You are on page 1of 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Standard Procedure)

เรื่องการควบคุมเครื่องมือวัด และการทวนสอบความสามารถ
รหัสเอกสาร : SP-QC-01
ฉบับที่ 0 วันที่ 19 สิ งหาคม 2556
หน้ าที่ : 1 / 6

จัดทำโดย: ตรวจสอบโดย: อนุมตั ิโดย:


ลงนาม

ชื่อ-สกุล
ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ ายควบคุมคุณภาพ ผูแ้ ทนฝ่ ายบริ หาร กรรมการผูจ้ ดั การ

ตารางการแจกจ่ ายเอกสาร
ลำดับที่ สำเนาที่ ผู้ครอบครองเอกสาร สถานที่เก็บ

1. วัตถุประสงค์
1.1. เพื่อให้มนั่ ใจว่าเครื่ องตรวจ เครื่ องมือวัด และเครื่ องทดสอบที่ใช้งานในองค์กรที่มีผลต่อคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์/บริ การ มีความเที่ยงตรงและแม่นยำ รวมถึงเพื่อใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงานของผูส้ อบเทียบ
1.2. เพื่อให้มนั่ ใจว่าบุคลากรที่ตอ้ งมีเชี่ยวชาญทางเทคนิคสามารถได้มีความสามารถตามคุณสมบัติที่กำหนด ปฏิบตั ิ
งานบรรลุผลตามที่วางแผน และยังคงความสามารถตลอดเวลาที่ปฏิบตั ิงานโดยกระบวนการทวนสอบความ
สามารถ

2. ขอบข่ าย

ต้นฉบับเอกสารควบคุม
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Standard Procedure)
เรื่องการควบคุมเครื่องมือวัด และการทวนสอบความสามารถ
รหัสเอกสาร : SP-QC-01
ฉบับที่ 0 วันที่ 19 สิ งหาคม 2556
หน้ าที่ : 2 / 6
2.1. ครอบคลุมถึงการจัดทำรายการเครื่ องมือตรวจวัด และทดสอบ ทำแผนการสอบเทียบ ควบคุมการสอบเทียบและ
ปรับเทียบ การวิเคราะห์ผล การชี้ บ่งผลการสอบเทียบ และการควบคุมการนำไปใช้ของเครื่ องมือตรวจวัด และ
ทดสอบที่มีผลต่อคุณภาพผลิตภัณฑ์
2.2. ครอบคลุมถึงการจัดทำรับรองความสามารถ วิธีการรับรอง การทวนสอบความสามารถซ้ำหรื อทวนสอบโดยการ
ตรวจวัดหรื อการเฝ้ าระวังบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษ
2.3. การควบคุมการดำเนินงานอยูภ่ ายใต้ความรับผิดชอบของฝ่ ายควบคุมคุณภาพ บริ ษทั ddddd จำกัด

3. เอกสารที่เกีย่ วข้ อง
3.1. ตารางรับรองความสามารถบุคลากร
3.2. แบบทดสอบความสามารถบุคลากร

4. คำนิยาม
4.1. การสอบเทียบ (Calibration)
หมายถึง การดำเนินการทางมาตรวิทยาเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างค่าชี้บอก โดยเครื่ องวัดหรื อระบบการวัด
หรื อค่าที่แสดงโดยเครื่ องวัดที่เป็ นวัสดุกบั ค่าสมนัยที่รู้ของปริ มาณที่วดั ภายใต้ภาวะที่บ่งชี้ไว้
4.2. การทวนสอบ (Verification)
หมายถึง การยืนยันโดยการตรวจสอบและมีหลักฐานแสดงว่าเป็ นไปตามข้อกำหนดที่ระบุ
4.3. เครื่ องมือวัดที่มีผลต่อคุณภาพผลิตภัณฑ์
หมายถึง เครื่ องมือที่ใช้วดั ตรวจสอบ ทดสอบผลิตภัณฑ์ ความเสี่ ยงด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย และ
ผลการใช้งานดังกล่าวถูกนำมาตัดสิ นคุณภาพผลิตภัณฑ์/เครื่ องมือ/กระบวนการ/สภาวะแวดล้อมในการทำงาน
เช่น ใช้ได้/ไม่ได้ ดี/ไม่ดี ผ่าน/ไม่ผา่ น เป็ นต้น
4.4. เครื่ องมือที่ไม่ตอ้ งทำการสอบเทียบ หมายถึง เครื่ องมือวัดที่ไม่มีผลกระทบต่อคุณภาพผลิตภัณฑ์ ความเสี่ ยงด้าน
อาชีวอนามัย และความปลอดภัย
4.5. External Calibration (การสอบเทียบภายนอก)
หมายถึง การสอบเทียบซึ่งกระทำโดยองค์กรสถาบันภายนอกบริ ษทั ที่มีมาตรฐาน เป็ นหน่วยงานที่ยอมรับจาก
ลูกค้า สถาบัน มหาวิทยาลัย กรมกองต่างๆของหน่วยงานราชาร และสามารถสอบกลับไปยังสถานบันมาตรฐาน
แห่งชาติ หรื อองค์กรนานาชาติได้
4.6. Internal Calibration (การสอบเทียบภายใน)
หมายถึง การสอบเทียบซึ่งกระทำโดยบุคลากรขององค์กร ซึ่งผ่านการฝึ กอบรมเรื่ องการสอบเทียบเครื่ องมือวัด
รับผิดชอบในการสอบเทียบ โดยใช้เครื่ องมือวัดที่อา้ งอิงมาตรฐานผูผ้ ลิต หรื อหากไม่สามารถอ้างอิงหรื อสอบ
กลับได้ บริ ษทั ฯ ได้กำหนดวิธีการสอบเทียบไว้เป็ นเอกสารคูม่ ือการสอบเทียบเครื่ องมือวัด ซึ่งจะดำเนินการ
สอบเทียบภายใต้สภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม
4.7. ความสามารถ (competence)
หมายถึงความสามารถที่แสดงให้เห็นถึงการประยุกต์ใช้องค์ความรู้และทักษะในการทำงาน
4.8. การรับรองกระบวนการ
หมายถึงกระบวนการรับรองกระบวนการผลิตและบริ การ เมื่อผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการนั้น ไม่สามารถ
ทวนสอบได้ดว้ ยการเฝ้ าติดตาม หรื อ ตรวจวัด รวมถึงกระบวนการใด ๆ ที่จะพบข้อบกพร่ องของผลิตภัณฑ์น้ นั
ได้ เมื่อได้นำผลิตภัณฑ์ไปใช้ หรื อ ได้ใช้บริ การไปแล้ว

ต้นฉบับเอกสารควบคุม
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Standard Procedure)
เรื่องการควบคุมเครื่องมือวัด และการทวนสอบความสามารถ
รหัสเอกสาร : SP-QC-01
ฉบับที่ 0 วันที่ 19 สิ งหาคม 2556
หน้ าที่ : 3 / 6
5. รายละเอียดขั้นตอนการทำงาน

ส่ วนที่ 1 การควบคุมเครื่องมือวัด
5.1 การกำหนดรหัสเครื่ องมือวัด/ทดสอบ
เจ้าหน้าที่ฝ่ายควบคุมคุณภาพทำการการกำหนดรหัสเครื่ องมือวัด/ทดสอบที่มีผลต่อคุณภาพผลิตภัณฑ์
5.1.1 ทำการกำหนดรหัสเครื่ องมือวัด ทดสอบ ดังนี้ตาม Code No. ดังนี้
THI-X1-X2-xxx
THI หมายถึงชื่อย่อองค์กร
X1 หมายถึงประเภทเครื่ องมือ ใช้ตวั ย่อ 1 ตัว
การให้รหัส X1 คือ D: เครื่ องมือวัด
X2 หมายถึงประเภทการใช้งาน ใช้ตวั ย่อ 1 ตัว ใช้ตวั แรกของชื่ออุปกรณ์ หากซ้ำใช้ตวั แรกของคำที่2
หรื อใช้ตวั อักษรที่ 2 ของคำแรก (กรณี ที่มีคำเดียว)
การให้รหัส X2 คือ M : Measurement (เครื่ องมือวัด)
- xxx หมายถึง ลำดับเครื่ องมือที่ใช้เลขนับ 3 ลำดับ โดยเริ่ มจากลำดับน้อย ไปมาก คือ 001, 002, 003
….nnn
5.1.2 จัดทำรายการอุปกรณ์ลงในรายการเครื่ องมือวัด
5.1.3 จัดทำ Hand Stamp รหัสอุปกรณ์ตาม FIFO Consumable Report ติดลงบนเครื่ องมือวัดในพื้นที่ที่เห็นได้
ชัดเจน และไม่เสี่ ยงต่อการหลุด/หาย หรื อติดในบริ เวณที่ป้องกันการปรับแต่ง/แก้ไข

5.2การชี้บ่งผลการสอบเทียบ
5.2.1 เจ้าหน้าที่ฝ่ายควบคุมคุณภาพทำการชี้บ่งผลการสอบเทียบ/ทวนสอบเครื่ องวัดด้วยฉลาก ดังนี้
- ผลสอบเทียบ ผ่าน ชี้บ่งด้วยฉลากที่มาจากหน่วยงานสอบเทียบ/ทวนสอบ หรื อชี้บ่งเอง ดังนี้
PASS
Cal date…./….../…. Due date…./….../….
……..(ลงนาผูว้ ิเคราะห์ผล).......

- ผลสอบเทียบ ไม่ผา่ น ชี้บ่งด้วยฉลาก ดังนี้


No PASS
Status..“รอการแก้ไข”/ “ห้ ามนำไปใช้ งาน”..
Cal date…./….../…. ...(ลงนาผูว้ ิเคราะห์ผล)..

5.2.2 การระบุสถานะเครื่ องมือวัดทดสอบ


กรณี ผลการสอบเทียบไม่เป็ นไปตามค่าความเที่ยงตรงที่กำหนด ดังนี้
- กรณี ที่ซ่อมได้ หรื อปรับแต่งได้ติดป้ าย “รอการแก้ไข” สี แดง
- กรณี ซ่อมไม่ได้ติดฉลาก “ห้ ามนำไปใช้ งาน” สี แดง

ต้นฉบับเอกสารควบคุม
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Standard Procedure)
เรื่องการควบคุมเครื่องมือวัด และการทวนสอบความสามารถ
รหัสเอกสาร : SP-QC-01
ฉบับที่ 0 วันที่ 19 สิ งหาคม 2556
หน้ าที่ : 4 / 6
5.3 การกำหนดค่ าเครื่องมือวัด
5.3.1 การกำหนดค่าเครื่ องมือวัด ดังนี้
- ค่าความเที่ยงตรง : กำหนดจากคู่มือของเครื่ องมือวัด กรณี ที่ไม่มีคู่มือของเครื่ องมือวัด
- ความผิดพลาดที่ยอมรับได้ : ให้กำหนดจากค่าที่อ่านได้ละเอียดที่สุดของเครื่ องมือวัด นั้นๆ และค่า
ความเที่ยงตรงต้องน้อยกว่าหรื อเท่ากับมาตรฐานที่ตอ้ งการวัด
- ประเภทการใช้งาน
- ช่วงการวัด
- ความถี่ในการสอบเทียบ : กำหนดตามความเหมาะสม ตามลักษณะการใช้งาน

ส่ วนที่ 2 การสอบเทียบ/ทวนสอบเครื่องมือวัด
5.4 การชี้บ่งเครื่ องมือตรวจวัด และทดสอบ
5.4.1 พิจารณาเครื่ องมือวัด ทดสอบตัวนั้นๆว่ามีผลต่อมีผลกระทบต่อคุณภาพผลิตภัณฑ์ และ/หรื อความ
เสี่ ยงด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย
5.4.2 กำหนดรหัสเครื่ องวัดวัด ทดสอบทุกตัวตามข้อ 5.1
5.4.3 ชี้บ่งเครื่ องมือตรวจวัด และทดสอบที่ตวั เครื่ อง และที่ภาชนะบรรจุจะต้องติดในตำแหน่งที่สามารถ
เห็นได้ชดั
5.5 จัดทำรายการเครื่ องมือวัด
จัดทำบัญชีรายชื่อเครื่ องมือวัดในรายการเครื่ องมือวัด และจัดทำทุกครั้งที่มีเครื่ องมือวัดทดสอบใหม่
5.6 จัดทำแผนการสอบเทียบ
5.6.1 เครื่ องมือวัด ทดสอบที่ตอ้ งทำการสอบเทียบหรื อทวนสอบต้องนำมาจัดทำแผนการเทียบ
5.6.2 กำหนดค่าการเพื่อกำหนดช่วงการสอบเทียบเครื่ องมือวัด ตามข้อ 5.3 การกำหนดค่าเครื่ องมือวัด
5.6.3 ส่ งแผนให้ผจู้ ดั การฝ่ ายพิจารณา และส่ งให้ผจู้ ดั การอนุมตั ิ
5.7 ควบคุมแผนการสอบเทียบ
5.7.1 หัวหน้าฝ่ ายควบคุมคุณภาพควบคุมให้มีการสอบเทียบ หรื อทวนสอบตามแผนที่กำหนด
5.7.2 ทำการสอบเทียบเครื่ องมือวัดแบบ External Calibration แบะดำเนินการตามขั้นตอนการดำเนิน
งานการจัดซื้อ จัดจ้าง
5.8 ตรวจสอบเครื่ องมือวัด และวิเคราะห์ผลการสอบเทียบ
5.8.1 เมื่อได้ผลการสอบเทียบหัวหน้าฝ่ ายควบคุมคุณภาพต้องตรวจสอบเครื่ องมือวัด ทดสอบที่นำกลับ
มาดังนี้
- รหัสเครื่ องมือ/Serial No.
- Calibration Date
- มาตรฐานที่ทำการสอบเทียบ
- ผลการสอบเทียบ
5.8.2 เครื่ องวัดที่นำ กลับมาเป็ นตัวเดียวกับที่นำ ไปสอบเทียบให้ดำเนินการวิเคราะห์ผลการสอบเทียบ
ดังนี้

ต้นฉบับเอกสารควบคุม
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Standard Procedure)
เรื่องการควบคุมเครื่องมือวัด และการทวนสอบความสามารถ
รหัสเอกสาร : SP-QC-01
ฉบับที่ 0 วันที่ 19 สิ งหาคม 2556
หน้ าที่ : 5 / 6
- ค่า Error ไม่เกิน Usage Accuracy
- ตรวจสอบความถูกต้อง และความพร้อมของการใช้งานเครื่ องมือนั้น
5.8.3 จัดทำ ประวัติผลการสอบเทียบ

5.9 ชี้บ่งผลการสอบเทียบ และระบุสถานะเครื่ องมือวัด


หัวหน้าฝ่ ายควบคุมคุณภาพควบคุมให้มีการติดฉลากชี้ บ่งสถานะการสอบเทียบที่เครื่ องมือจุดที่หา้ มปรับ
แต่ง หรื อจุดที่มีการเปิ ดเพื่อเข้าไปปรับแต่ง ตามข้อ 5.2

5.10 การดูแลรักษาเครื่ องมือวัด


5.10.1 จัดเก็บในภาชนะบรรจุที่มีความเหมาะสมและแข็งแรงเพื่อป้ องกันการเสี ยหายหรื อชำรุ ด จัดวางใน
ลักษณะที่เครื่ องมืออยูต่ ิดกับบรรจุภณั ฑ์ และจัดเก็บในพื้นที่/ตู้
5.10.2 พื้นที่จดั เก็บในพื้นที่ที่ไม่ช้ืน ไม่ใกล้สนามแม่เหล็ก บริ เวณที่มีไอระเหยสารเคมี ฝุ่ น สภาพที่
ปลอดภัยไม่ทำให้ค่าความถูกต้อง แม่นยำ เที่ยงตรง คลาดเคลื่อน และจัดเก็บตามสภาวะที่กำหนด
ไว้ใน “คู่มือฯ”

5.11 การยืม-คืนเครื่ องมือวัด


เมื่อต้องการยืมอุปกรณ์งานบริ การฝึ กอบรม
5.11.1 ให้ผยู้ มื ทำเอกสารการขอยืมเครื่ องมือวัด ทดสอบอุปกรณ์
5.11.2 ตรวจสอบเครื่ องมือวัด ทดสอบและลงนามพร้อมระบุผลการตรวจเฉพาะที่ไม่ปกติลงในเอกสาร
การขอยืมเครื่ องมือวัดก่อนให้ยมื ไปใช้งาน
5.11.3 รับคืนเครื่ องมือวัดจากผูย้ มื ทำการตรวจสอบตามข้อ 5.11.2 และให้ผยู้ มื ลงชื่อในเอกสารการขอยืม
1
1
เครื่ องมือวัด

5.12 การจัดการเครื่ องมือวัด ทดสอบเสี ยหาย


กรณี เสี ยหายหรื อสงสัยสภาพเครื่ องมือวัด ทดสอบเช่น ตกหล่อน ฉลากขาด ให้ทำการตรวจสอบ และแจ้ง
หัวหน้าฝ่ ายควบคุมคุณภาพพร้อมเอกสารรายงานเครื่ องมือเสี ยหายเพื่อดำเนินการพิจารณาดำเนินการต่อไป

ส่ วนที่ 3 การรับรองความสามารถบุคลากร
1. การกำหนดคุณสมบัติ และความสามารถบุคลากร
ผูจ้ ดั การโรงงาน หัว หน้าฝ่ ายควบคุมคุณ ภาพ และหัวหน้าฝ่ ายบุคคลร่ วมพิจารณาจัด ทำตารางความสามารถ
บุคลากรที่ตอ้ งมีความเชียวชาญพิเศษเพื่อทำการประเมินคัดเลือก และรับรองความสามารถตามช่วงเวลา

2. จัดทำแบบทดสอบเพื่อรับรองความสามารถ
2.1. หัวหน้าฝ่ ายควบคุมคุณภาพดำเนินออกแบบทดสอบที่ตอ้ งแสดงถึงความสามา รถของบุคลากรในจุดวิกฤตที่
ต้องควบคุมว่าสามารถการบรรลุผลที่กำ หนดไว้ ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อ /วิธีการทดสอบ พร้อมเกณฑ์การ
ตัดสิ น
2.2. ส่ งแบบทดสอบเพื่อรับรองความสามารถให้ผจู้ ดั การโรงงานอนุมตั ิ

ต้นฉบับเอกสารควบคุม
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Standard Procedure)
เรื่องการควบคุมเครื่องมือวัด และการทวนสอบความสามารถ
รหัสเอกสาร : SP-QC-01
ฉบับที่ 0 วันที่ 19 สิ งหาคม 2556
หน้ าที่ : 6 / 6
2.3. ส่ งแบบทดสอบที่ผา่ นการอนุมตั ิแล้วให้เจ้าหน้าที่ควบคุมเอกสารเพื่อดำเนินการควบคุมตามเอกสารขั้นตอน
การดำเนินงานเรื่ องการควบคุมเอกสาร
2.4. ทำการทบทวนเปลี่ยนแปลงแบบทดสอบเมื่อกฎหมาย หรื อข้อ กำหนดลูกค้า เกณฑ์มาตรฐานที่ใช้มีการ
เปลี่ยนแปลง หรื อเมื่อต้องการยกระดับความสามารถบุคลากร

3. ดำเนินการทดสอบความสามารถ
3.1. หัวหน้าผูค้ วบคุมงานทำการทดสอบความสามารถบุคลากรเมื่อแรกสมัครเข้ามางานตามตาราง ตารางรับรอง
ความสามารถบุคลากร
3.2. กรณี ทดสอบโดยการปฏิบตั ิงาน
3.2.1. ต้องส่ งใบคำร้องขอการ Inspection ให้ฝ่ายควบคุมคุณ ภาพเพื่อ ทำการตรวจสอบผลทดสอบการ
ปฏิบตั ิงาน
3.2.2. หัวหน้าฝ่ ายควบคุมคุณภาพควบคุมให้มีตรวจสอบผลการทดสอบ และตัดสิ นผลตามเกณฑ์ตาราง
รับรองความสามารถบุคลากร และส่ งผลการตรวจสอบให้หวั หน้าผูค้ วบคุมงานรับ ทราบเพื่อเป็ น
เอกสารแนบผลการคัดเลือกต่อไป
3.3. กรณี ทดสอบความสามารถโดยกระบวนการวิเคราะห์ความรู้ หรื อแบบทดสอบ
3.3.1. หัวหน้างานต้องใช้แบบทดสอบตามตารางทดสอบความสามารถกำหนดไว้
3.3.2. หัวหน้างานตรวจสอบผลการทดสอบความสามารถ จัดส่ งให้ฝ่ายบุคคลเพื่อทวนสอบตามเกณฑ์

4. ดำเนินการทดสอบความสามารถซ้ำตามช่วงเวลา
4.1. หัวหน้าฝ่ ายควบคุมคุณภาพควบคุมให้มีตรวจสอบผลการทดสอบ และตัดสิ นผลตามตารางรับรองความ
สามารถบุคลากร ทุกงานที่มีการและส่ งใบคำร้องขอการ Inspection
4.2. รายงานผลการตรวจสอบให้หวั หน้าผูค้ วบคุมงานรับ ทราบ หากพบว่าผลการตรวจสอบจากฝ่ ายควบคุม
คุณภาพ “ไม่ผา่ น” เป็ นครั้งที่ 2 ในงานครั้งเดียวกันถือว่าไม่ผา่ นการรับรองซึ่งไม่สามารถปฏิบตั ิงานใน
ตำแหน่งงานนั้นๆต่อไปได้
4.3. หัวหน้าผูค้ วบคุมงานต้องแจ้งให้ผปู้ ฏิบตั ิงานรับทราบผลการทดสอบ

6. บันทึก
ลำดับ ชื่อเอกสาร รหัสเอกสาร สถานที่เก็บ ระยะเวลาจัดเก็บ
(ปี )
1 รายการเครื่ องมือวัด F-QC-01 ฝ่ ายควบคุมคุณภาพ ตลอดอายุการใช้งาน
2 แผนการสอบเทียบ F-QC-02 ฝ่ ายควบคุมคุณภาพ ตลอดอายุการใช้งาน
3 ประวัติการสอบเทียบ F-QC-03 ฝ่ ายควบคุมคุณภาพ ตลอดอายุการใช้งาน
4 รายงานผลการสอบเทียบ - ฝ่ ายควบคุมคุณภาพ ตลอดอายุการใช้งาน
5 ใบคำร้อ งขอการ Inspection (ทดสอบช่ว ง F-QC-04 หัวหน้างาน ตลอดอายุงาน+2 ปี
ก่อนรับเข้าทำงาน)
6 ผลทดสอบความสามารถบุคลากร - ฝ่ ายควบคุมคุณภาพ ตลอดอายุงาน+2 ปี

ต้นฉบับเอกสารควบคุม

You might also like