You are on page 1of 9

มธพ.

101–2558
มาตรฐานผูทดสอบโดยไมทําลาย สําหรับการทดสอบและตรวจสอบ
ถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิง ถังขนสงน้ํามันเชื้อเพลิง
ระบบทอขนสงน้ํามันเชื้อเพลิง
1. ขอบขาย
1.1 มาตรฐานฉบับนี้ใชเปนขอกําหนดขั้นต่ําสุดของคุณสมบัติและการรับรองบุคลากรที่ทํางาน
ดานการทดสอบโดยไมทําลาย (Nondestructive Testing, NDT) หรือบุคลากรที่เกี่ยวของกับการใชงานการทดสอบ
โดยไมทําลาย ในสวนที่เกี่ยวกับการทดสอบถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิง ถังขนสงน้ํามันเชื้อเพลิง ระบบทอขนสง
น้ํามันเชื้อเพลิง
1.2 มาตรฐานนี้กําหนดรายละเอียดคุณลักษณะที่ตองการขั้นต่ําสุดของการฝกอบรม การมี
ความรูและประสบการณของบุคลากรการทดสอบโดยไมทําลาย สําหรับการทดสอบและตรวจสอบถังเก็บน้ํามัน
เชื้อเพลิง ถังขนสงน้ํามันเชื้อเพลิง ระบบทอขนสงน้ํามันเชื้อเพลิง ในองคกรหรือหนวยงานที่ไดรับหนังสือรับรอง
หรือใบรับรองใหทําการทดสอบและตรวจสอบถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิง ถังขนสงน้ํามันเชื้อเพลิง ระบบทอขนสง
น้ํามันเชื้อเพลิง จากกรมธุรกิจพลังงาน
1.3 มาตรฐานนี้ ป ระกอบด ว ยรายละเอี ย ดของความต อ งการขั้ น ต่ํ า ของการฝ ก อบรม
ประสบการณ แ ละการสอบสํ า หรั บ บุ ค ลากรที่ ทํ า งานด า นการทดสอบโดยไม ทํ า ลายในวิ ธี ก ารต า งๆตาม
มาตรฐานสากล
2. คุณสมบัติ
2.1 ระดับคุณสมบัติที่สามารถดําเนินการได มาตรฐานนี้ไดจัดระดับคุณสมบัติของบุคลากรที่
ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลายแตละวิธีการทดสอบไวหลายระดับ ซึ่งขึ้นอยูกับความสามารถของแตละ
บุคคลวาควรจะอยูในระดับใด สําหรับผูที่ยังไมผานการรับรองภายใตมาตรฐานนี้ใหถือวาเปนผูรับการฝกงาน
ผูรับการฝกงานจะตองไมดําเนินการ ตรวจสอบ ตีความ ประเมินผล หรือรายงานผลการทดสอบ
2.2ผูทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 1บุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 1
ตองมีคุณสมบัติที่สามารถดําเนินการไดดังนี้
2.2.1สามารถดําเนินการปรับเครื่องมือ ตรวจสอบงาน และประเมินผลเพื่อการยอมรับ
หรือไมยอมรับ ทั้งนี้ตองเปนไปตามเอกสารใบสั่งเทคนิคการทํางาน (Written Procedure) เฉพาะชิ้นงานนั้นๆ
2.2.2สามารถบันทึกผลการทดสอบ แตไมมีสิทธิที่จะลงนามรับรองในรายงานผลการ
ทดสอบโดยไมทําลาย
2.2.3รับ คํา แนะนํา และปฏิบัติง านภายใตก ารกํา กับ ดูแ ลของบุค ลากรที่ทํา งาน
ดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 2 หรือ ระดับ 3
2.3ผูทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 2บุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 2
ตองมีคุณสมบัติที่สามารถดําเนินการไดดังนี้
2.3.1สามารถเขาใจขอบเขต และขอจํากัดของวิธีการทดสอบโดยไมทําลายในวิธีการ
ทดสอบที่ไดรับการรับรองไว และสามารถเขียนใบสั่งเทคนิคการทํางานได
2.3.2สามารถปรับตั้ง และปรับเทียบอุปกรณและเครื่องมือ
- 2-
2.3.3สามารถตี ค วามและประเมิ น ผลการทดสอบซึ่ ง เป น ไปตามมาตรฐานและ
ขอกําหนดที่นํามาใช
2.3.4สามารถจัดระบบ และรายงานผลการทดสอบโดยไมทําลาย รวมทั้งลงนาม
รับรองในรายงานผลการทดสอบโดยไมทําลายได
2.3.5สามารถใหการฝกอบรมและควบคุมบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไม
ทําลาย ระดับ 1 และผูรับการฝกงานตามที่ไดรับมอบหมายจากบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย
ระดับ 3 ในวิธีการทดสอบของการทดสอบโดยไมทําลายที่ไดรับการรับรอง
2.4ผูทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 3บุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 3
ตองมีคุณสมบัติที่สามารถดําเนินการไดดังนี้
2.4.1ไดรับการรับรองที่เกี่ยวของกับงานในขอบขายตามขอ 1.1จากสถาบันแหงใด
แหงหนึ่ง ดังนี้
1) ASNT, American Society for Nondestructive Testing
2) JSNDI, The Japanese Society for Nondestructive Inspection
3) TWI, The Welding Institute
4) หนวยงานที่ไดรับการรับรองตามระบบ ISO 17024 ที่รับรองบุคลากรตาม
ISO 9712
2.4.2 ผูทดสอบโดยไมทําลายระดับ 3 ตองมีความรูเฉพาะเกี่ยวกับอุปกรณในขอบขาย
ตามข อ1.1 ในด านมาตรฐานการทดสอบและเกณฑ การยอมรั บที่ ใช ในการทดสอบ กฎหมายหรือประกาศที่
เกี่ยวของกับการทดสอบของกรมธุรกิจพลังงานในขอบขายตามขอ1.1 และไดขึ้นทะเบียนเปนผูทดสอบกับกรมธุรกิจ
พลังงาน
2.4.3สามารถกําหนดวิธีการทดสอบโดยไมทําลายและเทคนิคการตรวจสอบ และเปน
ผูกําหนดหรืออนุญาตใหบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 1 และ ระดับ 2 ใชเอกสารแนะนํา
การตรวจสอบโดยไมทําลายในนามของนายจาง
2.4.4สามารถตีความและประเมินผลการทดสอบ ซึ่งเปนไปตามมาตรฐาน ขอกําหนด
และขั้นตอนการปฏิบัติดานการทดสอบโดยไมทําลายในวิธีการทดสอบของบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบ
โดยไมทําลายที่ไดรับการรับรอง
2.4.5มีความคุนเคยอยางเพียงพอกับวัสดุ กรรมวิธีการขึ้นรูปและกระบวนการผลิต
โดยวิธีเชื่อมถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิง ถังขนสงน้ํามันเชื้อเพลิง ระบบทอขนสงน้ํามันเชื้อเพลิง ของนายจางหรือ
หนวยงานรับผิดชอบบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลายเพื่อการกําหนดเทคนิค กําหนดขั้นตอน
การปฏิ บั ติดานการทดสอบโดยไม ทํา ลายและยังสามารถชว ยในการกําหนดเกณฑการยอมรับ ที่มิไดอยูใน
มาตรฐานทั่วไป
2.4.6สามารถรับผิดชอบในการฝกอบรมและสอบบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดย
ไมทําลาย ระดับ 1 และ ระดับ 2
-3-
2.4.7สามารถรับผิดชอบการปฏิบัติการทดสอบโดยไมทําลายที่ไดรับมอบหมายอยาง
เต็มที่ ทั้งดานอุปกรณและบุคลากรตามวิธีการทดสอบที่ไดรับการรับรอง
3. ขอกําหนดของคุณสมบัติ
3.1การฝกอบรม ผูสมัครขอการรับรองบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ
1 และระดับ 2 แตละวิธีการทดสอบจะตองไดรับการฝกอบรมอยางพอเพียงเพื่อความคุนเคยกับหลักการของ
วิธีการทดสอบโดยไมทําลาย รวมทั้งการฝกปฏิบัติใชเทคนิคการตรวจสอบตางๆ
3.1.1การฝกอบรมในหองเรียนสําหรับ ระดับ 1 และระดับ 2 อยางนอยตองเปนไปตาม
ตารางในภาคผนวก ก. มธพ.101–2558: ประสบการณและการฝกอบรม (ขั้นต่ํา) ของบุคลากรที่ทํางานดานการ
ทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 1 และระดับ 2
3.1.2การดําเนินการฝกอบรม การฝกอบรมทั้งหมดจะตองอยูในความควบคุม และ
รับผิดชอบโดยบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 3 ทั้งนี้หลักสูตรที่ใชจะตองเปนไปตาม
มาตรฐานสากล
3.2 ประสบการณผูสมัครเพื่อขอการรับรองจะตองมีประสบการณ ดานการปฏิบัติเพื่อใหมั่นใจ
วามีความสามารถเพียงพอที่จะปฏิบัติหนาที่ในระดับและวิธีการทดสอบที่ขอการรับรองบุคลากรที่ทํางานดาน
การทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 1 และระดับ 2จะตองมีจํานวนชั่วโมงต่ําสุดของประสบการณ ตามขอกําหนดใน
มาตรฐานนี้สําหรับบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 1 และระดับ 2 ในวิธีการทดสอบที่ขอ
การรับรองดังตารางในภาคผนวก ก. มธพ.101–2558
4. การสอบ
4.1การตรวจสอบสายตา ผูสมัครสอบทุกวิธีการทดสอบและทุกระดับจะตองแสดงหลักฐาน
การตรวจสายตาตามขอกําหนดนี้
4.1.1การมองเห็นในระยะใกล จะตองสามารถอานตัวอักษรJaeger number 1หรือ
เทียบเทาตัวอักษร Times Roman N 4.5(มีความสูงของตัวอักษร 1.6 มิลลิเมตร) ดวยตาขางใดขางหนึ่งเปน
อยางนอย โดยไมคํานึงวาสวมแวนหรือไมสวมแวน
4.1.2การมองเห็น สี ผูส มัค รจะตองมีค วามสามารถแยกความแตกตางระหวางสี
โดยมีเครื่องมือ อาทิเชน Ishihara Test หรือความแตกตางของระดับสีเทา (Shades of Gray) ที่ใชในวิธีการ
ทดสอบที่ขอรับการรับรอง
4.1.3การตรวจสายตาตองดําเนินการโดยจักษุแพทย หรือผูทดสอบโดยไมทําลาย
ระดับ 3
4.2การสอบบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 1 และระดับ 2 การสอบ
ในระดับ 1 และระดั บ 2 จะต องประกอบดว ยการสอบภาคทฤษฎีซึ่ง เปน การสอบขอเขีย น และการสอบ
ภาคปฏิบัติตองครอบคลุมถึงมาตรฐานและขอกําหนดที่ใชในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับงานในขอบขายตามขอ
1.1การสอบสามารถแตกยอยออกได 3 ภาค ซึ่งแตละภาคมีน้ําหนักคะแนนเทาๆ กัน เพื่อนําไปคํานวณหา
คาเฉลี่ยของคะแนนรวม การสอบทั้ง 3 ภาคมีดังนี้
-4-
ก) การสอบขอเขียนความรูทั่วไป
ข) การสอบขอเขียนความรูเฉพาะ
ค) การสอบภาคปฏิบัติ
4.2.1การสอบขอเขียนความรูทั่วไป การสอบขอเขียนความรูทั่วไปเปนแบบปดตํารา
การจัดการและดําเนินการสอบจะตองเปนไปตามขอ 4.3
4.2.2การสอบข อ เขี ย นความรู เ ฉพาะ การสอบข อ เขี ย นความรู เ ฉพาะที่ ใ ช กั บ
มาตรฐานการทดสอบ เครื่ องมื อทดสอบ เกณฑการตัดสิน ใชกับ ขอบขายงานตามขอ 1.1 การจัดการและ
ประเมินผลการสอบจะตองเปนไปตามขอ 4.3
4.2.3การสอบปฏิบัติ เปนการสอบการลงมือปฏิบัติจริง ซึ่งผูสมัครสอบจะตองสาธิต
การใชเครื่องมือและอุปกรณทั่วไปตามวิธีการทดสอบที่ขอการรับรอง การจัดการและประเมินผลการสอบ
จะตองเปนไปตามขอ 4.3
1) การสอบบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 1
ผูสอบจะตองสาธิตการใชเครื่องมือ อุปกรณและสวนประกอบพื้นฐานที่สําคัญในการปรับตั้งกับ ใบสั่งเทคนิค
การทํ างานผู สอบจะต องสาธิ ตการตรวจสอบกั บชิ้ นงานที่ เกี่ ยวของในภาคอุ ตสาหกรรมที่ เกี่ ย วข องกับ งานใน
ขอบขายตามขอ 1.1ที่ขอการรับรองอยางนอยหนึ่งชิ้น ผูควบคุมการสอบจะตรวจผลการสอบและประเมินผลตาม
หัวขอในบัญชีตรวจสอบ (Check List) ซึ่งตองประกอบดวยรายงานตรวจสําคัญๆ เชนความชํานาญการใช
เครื่องมือ ความชํานาญในการใชเทคนิค การดําเนินการตรวจตามเอกสารใบสั่งเทคนิคการทํางานที่กําหนด
อยางเครงครัด การจัดลําดับขั้นตอนการตรวจการปรับเทียบชิ้นงานมาตรฐานการใชวัสดุอุปกรณ การบันทึก
หลักฐาน และความทั่วถึงครอบคลุมการตรวจสอบและทดสอบ
2) การสอบบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 2
นอกจากผูสอบจะตองสาธิตการใชเครื่องมือฯ เชนเดียวกันกับระดับ 1 แลว ผูสมัครสอบบุคลากรที่ทํางาน
ดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 2 ยังตองเขาใจหนาที่ตางๆ ของอุปกรณเพิ่มเติมเปนอยางดี และยังตอง
แสดงใหเห็นถึงความละเอียดรอบคอบในการปรับตั้งเครื่องมือและอุปกรณไดเที่ยงตรง ในระยะเวลาที่เหมาะสม
นอกจากนี้ ผู สมั ครสอบบุ คลากรที่ทํา งานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 2 ตองเขีย นคําแนะนําการ
ปฏิบัติงานทดสอบโดยไมทําลาย สําหรับบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 1 อยางนอย 1 ชุด
ผูสอบจะตองสาธิตการตรวจสอบกับชิ้นงานที่เกี่ยวของกับขอบขายในขอ 1.1ที่ขอการรับรองอยางนอยหนึ่ง
ชิ้นงานของแตละเทคนิคการตรวจสอบ และอยางนอยสองชิ้นงานตอหนึ่งวิธีการทดสอบ ผูควบคุมการสอบจะ
ตรวจผลการสอบ และประเมินผลตามรายการในบัญชีตรวจสอบที่กําหนดขึ้น บัญชีการตรวจสอบนี้อยางนอย
จะตองเนนรายการตรวจสอบดังตอไปนี้คือ ความชํานาญการใชเครื่องมือ ความชํานาญการใชเทคนิค การ
ดําเนินการตามใบสั่งเทคนิคการทํางานที่กําหนดอยางเครงครัด การจัดลําดับทั่วถึงและครอบคลุมการตรวจสอบ
ความเที่ยงตรงและสมบูรณของการตีความ ประเมินผล และบันทึกหลักฐานและผลการทดสอบและตรวจสอบ
4.3 การจัดการสอบ และการประเมินผลการสอบของบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดย
ไมทําลาย ระดับ 1 และระดับ 2ดําเนินการดังนี้
-5-
4.3.1ความรับผิดชอบการจัดการสอบและการประเมินผลการสอบทั้งหมดจะตอง
กระทําโดยบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 3ที่มีใบรับรองในวิธีการที่ขอการรับรอง
หรือ หนว ยงานที่ไ ดรับ มอบหมายจากกรมธุร กิจ พลัง งานในการดํา เนิน การจัด สอบ การจัด การสอบและ
การประเมิ น ผลการสอบทุ ก ครั้ ง จะต อ งถู ก บั น ทึ ก ไว เ ป น หลั ก ฐานสํา หรั บ การควบคุ ม การสอบปฏิ บั ติ
ในระดับ 2 ผูที่ไดรับมอบหมายใหเปนผูควบคุมจะตองเปนบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย
ระดับ 3 ในวิธีการทดสอบที่เกี่ยวของ
4.3.2การวัดผล ขอสอบทั้ง 3 ภาค (ขอเขียนความรูทั่วไป ขอเขียนความรูเฉพาะ
และปฏิบัติ) จะตองแยกออกจากกัน การใหคะแนนของแตละภาคจะไมขึ้นตอกัน และทุกภาคจะตองมีน้ําหนัก
คะแนนเทากัน ผูสอบจะตองไดคะแนนไมต่ํากวารอยละ 70 ของแตละภาค และตองไดคะแนนรวมของทุกภาค
เมื่อเฉลี่ยแลวไมต่ํากวารอยละ 80 จึงจะผานการสอบ และไดรับการรับรองผลการสอบ
4.3.3การสอบซอม ผูที่สอบไมผานตามขอกําหนดที่ระบุไวในมาตรฐานนี้ จะตอง
ไดรับการฝกอบรมเพิ่มเติม และตองบันทึกเปนหลักฐานไวหรือตองไมนอยกวา 30 วัน จึงจะสอบซอมหรือสอบ
ใหมได การฝกอบรมเพิ่มเติมจะตองเนนขอบกพรองที่สอบไมผาน ในการสอบซอมจะใชขอสอบเดิมหรือชิ้นงาน
เดิมไมได
4.3.4 ผูทดสอบระดับ 1 และระดับ 2 ที่ผานการสอบและไดรับใบรับรองที่เกี่ยวของ
กับงานในขอบขายตามขอ 1.1จากหนวยงานที่กรมธุรกิจพลังงานเห็นชอบ อนุโลมใหใชแทนการสอบในขอ 4.2
และ 4.3 ได
5. การออกใบรับรองและบัตรประจําตัว
ใบรับรองหรือบัตรประจําตัว นายจางจะเปนผูพิจารณาออกให และจะตองประกอบดวย
5.1 ชื่อของบุคคลที่ไดรับการรับรอง
5.2 วันที่ออกใบรับรองหรือบัตรประจําตัว
5.3 วันที่หมดอายุ
5.4 ระดับคุณสมบัติที่สามารถดําเนินการได
5.5 ประเภทวิธีการทดสอบบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ที่ไดรับการ
รับรอง
5.6 ประเภทอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ
5.7 รหัสประจําตัว
5.8 ลายมือชื่อผูรับใบรับรอง
5.9 ภาพถายของบุคคลที่ไดรับการรับรอง
5.10 ตราประทับของหนวยงานและลายมือชื่อของผูมีอํานาจอนุมัติใบรับรองในหนวยงาน
-6-
6. อายุของใบรับรอง การตออายุ การพักสิทธิ การยกเลิกและการคืนสิทธิของบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบ
โดยไมทําลาย ระดับ 1 และ ระดับ 2เปนดังนี้
6.1 อายุของใบรับรอง
ใบรับรองของบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 1 และระดับ 2
จะมีอายุไมเกิน 5 ป นับตั้งแตวันที่ออกใบรับรองให
6.2การตอใบรับรอง
6.2.1กอนการรับรองหมดอายุครั้งแรกหนวยรับรองบุคลากรอาจตออายุการรับรองให
เปนชวงระยะเวลาเทากันโดยผูถือใบรับรองจะตองมอบเอกสารซึ่งเปนหลักฐานที่แสดง
ก) การตรวจวัดสายตาตามขอ4.1ในช วงเวลา12เดือนกอนการขอตอ
ใบรับรองโดยผลการตรวจจะตองเปนที่นาพอใจ
ข) การทํางานโดยใชวิธีทดสอบตามที่ขอการรับรองอยางตอเนื่องโดยไมมี
การเวนชวงการทํางานเปนเวลานานและผลลัพธจะตองเปนที่นาพอใจ
6.2.2หากผูขอตอใบรับรองไมผานเกณฑตามขอ6.2.1ขสําหรับการขอตอใบรับรอง
บุคคลนั้นตองปฏิบัติตามขอ 4
6.3 การพักสิทธิใบรับรอง ใบรับรองจะถูกพักสิทธิในกรณีดังนี้
6.3.1 การตรวจสายตาตามขอ 4.1 ไมไดกระทําเมื่อครบรอบ 1 ป
6.3.2 ผูถือใบรับรองไมไดทํางานในวิธีการทดสอบที่ไดรับการรับรองเกิน 1 ป
6.3.3 ความสามารถในการทํางานของผูถือใบรับรองบกพรอง ตามวิธีการทดสอบ
เทคนิค และเหตุผลทางขอมูลเฉพาะ
6.3.4ผูถือใบรับรอง ไมไดทํางานในหนวยงานที่ออกใบรับรอง
6.4 การยกเลิก ใบรับรองจะถูกบอกเลิกเมื่อ
6.4.1 ผูถือใบรับรองไมไดทํางานในวิธีการทดสอบที่ขอรับการรับรองตอเนื่องติดตอกัน
เกิน 2 ป
6.4.2 ใบรับรองหมดอายุ
6.4.3 ผูถือใบรับรองปฏิบัติงานโดยขาดความรับผิดชอบ
6.4.4ผูถือใบรับรอง ไมไดทํางานในหนวยงานที่ออกใบรับรอง
6.5 การคืนสิทธิ
6.5.1 บุค ลากรที่ทํางานดา นการทดสอบโดยไมทํา ลาย ระดับ 1 และระดับ 2
ที่ถูกพักสิทธิ์ จะไดรับการคืนสิทธิ์โดยการพิจารณาจากนายจาง เมื่อไดปฏิบัติตามและมีคุณสมบัติขอกําหนด
ตามมาตรฐานนี้แลว
6.5.2 ใบรั บ รองที่ ห มดอายุจ ะได รับ การคื น สิ ทธิ์ โ ดยการพิจ ารณาจากนายจ า ง
ใบรับรองที่ถูกยกเลิกจะไดรับการคืนสิทธิ์เมื่อผานการปฏิบัติตามขอ 4
-7-
7.การขอการรับรองคุณสมบัติใหม
การขอการรับรองคุณสมบัติใหมจะกระทําไดโดยปฏิบัติตามขอ 4
8. การจัดแฟมประวัติบุคลากร
8.1หนวยรับรองบุคลากรหรือองคกรสอบคุณสมบัติที่ไดรับ การแตงตั้งตองรับ ผิดชอบการ
เก็บรักษา เอกสารที่เกี่ยวของมีดังนี้
8.1.1รายชื่อบุคคลชุดปจจุบันที่ไดรับการรับรองโดยจัดแยกรายชื่อตามระดับวิธีการ
ทดสอบโดยไมทําลายและภาคอุตสาหกรรม
8.1.2แฟมประวัติของแตละบุคคลซึ่งไมผานการรับรองอยางนอยเปนเวลาหาปนับ
จากวันที่บุคคลสมัครขอการรับรอง
8.1.3แฟมประวัติ (แฟมเดียวหรือหลายแฟม) ของแตละบุคคลซึ่งผานการรับรองหรือ
ของแตละบุคคลที่ถูกพักสิทธิ์การรับรองชั่วคราวซึ่งจะตองประกอบดวย
ก)ใบสมัคร
ข)เอกสารการสอบเชนชุดคําถามคําตอบคําบรรยายชิ้นงานทดสอบภาคปฏิบัติ
บันทึกขอมูลและผลการทดสอบเอกสารคําบรรยายวิธีการปฏิบัติงานและใบคะแนน
ค)เอกสารในการขอตอ ใบรับ รองและการขอการรับ รองใหมซึ่ง ตอ งรวม
หลักฐานการตรวจวัดสายตาและหลักฐานที่แสดงความตอเนื่องในการทํางาน
ง)เหตุผลในการเพิกถอนใบรับรองในกรณีที่มีการเพิกถอน
8.2แฟมประวัติตองถูกเก็บรักษาใหมั่นคงปลอดภัยและเปนความลับตราบเทาที่ใบรับรองยังไม
หมดอายุและอยางนอยตองครบรอบอายุใบรับรองหลังจากที่มีการพักสิทธิ์แลว
9. เอกสารอางอิง
9.1มอก.9712-2550 การทดสอบโดยไมทําลาย – คุณสมบัติและการรับรองบุคลากร
9.2Recommended Practice No. SNT-TC-1A, 2006 Edition, The American Society for
Nondestructive test, Inc.
9.3ANSI/ASNT CP-189-1995. ASNT Standard for Qualification and Certification of
Nondestructive Testing Personnel.1995 edition, The American Society for Nondestructive
testing, Inc.
9.4ISO 9712–2005 Non – destructive – Qualification and Certification of Personnel
-8-
ผนวก ก.
มธพ.101–2558
ประสบการณ และการฝกอบรม (ขั้นต่ํา)
ของบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 1 และระดับ 2

จํานวนชั่วโมงของ จํานวนชั่วโมงของ
จํานวนชั่วโมง
วิธีการทดสอบของบุคลากรที่ทํางาน ประสบการณ ประสบการณรวมที่ทํางาน
อบรม
ดานการทดสอบโดยไมทําลาย ในแตละวิธีการทดสอบ ดาน NDT
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 2
AcousticEmission Testing AE 40 40 200 600 400 1200
Electromagnetic Testing ET 40 40 200 600 400 1200
Liquid Penetrant TestingPT 4 8 65 200 130 400
Magnetic Particle Testing MT 12 8 65 135 130 270
Radiographic TestingRT 40 40 200 600 400 1200
Ultrasonic TestingUT 40 40 200 600 400 1200
Visual TestingVT 8 16 65 130 130 270

หมายเหตุ
1. ประสบการณจะตองถือตามชั่วโมงจริงในแตละวิธีการทดสอบที่ขอการรับรอง
2. ระดับ 2 ซึ่งไมเคยผานการรับรองระดับ 1 มากอน
2.1 จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เทากับจํานวนชั่วโมงอบรมในระดับ 1บวก
ดวยจํานวนชั่วโมงอบรมในระดับ 2
2.2 จํานวนชั่วโมงในประสบการณทํางาน เทากับจํานวนชั่วโมงทํางานในระดับ
1 บวกดวยชั่วโมงทํางานในระดับ 2
3. จํานวนชั่วโมงประสบการณ (ขั้นต่ํา) ตองออกเปนเอกสารแจงจํานวนชั่วโมงตอวิธีการ
ทดสอบ และไดรับการรับรองจากบุคลกรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 3
4. ในกรณีที่จํานวนชั่วโมงรวมที่ทํางานในแตละวิธีการทดสอบของผูขอรับการรับรอง ตองไม
ต่ํากวาจํานวนชั่วโมงทํางานในแตละวิธีการทดสอบที่ระบุไวในตารางขางตน
-9-
ผนวก ข.
มธพ.101–2558
จํานวนคําถาม (ต่ําสุด) ของขอสอบภาคความรูทั่วไป และความรูเฉพาะ
ของบุคลากรที่ทํางานดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 1 และระดับ 2

วิธีการทดสอบของบุคลากรที่ทํางาน จํานวนคําถามความรูทั่วไป จํานวนคําถามความรูเฉพาะ


ดานการทดสอบโดยไมทําลาย ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 1 ระดับ 2
Acoustic Emission Testing AE 40 40 20 20
Electromagnetic Testing ET 40 40 20 20
Liquid Penetrant Testing PT 40 40 20 20
Magnetic Particle Testing MT 40 40 20 20
Radiographic Testing RT 40 40 20 20
Ultrasonic Testing UT 40 40 20 20
Visual Testing VT 40 40 20 20

You might also like