You are on page 1of 9

ทําไมต้ องตรวจสอบภายใน?

การตรวจสอบภายใน
ตามแนวทางมาตรฐาน 1. ข้ อกําหนดมาตรฐาน
ISO 19011 ISO 15189: 2012
Guidelines for ISO 15190: 2003
auditing management system 2. เพื่อการปรับปรุ ง (Improvement)
3. หาสิ่งที่ไม่ สอดคล้ อง (Non-conformities)
ดร.ฐิตวิ ัสส์ สุวคนธ์
สํานักมาตรฐานห้ องปฏิบตั กิ าร
กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
2

ทําไมต้ องตรวจสอบภายใน?
4. ทบทวนการจัดการระบบคุณภาพ 4.14.5 การตรวจสอบภายใน
หมายเหตุ 2
5. ความมั่นใจผลการทดสอบ ั ิ ตาม มาตรฐาน ISO 19011
 แนะนําให้ปฏิ บต
6. ความตระหนักของบุคลากร
7. ความมั่นใจในระบบคุณภาพ

3 4
ISO 19011 Section
1 Scope
Guidelines for auditing
2 Normative references
management systems 3 Terms and definitions
แนวทางสําหรั บการตรวจสอบระบบการจัดการ 4 Principle of auditing
5 Managing of audit programme
6 Performing of audit
7 Competence and evaluation of auditor

5 6

1.Scope 2. Normative references


Guidance on auditing management systems No normative references are cited
- Principles of audit
- Managing an audit programme
- Conducting management system audits
- Evaluation of competence of auditors
- Applicable to all organization

7 8
3. Terms and definitions 3. Terms and definitions
3.1 Audit การตรวจสอบ 3.3 Audit evidence หลักฐานการตรวจสอบ
• Process for obtaining audit evidence • Records, statements of fact or other
• Internal audits: 1st party audit information
• External audits: 2nd or 3rd party audits • Relevant to the audit criteria (3.2) and
• Combined audit: two or more QMS verifiable
• Joint audit: two or more organizations
cooperate to audit a single auditee 3.4 Audit findings สิ่งที่พบจากการตรวจสอบ
• Results of the evaluation of the
3.2 Audit criteria เงื่อนไขการตรวจสอบ collected audit evidence (3.3) against
reference against which audit evidence audit criteria (3.2)
• Indicate conformity or non-conformity

9 10

3. Terms and definitions 3. Terms and definitions


3.5 Audit conclusion สรุ ปผลการตรวจสอบ Audit criteria
• Outcome of an audit (3.1), after Compare with
consideration of the audit objectives and criteria
all audit findings (3.4) Audit evidence

3.6 Audit client Audit finding


• Organization or person requesting an
audit (3.1)
Audit
conclusion

Report
11 12
3. Terms and definitions 3. Terms and definitions
3.7 Auditee ผู้ถูกตรวจสอบ 3.11 Observer ผู้สังเกตุการณ์
Organization being audited Person who accompanies the audit
3.8 Auditor ผู้ตรวจสอบ team but does not audit
Person who conducts an audit 3.12 Guide ผู้นําทาง
3.9 Audit team คณะผู้ตรวจสอบ Appointed by the auditee to assist the
• One or more auditors audit team
• Conducting an audit 3.13 Audit programme กําหนดการ
• Technical experts if need • Set of one or more audits planned
3.10 Technical expert ผู้เชี่ยวชาญด้ านเทคนิค • Specific time frame and specific
Provides specific knowledge or expertise to purpose
the audit team
13 14

3. Terms and definitions 3. Terms and definitions


3.14 Audit scope ขอบข่ ายการตรวจสอบ 3.18 Conformity ความสอดคล้ อง
Boundaries of an audit Fulfilment of a requirement
3.15 Audit plan แผนการตรวจสอบ
Activities and arrangements for an audit 3.19 Nonconformity ความไม่ สอดคล้ อง
3.16 Risk ความเสี่ยง
Non-fulfilment of a requirement
Effect of uncertainty on objectives
3.17 Competence ความสามารถ 3.20 Management system ระบบการจัดการ
Ability to apply knowledge and skills
System to establish policy and objectives

15 16
4. Audit Principles 5. Managing an audit programme
A. Integrity มีความมั่นคง • วัตถุประสงค์ ของการตรวจสอบ
• ประเภทการตรวจสอบ
B. Fair มีความเป็ นธรรม
• ระยะเวลา
C. Professional ปฏิบตั อิ ย่ างมืออาชีพ • สถานที่
D. Confidentiality รักษาความลับ • กําหนดการ
• ขัน้ ตอนการตรวจสอบ
E. Impartial เป็ นกลาง audit programme procedures
F. Evidence-based approach ยึดหลักฐาน • เงื่อนไขการตรวจสอบ audit criteria
17 18

5. Managing an audit programme ขัน้ ตอนสําหรั บการตรวจสอบภายใน


• วิธีการตรวจสอบ audit methods Procedures for the internal audit
• การคัดเลือกทีม audit team • วางแผนกําหนดการตรวจสอบ
• ทรัพยากรที่จาํ เป็ น การเดินทาง ที่พกั สิ่งอํานวย • ความปลอดภัยข้ อมูลและรั กษาความลับ
ความสะดวก • มั่นใจว่ าผู้ตรวจสอบและคณะมี
• รักษาความลับ ความปลอดภัย (security) ความ ความสามารถ
ปลอดภัย (safety) • การคัดเลือกคณะผู้ตรวจสอบ และ
มอบหมายความรั บผิดชอบ
19 20
ขัน้ ตอนสําหรั บการตรวจสอบภายใน รู ปแบบการตรวจสอบภายใน
Procedures for the internal audit Internal audit patterns
• วิธีการตรวจสอบ วิธีการสุ่ม
1. การตรวจแบบแนวนอน
• การตรวจสอบกรณีตดิ ตาม(conducting audit
follow-up, if applicable) Horizontal audit

• การรายงานผลต่ อผู้มีอาํ นาจตัดสินใจ 2. การตรวจแบบแนวตัง้


• การเก็บรักษาผลการตรวจสอบภายใน Vertical audit
• การติดตามและทบทวนผล
21 22

 มาตรฐานและขอกํ
้ าหนดทีจ
่ ะใช้ตรวจ  มาตรฐานและขอกํ
้ าหนดทีจ
่ ะใช้ตรวจ
 ISO 15189: 2012  ISO 15190: 2003

 ขอกํ
้ าหนด  ขอกํ
้ าหนด
 ดานการจั
้ ดการ 4.1 ถึง 4.15  20 ขอหลั
้ ก
 ดานเทคนิ
้ ค 5.1 ถึง 5.10
 รวม 25 ขอหลั
้ ก

23 24
การตรวจสอบ
 การทดสอบของห้องปฏิบต ั ก
ิ าร
 ทุกการทดสอบตองถู ้ กตรวจตามวงรอบ
 วางแผนการตรวจให้ครอบคลุม
 การตรวจแบบ horizontal หรือ vertical
 พืน
้ ฐานความเสี่ ยง

25 26

ผู้ตรวจประเมิน/ตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบ (auditor)


 วุฒกิ ารศึกษา / วิชาการ
 ประวัตฝิ ึ กอบรม: ข้ อกําหนด การเป็ นผู้ตรวจสอบ
• Evaluator  ประสบการณ์ ด้านการตรวจสอบ
 ข้ อกําหนด เงื่อนไข ห้ องปฏิบตั กิ าร
• Assessor
 ความชํานาญสาชา การทดสอบ
• Auditor  การสื่อสาร พูด / เขียน
 ไม่ อยู่ภายใต้ อทิ ธิพลหรื อผลประโยชน์ ใดๆ
 ไม่ ตรวจงานของตนเองในห้ องปฏิบตั กิ าร
 รั กษาความลับ
 ถูกประเมินจากผู้เกี่ยวข้ อง
27 28
6. Audit programme หัวหน้ าผู้ตรวจ (Lead auditor)
• วัตถุประสงค์ • วางแผนการตรวจ
• กําหนดการ • ผู้แทนของคณะผู้ตรวจ
• ขัน้ ตอนการตรวจ
• เงื่อนไขการตรวจ • ดูแลสมาชิกในคณะผู้ตรวจ
• วิธีการ • นําคณะผู้ตรวจบรรลุเป้าหมายการตรวจ
• การคัดเลือกผู้ตรวจ • ป้องกันและแก้ ไขความขัดแย้ ง
• ทรั พยากรที่จาํ เป็ น • รวบรวมและจัดเตรี ยมรายงานผลการตรวจ
• กระบวนการรั กษาความลับ

29 30

คณะผู้ตรวจ (Auditor team) ขัน้ ตอนการตรวจสอบภายใน


1. ประชุมเปิ ด (Opening meeting)
• ทบทวนเอกสารที่ใช้ • แนะนําคณะผู้ตรวจ
• ตรวจตามที่ได้ รับมอบหมาย • ทบทวนวัตถุประสงค์ และขอบเขตการตรวจ
• ทบทวนกําหนดการ
• วางแผนการตรวจของตนเอง
• อธิบายขัน้ ตอน วิธีการตรวจอย่ างย่ อ
• ประสานงานกับผู้ตรว
• แจ้ งเงื่อนไขการให้ แก้ ไข
(Corrective Action Request, CAR)
• หากมีรายละเอียดที่ไม่ ชัดเจน ต้ องแจ้ ง
• บันทึกรายนามผู้เข้ าประชุม
31 32
2. การตรวจสอบ (Audit)
2.1 checklist 2.3 ทบทวนสิ่งที่ตรวจพบและบันทึก
- สอบถามรายละเอียด พิจารณาระดับสิ่งที่ไม่ สอดคล้ อง
- ฟั งคําตอบด้ วยความระมัดระวัง - ข้ อบกพร่ อง
- หลีกเลี่ยงความเห็นส่ วนตัว - ข้ อสังเกต
2.2 รวบรวมหลักฐาน - ข้ อดี
- จดบันทึก
- ตรวจหลักฐานบันทึกต่ างๆ 2.4 แจ้ งข้ อบกพร่ อง ข้ อสังเกต เบือ้ งต้ น แก่
Auditee ก่ อนประชุมปิ ดการตรวจ
- ดูการปฏิบตั งิ านจริง
- หลักฐานประกอบต่ างๆ

33 34

4. ประชุมปิ ดการตรวจประเมิน
(Closing meeting)
3. ประชุมคณะผู้ตรวจ (Team meeting) • สรุ ปผลการตรวจ
เพื่อพิจารณาร่ วมกันก่ อนประชุมปิ ดการตรวจ • รายงานสิ่งที่พบ อธิบายประเด็นให้ ชัดเจน
• แจ้ งระยะเวลาการแก้ ไข
• กล่ าวขอบคุณ
• บันทึกรายนามผู้เข้ าประชุมปิ ด

35 36

You might also like