาพก้ างปลา


Method วิ ธี การ
การวิเคราะห์หาสาเหตุเพื่อแก้ปัญหาโดยใช้ แผนภาพก้ Materialางปลา
วัตถุดบิ
การวิเคราะห์ประเภทนี้ จะมุ่งสู่ รายการหาสาเหตุที่ท ำให้เกิดปัญหา จึงได้ใช้แผนภาพก้ าง
ปลาประเภทกำหนดรายการของสาเหตุ โดยมุ่งสู่ รายละเอียดของสาเหตุของปั ญหา ระดมความคิดที่
ใช้ในการสร้างแผนภาพก้างปลาแบบนี้ ใช้หลักการ 3 จริ งของพนักงานในการวิเคราะห์จากการ
วิเคราะห์ใช้หลักการวิเคราะห์ผา่ นหลักการ 3 จริ ง คือ
1) การสังเกตที่หน้างานจริ ง
2) ในสภาพแวดล้อมหรื อสภาวะจริ ง
3) ด้วยการดำเนินการกับงานจริ ง
9

เครื่องจักร วัตถุดบิ
ลูกกลิ้งไม่สม่ำเสมอ ขนาดเม็ดใหญ่ เบนโทไนต์
เก่า
ทรายใหม่ มีสิ่งอื่นผสมอยู่
โม่ ผสมทรายทำงานไม่ ปกติ
สิ่ งเจือปนมาก ทรายเก่า
หมุนไม่สม่ำเสมอ
ขนาดเม็ดทรายต่างกัน

ทรายพัง
เวลาผสมไม่ได้มาตรฐาน ไม่ปฏิบตั ิตามมาตรฐาน ไม่ปิดทรายไว้หลังจากผสมเสร็ จ
ไม่มีการร่ อนทราย ไม่มีวิธีการ ความรี บเร่ ง ขาดความเอาใจใส่
ใส่ ส่วนผสมผิดพลาด เป็ นพนักงานใหม่
การผสมทราย ขาดการทดสอบคุณภพทราย ขาดความรู้เรื่ องทำงาน
ใส่ เบนโทไนต์นอ้ ย ไม่ชงั่ น้ำ การทำแบบหล่อ
ส่ วนผสมไม่มีการตวง ไม่ใส่ ทรายใหม่ ขณะทำแบบผสมน้ำอีก พนักงานขาดประสบการณ์ ขาดความชำนาญ
ไม่มีการฝึ กอบรม
วิธีการ พนักงาน

รูปที่ 2 ตัวอย่างแผนภาพก้ างปลาแสดงสาเหตุของปั ญหาทรายพัง


10

กิจกรรม จงเขียนแผนภาพก้างปลา จากปั ญหาในการทำงานของแผนกท่าน

แผนภูมิ Pareto
หลักการ Pareto
จากหลักการของนักเศรษฐศาสตร์ ชาวอิตาลี คนจำนวนเล็กน้อยมีรายได้จ ำนวนมาก ขณะที่
คนส่ วนใหญ่(จำนวนมาก) มีรายได้เพียงเล็กน้อย เช่น คนรวยเพียง 20% มีรายได้รวมกันถึง 80 %
ในขณะที่ คนที่เหลืออีก 80 % มีรายได้รวมกันแค่ 20%
11

หลักการของพาเรโต คือ ในปัญหาใด ๆ ก็ตามย่อมเกิดขึ้นย่อมเกิดขึ้นจากสาเหตุหลาย ๆ


อย่างและในบรรดาสาเหตุท้ งั หมดนี้จะมีสาเหตุหลักเพียงไม่กี่อย่างที่มีบทบาทสำคัญต่อปั ญหาที่
เกิดขึ้นดังนั้นถ้าแก้ไขให้สำเร็ จลุล่วงอย่างมีประสิ ทธิ ภาพจึงจำเป็ นต้องแก้ไขสาเหตุหลักเสี ยก่อน
การนำแผนภูมิพาเรโตเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ล ำดับสำคัญของสาเหตุหรื อปั ญหาที่เกิดขึ้น โดย
ประยุกต์กราฟแท่งที่แสดงการเรี ยงลำดับค่าของข้อมูลที่มีค่าสู งสุ ดไว้ทางซ้าย แล้วเรี ยงลำดับค่า
ของข้อมูลที่ลดลงมาทางขวาของกราฟ เพื่อใช้เปรี ยบเทียบให้เห็นถึงการลำดับความสำคัญของ
ข้อมูล พร้อมกับระบุขนาดหรื อปริ มาณของความสำคัญที่เสนอนั้น ๆ
ข้อบกพร่ อง/ของเสี ย ส่ วนใหญ่จ ำนวนมาก เกิดจาก ปัญหา/ต้นเหตุ จำนวนน้อย

ข้ อบกพร่ อง
A --> 75%
B --> 15%
C --> 7 %
D --> 3%

รู ปที่ 3 แผนภูมิพาเรโต
การตีความหมายแผนภูมิพาเรโต แผนภูมิพาเรโตใช้ในการตีความหมายความมีเสถียรภาพ
หรื อไม่ของข้อมูลที่จดั เก็บและวิเคราะห์โดยพิจารณาว่า ถ้าข้อมูลเป็ นไปตามหลักการของพาเรโต
แสดงว่าข้อมูลนั้นอยูใ่ นสภาวะเสถียรภาพและสามารถใช้คาดการณ์ได้ แต่ถา้ ข้อมูลไม่ได้เป็ นไป
ตามหลักการของพาเรโตแสดงว่าข้อมูลไร้เสถียรภาพอันเนื่องมาจากข้อมูลที่เก็บมาอยูใ่ นการปรับ
ตัว (Transient State) เข้าสู่ สภาวะเสถียรภาพ จึงควรมีการเก็บข้อมูลเพิ่มเติมอีก หรื ออีกกรณี หนึ่ง
คือ ข้อ มูล นั้น มาจากกระบวนการที่ไ ร้เ สถีย รภาพมีค วามจ ำเป็ น ต้อ งแก้ไ ขด้ว ยการท ำให้
กระบวนการมีมาตรฐาน
ตัวอย่างการสร้ างแผนภูมิ Pareto

แสดงเปอร์เซ็นต์ของเสี ย

ลำดับที่ ชนิดของเสี ย เปอร์เซนต์ของเสี ย เปอร์เซนต์สะสม


1 A. ทรายพัง 52.76 52.76
2 B. รู พรุ น 13.79 66.55
3 C. มีครี บ 9.31 75.86
4 D. หัวน้ำกินเนื้องาน 8.45 84.31
5 E. ไม่เต็มแบบ 6.21 90.52
12

6 F. ผิวไม่เรี ยบ 4.65 95.17


7 G. แบบหล่อโปร่ งพอง 3.45 98.62
8 H. โก่งตัว 1.38 100
รู ปที่ 4 ตัวอย่างแผนภูมิพาเรโตของของเสี ยในการผลิต

กิจกรรม
คำร้องเรี ยกของลูกค้า ที่ส่งมาให้ฝ่ายการตลาด ประกอบด้วย ข้อมูลดังนี้

1. ส่ งสิ นค้าล่าช้ากว่ากำหนด จำนวน 24 เรื่ อง


2. สิ นค้าไม่ตรงรายการในใบส่ งของ จำนวน 5 เรื่ อง
3. สิ นค้าเสี ยหายจากการส่ ง จำนวน 9 เรื่ อง
4. สิ นค้ามีต ำหนิ จำนวน 3 เรื่ อง

จงเขียนแผนภูมิ พาเรโต พร้อมอธิบายหลักกการ

ลำดับที่ คำร้องเรี ยน เปอร์เซนต์ เปอร์เซนต์สะสม


1
2
3
4
5
6
7
8

เปรอ์ เซนต์ = จำนวน x100


จำนวนทั้งหมด
13

ใบตรวจสอบ Check Sheet


ใบตรวจสอบ เป็ นเอกสารที่อยูใ่ นรู ปตาราง แบบฟอร์ม หรื อแผนภาพใด ๆ ที่ออกแบบให้
มีลกั ษณะง่ายต่อการจดบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูลหรื อการวิเคราะห์ผลอาจจะทำเป็ นรู ปแบบ
ตารางแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ที่ตอ้ งการตรวจสอบไว้พร้อมแล้ว สามารถนำไปใช้งานได้โดยไม่
ต้องกรอกรายละเอียดใหม่ เพียงแต่กาเครื่ องหมายลงไปในช่องที่ตรงกับรายละเยดที่จดเอาไว้
เท่านั้น
ใบตรวจสอบ ใช้ในการตรวจหาสิ่ งผิดปกติในการดำเนินการ การผลิต การทำงานต่างๆ
ลักษณะเป็ นเอกสารแผ่นเดียวที่มี รายละเอียดของสิ่ งผิดปกติ และรายการการตรวจสอบ ตำแหน่ง
หรื อจุดที่ท ำการตรวจสอบ
การออกแบบใบตรวจสอบ ให้พิจารณาดังนี้
 สถานที่ หน้างานที่จะตรวจสอบ
 ผลิตภัณฑ์ / การทำงานที่จะตรวจสอบ
 คุณลักษณะทางคุณภาพที่ตอ้ งการตรวจสอบ แบ่งเป็ น
คุณลักษณะที่วดั ได้ โดยใช้เครื่ องมือวัด เช่น ขนาดของชิ้นงาน ใช้เวอร์เนียวัด
ความแข็งของชิ้นงาน
และวัดไม่ได้โดยแต่บอกได้ ส่ วนใหญ่ใช้การตรวจสอบด้วยตาเทียบกับมาตรฐาน
เช่น รอยตำหนิ
 สามารถการตรวจสอบลักษณะคุณภาพได้หลาย ลักษณะในใบเดียวกัน
 แบ่งการตรวจสอบ เป็ นตามราย เดือน รายลัปดาห์ รายวัน หรื อรายกะ หรื อ Lot
ที่ท ำการตรวจสอบ
ตัวอย่ างใบตรวจสอบ
วันที่ 1/11/46 ชื่อชิ้นงาน เหล็กเพลท สายการผลิตที่ A
การตรวจสอบแบบ 100%
ประเภทสิ่งบกพร่ อง กะเช้ า กะบ่ าย กะดึก
1. ไม่ ได้ ขนาด // /// //

2. มีรอยขีดข่ วน /////// /////// //////

3. ความเรียบ //// //// ////


4. อืน่ ๆ /// / //
14

ผู้ตรวจ ……/………./……… ผู้ทบทวน ……/………./………

ตัวอย่างใบตรวจสอบแบบหลายแผนก

วันที่ 1/11/46 ชื่อชิน้ งาน เหล็กเพลท ตรวจ 100%


กะงาน
สายการผลิต
เข้ า บ่ าย ดึก

  


A   
  

  


B   

 = ขนาด = รอยขีดข่วน  = ความเรี ยบ  = อื่น ๆ


ผูต้ รวจ ……/………./……… ผูท้ บทวน ……/………./………

ตัวอย่างใบตรวจสอบของการทำงาน
วันที่ 1/11/46 ชื่องาน คำร้องเรี ยนของลูกค้า แผนก ตลาด
ประเภทสิ่งบกพร่ อง สป 1 สป 2 สป 3 สป 4
1. ส่ งสิ นค้าล่าช้ ากว่า
/////// ///////// ////// ///////
กำหนด
2. สิ นค้ าไม่ ตรง
// / / /
รายการในใบส่ งของ
3. สิ นค้ าเสียหายจาก
/// // // //
การส่ ง
4. สิ นค้ ามีตำหนิ / / /
5. อืน่ ๆ / /
ผู้ตรวจ ……/………./… ผู้ทบทวน ……/………./………

กิจกรรม จงออกแบบใบตรวจสอบที่แผนกของท่ านต้ องใช้ งาน


15

ฮีสโตแกรม Histogram
ฮีสโตแกรม Histogram เป็ นลักษณะ กราฟ แท่งที่แสดงการแจกแจงของความผันแปร และสิ่ งปกติ
ว่ามีการกระจายตัวเป็ นลักษณะใด เช่นการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution)
ประโยชน์ของการใช้ฮีสโตแกรม เพื่อวิเคราะห์หาดูความผันแปร สาเหตุและสิ่ งผิดปกติของการ
ดำเนินการต่างๆ สิ่ งปกติจากผลิตภัณฑ์ รวมทั้ง วิเคราะห์เพื่อดูลกั ษณะธรรมชาติของข้อมูล

การสร้ าง ฮีสโตแกรม
 นำข้อมูลดิบที่ได้มาเรี ยงลำดับข้อมูล
 คำนวณหา ชั้นข้อมูล
 แบ่งข้อมูลตามชั้น
 แบ่งช่วงกราฟตามชั้นข้อมูล
16

 สร้างกราฟตามข้อมูล

การตีความหมายฮีสโตแกรม
การกระจายตัวข้อมูล ในรู ปทรงการกระจายตัวในรู ปที่ 5 , เป็ นรู ปทรงหวีหกั แสดงว่ากระบวนการ
ทำที่ไม่ได้มาตรฐาน
ความถี่

รู ปที่ 5 ฮีสโตแกรมแสดงการกระจายของความกว้ างของข้ อมูลรู ปหวีหัก

ส่ วนรู ปที่ 6 รู ปทรงในการกระจายตัวจะเป็ นรู ปทรงระฆังคว่ำ กล่าวคือข้อมูลจะมีความปกติของ


ข้อมูล มีค่าค่าหนึ่งอยูต่ รงกลางและมีการกระจายตัวอย่างเป็ นสมมาตรซ้ายขวา เนื่องจากความ
ผันแปรอย่างเป็ นธรรมชาติ
ความถี่
17

รู ปที่ 6 ฮีสโตแกรมแสดงการกระจายของความกว้ างของข้ อมูล แบบระฒังคว่ำ

กิจกรรม
ในการเก็บข้อมูลด้านความพึงพอใจของลูกค้า ได้คา่ ดังนี้

ลูกค้าคนที่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการส่ งของ


1 6 7 4
2 4 6 6
3 7 7 7
4 5 6 4
5 7 8 5
6 8 8 7
7 4 6 6
8 7 7 6
9 6 6 4
10 5 6 3
11 9 7 7
12 7 7 9
13 6 8 6
14 7 7 5
15 7 6 4
18

16 5 6 6
18 6 5 7
19 8 6 5
20 9 6 5
21 6 7 8
22 5 8 4
23 4 8 7
24 7 7 6
25 8 8 3
ค่าเฉลี่ย

4 3
5 4
6 5
7 7
8 3
9 2
19

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

แผนภูมิควบคุม
แผนภูมิควบคุมเป็ นแผนภูมิกราฟแนวนอนที่ใช้ควบคุมการผลิตลักษณะของแผนภูมิจะเป็ น
กราฟของสิ่ งที่ตอ้ งการควบคุม เขียนเทียบกับเวลาวัตถุประสงค์ของแผนภูมิควบคุมคือ การควบคุม
กระบวนการผลิต เพื่อ ให้รู้ว า่ ณ เวลาใดที่มีปัญ หาเรื่ อ คุณ ภาพ ทั้ง นี้เ พื่อ การแก้ไ ขปรับ ปรุ ง
การวิเคราะห์ความเสถียรภาพของแผนภูมิเพื่อการคาดการณ์น้ี นอกจากจะใช้แผนภาพพาเรโต
สำหรับข้อมูลที่จ ำแนกประเภทแล้ว ถ้าหากข้อมูลดังกล่าวมีพียงประเภทเดียว เช่นค่าใช้จ่ายรวม
ค่าแรงดึงน้ำหนักบรรจุ ฯลฯ มีความจำเป็ นจะต้องวิเคราะห์ผา่ นแผนภูมิควบคุม (Control Chart)
กระบวนการผลิตเพื่อให้กลับสู่ สภาพปรกติ แผนภูมิควบคุมมีความสำคัญเป็ นอย่างมากและมี
ลักษณะต่าง ๆ หลายรู ปแบบแล้วแต่ลกั ษณะของการควบคุม

ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลจะใช้แผนภูมิ - R Chart โดยมีข้ นั ตอนการวิเคราะห์ดงั นี้


 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยทัว่ ไปจะต้องไม่นอ้ ยกว่า 20 กลุ่ม และการเก็บ
ข้อมูลจะแบ่งช่วงเวลาที่ใช้ในการเก็บโดยจะสุ่ มเก็บ การเก็บข้อมูลจะเก็บอาทิตย์ละ 5 โม่
 จัดข้อมูลออกเป็ นกลุ่ม
การจัดข้อมูลนั้นจะได้จากการทดสอบจากกลุ่มข้อมูลข้อมูลที่ 1 เป็ นของกลุ่มที่ 1
ข้อมูลที่ 2 เป็ นของกลุ่มที่ 2 แต่ละกลุ่มจะมีขอ้ มูลเท่ากันตั้งแต่ 2 - 10 ข้อมูล
 บันทึกข้อมูลในแผ่นบันทึกข้อมูลหรื อใบตรวจสอบ
แผนข้อมูลควรออกแบบเพื่อให้การคำนวณค่าของ และ R ในแต่ละกลุ่มย่อย
ได้ง่าย ( n ข้อมูล กลุ่มล่ะ) , ( k กลุ่มข้อมูล)
 หาค่าเฉลี่ยของแต่ละกลุ่ม
สูตรคำนวณ
= =
 หาค่าพิสยั ของแต่ละกลุ่ม
สูตรคำนวณ R = XL - XS
XL = ข้อมูลที่มีค่ามากที่สุดในกลุ่ม , XS = ข้อมูลที่มีค่าน้อยที่สุดในกลุ่ม

 หาค่าเฉลี่ยของข้อมูลทั้งหมดโดยรวมค่าเฉลี่ยของแต่ละกลุ่มเข้าด้วยกันแล้วหารด้วย
จ ำ น ว น ก ล ุ่ ม
20

สูตรคำนวณ
= =
 หาค่าเฉลี่ยของพิสยั โดยรวมจำนวนเฉลี่ยทุกกลุ่มหารด้วยจำนวนกลุ่ม
สูตรคำนวณ
= = K

 คำนวณเส้นพิกดั ควบคุม
แผนภูมิควบคุม X
เส้นควบคุมบน ( Upper Control Limit , UCL) = + A2
เส้นกึ่งกลาง ( Center Line , CL) =
เส้นควบคุมล่าง ( Lower Control Limit , LCL) = - A2
แผนภูมิควบคุม R
เส้นควบคุมบน (UCL) = D4
เส้นกึ่งกลาง (CL) =
เส้นควบคุมล่าง (LCL) = D4

ตาราง ค่าคงที่สำหรับการคำนวณพิกดั ควบคุม แผนภูมิควบคุม

 สร้างแผนภูมิควบคุมโดยใช้กระดาษแบ่งเป็ นช่องๆ ที่มีระยะห่างแน่นอน เช่น


กระดาษกราฟแนวแกนนอนแบ่งเป็ นช่องเวลาหรื อลำดับ แกนตั้งแบ่งเป็ นข้อมูล โดยแผนภูมิ
และ R จะแบ่งเป็ น 2 แผนภูมิ โดยมาก จะอยูข่ า้ งบน และ R จะอยูข่ า้ งล่าง
 นำค่า ไปพล๊อตลงในแผนภูมิ และค่า R ไปพล๊อตลงในแผนภูมิ R
โดยจะพล๊อตค่าตั้งแต่ซา้ ยก่อนแล้วเลื่อนมาทางขวามือ ตามลำดับ การแบ่งช่องก็แบ่งพองาม
 สูตรคำนวณค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
21

= *

แบบกระจายมากและมีการออกนอกเขตควบคุม

L
แบบแนวโน้ ม อาจทำให้ ออกนอกเขตควบคุมได้
U

L
แบบการควบคุมดี ตามอดุมคติ
L
U
C
C
L
L
22

ตาราง ค่า d2* สำหรับการประมาณค่า  ด้วย


23

ตัวอย่ าง
ตาราง แสดงข้อมูลการทดสอบปริ มาณความชื้ น

โม่ที่ ครั้ง 1 ครั้ง 2 ครั้ง 3 R


1 6.95 6.00 6.50 6.48 0.95
2 5.60 6.15 5.00 5.58 1.15
3 4.92 5.55 5.19 5.22 0.63
4 5.51 5.20 5.40 5.25 0.31
5 6.24 5.46 4.82 5.506 0.47
6 5.8 5.40 5.20 5.46 0.60
7 6.52 5.85 4.97 5.78 1.55
8 6.78 6.38 6.29 6.48 0.163
9 5.00 4.60 4.96 4.85 0.40
10 5.94 5.80 5.97 5.903 0.17
11 5.40 4.80 5.60 5.266 1.20
12 6.00 5.80 6.00 5.933 0.20
13 6.68 6.40 6.20 6.426 0.48
14 5.62 5.60 4.62 5.131 0.9
15 6.00 5.40 5.60 5.66 0.6
16 6.00 6.24 6.00 6.08 0.24
17 5.40 5.80 5.60 5.60 0.40
18 6.00 6.40 6.68 6.36 0.68
19 5.34 6.22 4.82 5.46 1.40
20 5.80 6.20 4.92 5.64 1.28

จากแผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยสามารถคำนวณค่าพิกดั ควบคุมค่าฉลี่ยได้ดงั นี้ (ค่า A2 ได้จากตารางที่


ซ.3 ในภาคผนวก )
UCL = + A2 = 5.720 + (1.023)(0.7325) = 6.469
CL = = 5.720
LCL = - A2 = 5.720 - (1.023)(0.7325) = 5.13195
จากข้อมูลจากตาราง นำเอาค่าเฉลี่ยมาพล๊อตในแผนภูมิควบคุม – Chart ได้ผลดังรู ปที่
7 และแผนภูมิควบคุมพบว่าค่าเฉลี่ยทั้งหมดของแต่ละโม่ เมื่อพิจารณาถึงคุณสมบัติในการตรวจ
จับความผันแปรของข้อมูล
24

รู ปที่ 7
เมื่อนำค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่ได้จากการทดสอบหาเปอร์เซ็นความชื้ นมา พล๊อตลงในแผนภูมิ
ควบคุมค่าเฉลี่ยจะพบว่าค่าของข้อมูลจะไม่ออกนอกพิกดั ควบคุมดังรู ปที่ 7

เมื่อทำการพิจารณาจากผลการวิเคราะห์ของแผนภูมิควบคุมค่ าพิสัยซึ่ งจะได้ค่าพิกดั ดังนี้

UCL = D4 = (2.574)(0.7325) = 1.886


CL = = 0.7325
LCL = D4 = (0)(0.7325) = 0.0000
25

รู ปที่ 8
เมื่อนำค่าพิสยั มาพล๊อตในแผนภูมิควบคุม R – Chart ดังรู ปที่ 8 และจากแผนภุมิควบคุม
จะพบว่า ค่า พิส ยั ทั้ง หมดอยูใ่ นเส้น ควบคุม จึง สรุ ป ได้ว า่ ข้อ มูล ที่ท ำการทดสอบมาดัง กล่า วมี
คุณสมบัติดา้ นความแยกแยะความแตกต่างและการกระจายตัวของข้อมูลได้ดี

กิจกรรม
จงสร้าง แผนภูมิควบคุม
ครั้งที่สุ่มตรวจ ขนาด ครั้งที่สุ่มตรวจ ขนาด
#1 5 #11 4
#2 7 #12 6
#3 8 #13 7
#4 6 #14 4
#5 5 #15 7
#6 8 #16 4
#7 6 #17 8
#8 9 #18 10
#9 13 #19 11
#10 6 #20 14
26

You might also like