You are on page 1of 56

คู่มือการตรวจสอบ

การบริหารรถราชการ กรมบังคับคดี

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


การบริหารจัดการงานต่างๆ ภายในหน่วยงานกรมบังคับคดี มีหลากหลายทุกๆงานล้วนมีความสาคัญ
ต่อผลสัมฤทธิ์ต่อพันธกิจของกรมบังคับคดีทั้งสิ้น การตรวจสอบภายในกับการบริหารรถราชการก็เป็นหนึ่งงาน
ที่สาคัญและยังมีผลกระทบต่อทรัพย์สินของกรมบังคับคดี บุคคลภายนอก และหน่วยงานภายนอกกรมบังคับคดี
คู่มือการตรวจสอบการบริหารรถราชการ เป็นหนึ่งในเครื่องมือของผู้ตรวจสอบภายในที่ใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้
การปฏิบัติงานเป็นมาตรฐาน เพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพงานตรวจสอบภายในและเป็ นมาตรฐานการบริหาร
รถราชการภายในหน่วยงานของกรมบังคับคดี และผู้ที่เกี่ยวข้องยังสามารถใช้เป็นแนวปฏิบัติในการบริหารและ
ควบคุมการใช้รถราชการให้เกิดประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าอีกด้วย และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือฉบับนี้คงจะ
ให้ประโยชน์แก่ผู้ที่นาไปใช้งาน และมีข้อผิดพลาดประการใดในคู่มือฉบับนี้ ผู้เขียนขอน้อมรับเพื่อนาไปปรุงปรุง
แก้ไขต่อไป

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 1
บทนา 1
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญ 1
1.2 วัตถุประสงค์ 1
1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1
1.4 ขอบเขต 1
1.5 นิยามศัพท์ 2
1.6 กฎหมาย ระเบียบ และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ในการตรวจปฏิบตั ิการ การบริหารรถราชการ 2
บทที่ 2 3
เทคนิคการปฏิบัติงาน 3
2.1 เทคนิควิธีใช้ในการตรวจสอบรถราชการ 3
2.2 ข้อสังเกตในการตรวจสอบ 4
บทที่ 3 5
วิธีการตรวจสอบการบริหารรถราชการ 5
3.1 การบริหารรถราชการ 5
3.2 ขั้นตอนการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายใน เมื่อเข้าตรวจปฏิบัติการ 5
3.3 วิธีการตรวจสอบการใช้รถราชการและการใช้น้ามันเชื้อเพลิง 6
3.4 ภาพจาลองของสถานการณ์เข้าตรวจสอบการบริหารรถราชการ 8
บรรณานุกรม 14

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


1

บทที่ 1
บทนา
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญ
การตรวจสอบภายใน เป็นวิชาชีพสาขาหนึ่งที่มีมาตรฐานในการปฏิบัติงาน โดยมีสถาบันผู้ตรวจสอบภายใน (The
Institute of Internal Auditors ;IIA) สถาบันวิชาชีพ เป็นสถาบันกาหนดมาตรฐานสากล โดยมีสมาชิก (Charter) จากประเทศ
ต่างๆ รวมทั้งประเทศไทย ทั้งนี้ในภาคราชการไทย กระทรวงการคลังโดยกรมบัญชีกลางซึ่งเป็นหน่วยงานกลางด้านการ
ตรวจสอบภายใน ได้กาหนดมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรม เพื่อให้ผู้ตรวจสอบภายใน ภาคราชการถือปฏิบัติ
การตรวจสอบภายในภาคราชการไทยเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2505 ตามระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลังการเก็บรักษาเงินและการนา
เงินส่งคลัง พ.ศ. 2551 กระทรวงการคลังต่อมาคณะรัฐมนตรีได้มีมติที่ สร. 0201/ว 78 ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2519 แต่งตั้ง
ผู้ตรวจสอบภายในของส่วนราชการ กาหนดให้ ส่วนราชการที่เป็นกระทรวง ทบวง กรม และส่วนราชการอื่นที่เทียบเท่ า
รวมถึงจังหวัด ให้มีตาแหน่งอัตรากาลังเพื่อทาหน้าที่ผู้ตรวจสอบภายในส่วนราชการ และของจังหวัด โดยมีสายการบังคับ
บัญชาขึ้นตรงต่อหัวหน้าส่วนราชการหรือผู้ว่าราชการจังหวัดแล้วแต่กรณี พร้อมมอบหมายให้กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
ทาหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนด้านวิชาการกรมบังคับคดี เป็นส่วนราชการที่ต้องดาเนินการตามนโยบาย จึงจัดตั้งหน่วย
ตรวจสอบภายในขึ้นมีบทบาทในการสนับสนุ นภารกิจของกรมบังคับคดีให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมายอย่างมี
ประสิทธิภาพตามหลักการบริหารกิจการที่ดี เพิ่มคุณค่าและปรับปรุงการดาเนินงานของกรมบังคับคดี โดยการให้ความ
เชื่อมั่นและให้คาปรึกษาอย่างเที่ยงธรรม เป็นอิสระต่อผู้บริหารกรมบังคับคดี
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน รวมถึงการปรับปรุงกฎหมายระเบียบข้อบังคับต่างๆ
ทั้งภาคราชการและเอกชน ส่งผลให้แนวปฏิบัติต้องมีการปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้การตรวจสอบด้านการบริหารจัดการมีการ
มุ่งเน้นความโปร่งใสและตรวจสอบได้ การบริหารรถราชการ เกี่ยวข้องกับกฎหมายและระเบียบข้อบังคับต่างๆที่ในปัจจุบัน
ได้มีการปรับปรุงแก้ไข การบริหารงบประมาณและยังเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในชีวิตของบุคลากรและบุคคลที่เกี่ยวข้อง
จานวนมากรวมถึงทรัพย์สินของราชการอีกด้วย
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อให้ผู้ตรวจสอบภายในใช้เป็นคู่มือ และมาตรฐานการตรวจปฏิบัติการ เรื่อง การบริหารรถราชการ
1.2.2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพงานด้านการตรวจสอบภายใน
1.2.3 เพื่อให้การบริหารรถราชการของหน่วยงานกรมบังคับคดี เป็นมาตรฐานเดียวกัน
1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.3.1 มีเครื่องมือสาหรับผู้ตรวจสอบภายในใช้ปฏิบัติในการตรวจปฏิบัติการ เรื่อง การบริหารรถราชการ
1.3.2 การปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายในเป็นแนวปฏิบัติเดียวกัน
1.3.3 การตรวจสอบภายในมีประสิทธิภาพและคุณภาพเพิ่มขึ้น
1.3.4 เป็นข้อมูลในการตัดสินใจของผู้บริหารรถราชการของหน่วยงานกรมบังคับคดี ในมาตรฐานเดียวกัน
1.4 ขอบเขต
คู่มือการตรวจสอบการบริหารรถราชการ จะกล่าวถึงวิธีการควบคุมรถราชการ และแนวทางในการตรวจสอบการ
ควบคุมรถราชการ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในวงจรการบริหารงานด้านพัสดุ คู่มือการตรวจสอบฉบับนี้ ในแต่ละบท จนถึงบรรณานุกรม
และภาคผนวก จัดทาขึ้นสาหรับใช้ในหน่วยงาน และใช้เป็นแนวทางในการจัดทาคู่มือการบริหารรถราชการของบุคลากร
ที่เกี่ยวข้องที่จะศึกษาและท่านอื่นที่สนใจ

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


2

1.5 นิยามศัพท์
รถราชการ หมายถึง รถยนต์ ที่กรมบังคับคดี จัดไว้เพื่อใช้ในกิจการของหน่วยงานกรมบังคับคดี ซึ่งได้มาโดย
เงินงบประมาณแผ่นดิน งบประมาณเงินรายได้หรือเงินอื่น
รถส่วนกลาง หมายถึง รถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ที่จัดไว้เพื่อกิจการอันเป็นส่วนรวมของกรมบังคับคดี
พนักงานขับรถ หมายถึง พนักงานขับรถประจาหน่วยงานกรมบังคับคดี
เจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมรถ หมายถึง เจ้าหน้าที่ผู้ได้รับมอบหมายจากผู้บริหารให้เป็นผู้ควบคุม ดูแลรถราชการของ
หน่วยงานภายใน กรมบังคับคดี
ผู้มีอานาจสั่งใช้รถ หมายถึง อธิบดี รองอธิบดี ผู้อานวยการส านักงาน หรือหั วหน้าหน่วยงาน หรือผู้ ที่ได้รับ
มอบหมาย
น้ามันเชื้อเพลิง หมายถึง น้ามันเชื้อเพลิงตามพระราชบัญญัติการค้าน้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543
สถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิง หมายถึง สถานีบริการตามพระราชบัญญัติการค้าน้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543
ผู้จัดซื้อน้ามันเชื้อเพลิง หมายถึง ผู้ดาเนินการจัดซื้อน้ามันเชื้อเพลิงจากสถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิง
ตราเครื่องหมายและอักษรแสดงชื่อสังกัด หมายถึง ตราเครื่องหมายประจาของส่วนราชการขนาดกว้าง
และยาวไม่น้อยกว่า 18 เซนติเมตร อักษรชื่อเต็มของส่วนราชการขนาดสูงไม่น้อยกว่า 5 เซนติเมตร หรือชื่อย่อขนาด
สูงไม่น้อยกว่า 7.5 เซนติเมตร ไว้ด้านข้างนอกรถทั้งสองข้าง
1.6 กฎหมาย ระเบียบ และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ในการตรวจปฏิบัติการ การบริหารรถราชการ
1.6.1 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยรถราชการ พ.ศ. 2523 และที่แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 – 6 พ.ศ. 2530
- 2545 ที่กาหนดเกี่ยวกับการจัดหา การใช้รถ การควบคุม การเก็บรักษา และการซ่อมบารุง
1.6.2 แนวทางปฏิบัติในการจัดซื้อน้ามันเชื้อเพลิงเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงานของรัฐ
หนังสือด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/ว 179 ลงวันที่ 9 เมษายน 2561 ตามข้อ 2 รายละเอียด ดังนี้
- การจั ดซื้อน้ ามัน เชื้อเพลิ งตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัส ดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
มาตรา 56 วรรคหนึ่ง (2) (ข) มี 2 กรณี ได้แก่ จัดซื้อจากสถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิงที่ให้เครดิตแก่หน่วยงานของรัฐ
และจัดซื้อจากสถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิงที่ไม่ให้เครดิตแก่หน่วยงานของรัฐ
- จัดซื้อจากสถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิงที่ไม่ให้เครดิตแก่หน่วยงานของรัฐ ให้เจ้าหน้าที่บันทึกรายการในทะเบียน
ควบคุมการจั ดซื้อน้ ามันเชื้ อเพลิ งตามแบบที่ กาหนด และการใช้บัตรเติมน้ามันรถราชการ ตามหนังสื อด่วนมาก ที่ กค
0405.2/ว 89 ลงวันที่ 18 ธันวาคม 2550 เรื่องหลักเกณฑ์และขั้นตอนการใช้บัตรเติมน้ามันรถราชการ
- กรณีการจัดซื้อน้ ามันเชื้อเพลิงตามกฎกระทรวงกาหนดพัส ดุที่รัฐต้องการส่ งเสริมหรือสนับสนุ น และ
กาหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีคัดเลือกและวิธีเฉพาะเจาะจง พ.ศ. 2560
1.6.3 แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันภัยรถราชการ (ที่ กค 0409.6/13052 ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน
2549) ที่กาหนดให้รถราชการต้องจัดให้มีการประกันภัยภาคบังคับตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
ส่วนการประกันภัยภาคสมัครใจให้ส่วนราชการพิจารณาตามความจาเป็นและเหมาะสม

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


3

บทที่ 2
เทคนิคการปฏิบัติงาน
2.1 เทคนิควิธีใช้ในการตรวจสอบรถราชการ
การสัมภาษณ์ การสอบทาน สังเกตการณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลจากการคานวณ ข้อมูลเอกสารหลักฐานต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติงานโดยใช้แบบประเมินการควบคุมภายในเป็นเครื่องมือ พร้อมจดบันทึกประเด็นข้อมูลหรือ
หลักฐานที่ต้องการเพิ่มเติมลงในแบบสอบถาม มีวิธีการตรวจตามประเด็นคาถาม ได้ดังต่อไป
- ประเด็นที่ 1 มีการจัดทาบัญชีทะเบียนคุมรถราชการ (แยกตามประเภทรถราชการ) ให้ขอข้อมูล เอกสาร
หลักฐาน เพื่อใช้ในการตรวจสอบว่ามีการบันทึกทะเบียนคุมถูกต้องครบถ้วนเป็นปัจจุบันหรือไม่
- ประเด็นที่ 2 มีการตราเครื่องหมายประจาของส่วนราชการไว้ด้านข้างนอกรถทั้งสองข้าง ให้สังเกตการณ์
จากสภาพภายนอกของรถว่ามีตราเครื่องหมายดังกล่าวหรือไม่
- ประเด็นที่ 3 การอนุมัติเป็นลายลักษณ์อักษรในใบขออนุญาตใช้รถส่วนกลางก่อนการใช้รถราชการ ให้ขอข้อมูล
เอกสารหลักฐาน ข้อเท็จจริง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง (สุ่มตรวจ 2 เดือน) ว่ามีการดาเนินการตามที่ได้ให้ข้อมูลหรือไม่
- ประเด็นที่ 4 บันทึกการใช้รถราชการทุกครั้งที่ออกใช้งาน (ตั้งแต่ออกเดินทาง – กลับถึงหน่วยงาน) ให้ขอ
ข้อมูล เอกสารหลักฐาน ข้อเท็จจริง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง (สุ่มตรวจ 2 เดือน) โดยการตรวจสมุดประจารถแต่ละคัน
เพื่อตรวจสอบว่าพนักงานขับรถได้บันทึกรายการใช้ทุกครั้ งหรือไม่ ให้สอบถามและตรวจสอบกรณี ใช้รถไปราชการ
ต่างจังหวัด มีการบันทึกการเติมน้ามันกรณีไม่ใช้บัตรเติมน้ามันหรือไม่ ถ้าบันทึกมีการบันทึกรายการดังกล่าวถูกต้อง
หรือไม่ และให้คาแนะนาและกากับให้พนักงานขับรถบันทึกรายการในสมุดประจารถทุกครั้ง ในรายการดังต่อไปนี้
วันที่ เลขกิโลเมตร (ระยะทาง) จานวนเงิน และจานวนลิตรที่เติม หน่วยงานใด หรือผู้ใดเป็นผู้รับผิดชอบค่าน้ามัน
เชื้อเพลิง เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบรายงานการใช้น้ามันเชื้อเพลิงรถแต่ละคัน กลุ่มตรวจสอบภายในจะได้ใช้เป็นข้อมูล
ในการวิเคราะห์อัตราการสิ้นเปลื องน้ามันเชื้อเพลิงได้ถูกต้องตรงตามข้อเท็จจริง มีขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลการ
ใช้น้ามันเชื้อเพลิง เพื่อใช้พิจารณาความเหมาะสมของสภาพรถและการใช้งาน
- ประเด็นที่ 5 มีการต่อทะเบียนรถราชการทุกคันเมื่อครบกาหนด การขอคู่มือจดทะเบียนของรถแต่ละคัน
เพื่อตรวจสอบ รายการจดทะเบียน วันที่ได้มาและการต่อทะเบียนประจาปีว่ามีการต่อทะเบียนเป็นปัจจุบันหรือไม่
- ประเด็นที่ 6 มีหลักฐานการทาประกันภัยของรถแต่ละคัน กรณีทาประกันภัยนอกเหนือจากพระราชบัญญัติ
ผู้ประสบภัยจากรถ ให้สอบถามว่าใช้ประเภทเงินใด และการอนุมัติต่อผู้มอบอานาจถูกต้องหรือไม่
- ประเด็นที่ 7 เมื่อรถราชการเกิดอุบัติเหตุ หรือเสียหาย ให้สอบถามข้อเท็จตรวจสอบการบันทึกถูกต้อง
ครบถ้วนหรือไม่ มีรายงานต่อผู้บังคับบัญชาตามขั้นตอนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่
- ประเด็นที่ 8 มีการจัดทารายละเอียด/ประวัติการซ่อมรถแต่ละคัน มีการบันทึกในประวัติการซ่อมบารุง
ถูกต้องครบถ้วนหรือไม่
- ประเด็นที่ 9 มีการจัดทาทะเบียนคุมการใช้น้ามันเชื้อเพลิง ให้สุ่มตัวอย่าง ว่าการใช้น้ามันเทียบเคียง
กับใบขออนุญาตใช้รถ และการบันทึกการใช้รถ (สุ่มตรวจ 2 เดือน) บันทึกถูกต้องครบถ้วนเป็นปัจจุบันหรือไม่
- ประเด็นที่ 10 มีการจัดทาทะเบียนคุมการใช้บัตรเติมน้ามัน ว่าผู้ควบคุมบันทึกถูกต้องครบถ้วนเป็นปัจจุบันหรือไม่
- ประเด็นที่ 11 สภาพรถราชการแต่ล ะคัน มีความปลอดภัยเพียงพอ ให้สังเกตการณ์และสอบถามว่า
พนักงานขับรถ ได้ตรวจเช็คสภาพรถก่อนใช้งานหรือไม่

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


4

- ประเด็นที่ 12 สถานที่เก็บรักษารถราชการ สังเกตการณ์ว่าเมื่อไม่ได้ใช้งานรถราชการแล้ว พนักงานขับรถ


เก็บรักษารถราชการไว้ในสถานที่ใด มีความปลอดภัยหรือไม่ ให้แนะนาพนักงานขับรถจัดเก็บ รถราชการทุกคันไว้
ในบริเวณของส่วนราชการ เว้นแต่ส่วนราชการไม่มีสถานที่เก็บรักษาปลอดภัยเพียงพอ หรือ มีราชการจาเป็นเร่งด่วน
หรือการปฏิบัติราชการลับ ให้หัวหน้าส่วนราชการหรือผู้ที่ได้รับมอบอานาจพิจารณาอนุญาตให้นารถไปเก็บรักษาที่อื่น
เป็นการชั่วคราวหรือเป็นครั้งคราวก็ได้
- ประเด็นที่ 13 กรณีนารถส่วนกลางไปเก็บรักษาที่อื่นชั่วคราว ได้จัดทาหนังสือขออนุญาตหัวหน้าส่วนราชการหรือไม่
- ประเด็นที่ 14 กรณีได้รับอนุมัติให้จาหน่ายรถราชการ ให้ขอดูว่าได้มีการบันทึ กการจาหน่ายไว้ในบัญชี
รถราชการหรือไม่
- ประเด็นที่ 15 สรุปรายงานการใช้น้ามันเชื้อเพลิงทุกเดือน ทุกคัน ให้ขอข้อมูล เอกสารหลักฐาน ใช้วิธีการคานวณ
เป็นการทดสอบความครบถ้วนถูกต้องของการบันทึกรายการใช้น้ามันเชื้อเพลิงจากการใช้บัตรเติมน้ามัน กรณีมีการเติมน้ามัน
โดยไม่ใช้บัตรเติมน้ามันให้ตรวจสอบดูว่ามีการบันทึกหรือไม่สังเกตอัตราการสิ้นเปลืองน้ามันโดยหาค่าผลต่างระหว่างระยะทาง
กับปริมาณน้ามันที่ใช้แต่ละครั้งหรือหามูลค่าการซ่อมบารุงเพื่อพิจารณาการจัดหารถทดแทนคันเก่าที่เสื่อมสภาพ เป็นต้น
สูตรที่ใช้ในการคานวณ:- อัตราการสิ้นเปลืองน้ามัน = ระยะทาง/ปริมาณน้ามันที่ใช้
2.2 ข้อสังเกตในการตรวจสอบ
รายการที่หน่วยรับตรวจมักจะไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ในการบริหารรถราชการและการรายงานการใช้น้ามันเชื้อเพลิง
- พนักงานขับรถไม่จัดทาสมุดบันทึกการใช้รถหรือบันทึกไม่ครบถ้วน
- ไม่จัดทาใบขออนุญาตการใช้รถส่วนกลาง
- ไม่จัดทาประวัติการซ่อมแซม
- รายงานการใช้น้ามันเชื้อเพลิงหรือการบันทึกระยะทางไม่ถูกต้องไม่ครบถ้วน
แนวปฏิบัติในการควบคุมรถราชการของหน่วยรับตรวจ
- มีการกาหนดรหัสเลขเหมือนครุภัณฑ์อื่นๆ
- มีตราพ่นไว้ข้างรถอย่างชัดเจน
- มีพนักงานขับรถดูแลประจา
- มีหน่วยควบคุมรถราชการ
- เก็บในสถานที่เหมาะสม ปลอดภัย
- ขออนุญาตทุกครั้งที่มีการใช้รถ
- ทาบันทึกการใช้รถ ตามระเบียบโดยครบถ้วน
- มีระบบการควบคุมการเบิกจ่ายน้ามันเชื้อเพลิง
- การสั่งจ่ายน้ามันเชื้อเพลิงต้องทาโดยผู้มีอานาจ
- ทาทะเบียนประวัติ และมีรายละเอียดเพียงพอ
- จัดทาประวัติและบันทึกการซ่อมบารุง
- มีสรุปรายงานการใช้น้ามันเชื้อเพลิง
- มีการต่อทะเบียนรถเป็นปัจจุบันหรือไม่

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


5

บทที่ 3
วิธีการตรวจสอบการบริหารรถราชการ
3.1 การบริหารรถราชการ
การบริหารรถราชการ ในปัจจุบันการบริหารรถราชการมีหลากหลายทางเลือกและหลายปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เช่น
การบริหารโดยการใช้รถที่ส่วนราชการจัดซื้อจัดหาเอง การบริหารโดยการให้ค่าตอบแทนในระดับผู้บริหาร และการบริหาร
แบบใช้รถจากผู้ให้บริการหรือเรียกว่า “รถเช่า” ซึ่งแต่ละทางเลือกส่วนราชการได้กาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติไว้
แตกต่างกัน ในที่นี้จะขอกล่าวถึง การบริหารรถราชการกรณีที่ส่วนราชการใช้รถจากการจัดซื้อจัดหาเองซึ่งต้องมีการควบคุม
ให้เป็นไปตามระเบียบเกี่ยวกับการควบคุมการใช้รถราชการ รวมถึงการใช้วัสดุสิ้นเปลือง การบารุงรักษา ดูแล ซ่อมแซม
การเก็บรักษา และการใช้น้ามันเชื้อเพลิง
3.2 ขั้นตอนการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายใน เมื่อเข้าตรวจปฏิบัติการ
การเตรียมข้อมูล:- ในขั้นตอนนี้ผู้ตรวจสอบภายในที่ต้องทาการศึกษาการตรวจสอบในประเด็นการบริหาร
รถราชการ การจั ดทาทะเบี ย น และการรายงาน การควบคุม การซ่อมบารุ ง การใช้น้ามันเชื้ อเพลิ ง การจั ด ท า
ประกันภัยและการเก็บรักษารถราชการ
การเตรียมกระดาษทาการประเภทการจัดทาเช็คลิสต์การปฏิบัติงาน :- เพื่อให้การเก็บรวบรวมข้อมูลและ
การสัมภาษณ์ ผู้ปฏิบัติงานแต่ละครั้งในการเข้าตรวจได้ข้อมูลประกอบการออกรายงานตามวัตถุประสงค์ของการ
ตรวจสอบที่กาหนดครบถ้วนและถูกต้อง
การตรวจสอบ :-
- ผู้ตรวจสอบภายในจะนาเอกสารหลักฐานที่ได้รับมาทาการตรวจสอบ
- ในการเก็บข้อมูลการปฏิบัติงานของผู้รับตรวจ ผู้ตรวจสอบภายในจะทาการ สัมภาษณ์ ผู้ปฏิบัติงาน
ที่รับผิดชอบ โดยใช้แบบสอบถาม ใช้กระดาษทาการ หรือการถ่ายภาพก็ได้
- กรณีพบประเด็นปัญหาในการปฏิบัติงานของผู้รับตรวจ ให้ผู้ตรวจสอบภายในทาการสอบถามขั้นตอน
การปฏิบัติหรือให้ผู้รับตรวจแสดงขั้นตอนการปฏิบัติงาน เพื่อให้ผู้ตรวจสอบภายในทราบถึงขั้นตอนการปฏิบัตินั้นๆก่อนให้
คาแนะนาหรื อสรุปผลการตรวจกับผู้รั บตรวจ ในขั้นตอนนี้ผู้ตรวจสอบภายในต้องพิจารณาอย่างรอบคอบ ในการเก็ บ
รวบรวมหลักฐานให้ชัดเจนรัดกุมและครบถ้วนเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการออกรายงาน
- การสรุปผลการตรวจสอบพร้อมแนบกระดาษทาการประเภทการจัดทาเช็คลิสต์และหลักฐานต่างๆ
เสนอหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายในเพื่อพิจารณาและปรับปรุงแก้ไข

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


6

3.3 วิธีการตรวจสอบการใช้รถราชการและการใช้น้ามันเชื้อเพลิง
เป็ น การตรวจสอบเพื่อให้ มั่น ใจได้ว่าหน่ว ยรับตรวจมีการควบคุมรถราชการ และควบคุมการใช้น้ามัน
เชื้อเพลิงและบัตรเติมน้ามัน ที่เพียงพอและเหมาะสม สภาพรถเป็นไปตามจริงที่รายงาน และการใช้น้ามันเชื้อเพลิง
ได้ถูกรายงานต่อหน่วยตรวจสอบภายในอย่างถูกต้องครบถ้วน
รายการและข้อมูลเอกสารที่ใช้ในการตรวจสอบ
เอกสารที่ขอจากหน่วยรับตรวจเพื่อทาการ
ประเด็นการตรวจสอบ
ตรวจสอบ
1. การตรวจสอบควบคุมรถราชการ
1.1 แบบบันทึกประเภทรถส่วนกลาง (แบบ 2)  มี ก ารบั น ทึ ก ควบคุ ม ในทะเบี ย นคุ ม ถู ก ต้ อ ง
ครบถ้วนเป็นปัจจุบันหรือไม่
(ใช้วิธีสอบทานจากแบบ 2)

1.2 ใบขออนุญาตการใช้รถ (แบบ 3)  ทุกครั้งที่มีการใช้รถมีผู้ขออนุญาต มีผู้อนุมัติจริง


และพนักงานขับรถบันทึกการใช้ในแบบบันทึก
การใช้รถ จัดทาทุกครั้งหรือไม่
(ใช้วิธีสอบทานและสุ่มตรวจ 2 เดือน จากแบบ 3)

1.3 แบบบันทึกการใช้รถ (แบบ 4)  มีการบันทึก ถูก ต้ องครบถ้ว น ตรงตามข้ อ มู ล


ตามใบขออนุญาตการใช้รถ ตาม ข้อ 1.2.และ
เป็นปัจจุบันหรือไม่
(ใช้วิธีสอบทานและสุ่มตรวจ 2 เดือน จากแบบ 4)

1.4 สมุดคู่มือจดทะเบียน (ที่ออกโดยกรมการ  ตรวจสอบวันที่ได้มา การชาระ ค่าธรรมเนียม


ขนส่งทางบก) และประกันภัยรถราชการ (ต่อทะเบียน ณ กรมการขนส่ง) ว่ าเป็นปัจจุบัน
หรือไม่ และสอบถามผู้ที่รับผิดชอบ ว่าได้จัดทา
ประกันภัยรถราชการหรือไม่
(ใช้วิธีสอบถามและสอบทานจากคู่มือจดทะเบียน)

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


7

เอกสารที่ขอจากหน่วยรับตรวจเพื่อทาการ
ประเด็นการตรวจสอบ
ตรวจสอบ
2. ตรวจสอบการซ่อมแซมบารุงรักษา
2.1 รายงานอุบัติเหตุ (แบบ 5)  ตรวจสอบการบันทึกรายงานอุบัติเหตุครบถ้วน
หรือไม่ สาเหตุการเกิดความเสียหายที่เกิดขึ้น
(ใช้วิธีสอบถามและสอบทานจากแบบ 5)
2.2 แบบบันทึกรายละเอียดการซ่อมบารุง  ตรวจสอบการบันทึกรายการจากรายงานขอ
(แบบ 6) อนุ มั ติ ซ่ อ ม ว่ า ครบถ้ ว นตรงตามรายงานขอ
อนุมัติซ่อมหรือไม่ และมีการบันทึกประวัติการ
ซ่อมบารุงทุกครั้งหรือไม่ เพื่อเก็บประวั ติก าร
ซ่อมบารุงของรถแต่ละคัน
(ใช้วิธีสอบถามและสอบทานจาก แบบ 6)
2.3 ตรวจสภาพรถราชการ  ตรวจสภาพรถราชการทุกคันว่ามีสภาพพร้อม
ใช้งานได้ดีอยู่เสมอหรือไม่
(ใช้วิธีสังเกตการณ์จากสภาพรถราชการตามจริง)
3. ตรวจการควบคุมการใช้น้ามันเชื้อเพลิง
3.1 ทะเบียนคุมการจัดซื้อน้ามันเชื้อเพลิง  มีการบันทึกควบคุมการจัดซื้อน้ามันเชื้อเพลิง
(แบบ 7) รถราชการถูกต้องครบถ้วนเป็นปัจจุบันหรือไม่
(ใช้วิธีสอบทานจากทะเบียนคุม)
3.2 ทะเบียนคุมการใช้บัตรเติมน้ามันรถราชการ  สอบถาม ว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบเก็บรักษาบัตร
(ตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/ว 179 บัตรเติมน้ามันรถราชการ
ลงวันที่ 9 เมษายน 2561) (ใช้วิธีสอบถามและสอบทานจากทะเบียนคุม)

3.3 สรุปรายงานการใช้น้ามันเชื้อเพลิง  ตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกรายงาน


การใช้น้ามันเชื้อเพลิง โดยสังเกตระยะทางกับ
ปริมาณการใช้ว่าเหมาะสมถูกต้องหรือไม่
(ใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลจากการคานวณและ
สอบทานสุ่มตรวจจากรายงาน 2 เดือน)

4. สังเกตสถานที่เก็บรักษารถราชการ
ผู้ตรวจสอบสังเกตสถานที่เก็บรักษารถราชการ  สั ง เกตสถานที่ เ ก็ บ รั ก ษารถราชการเพื่ อ ดู ว่ า
สถานที่เก็บรักษามีความปลอดภัยหรือไม่ และ
หลังสิ้นวันหากไม่มีการใช้งานมีการนารถทุกคัน
เก็บรักษา ในสถานที่ที่จัดเก็บให้ทุกครั้งหรือไม่
(ใช้วิธีสังเกตการณ์)

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


8

3.4 ภาพจาลองของสถานการณ์เข้าตรวจสอบการบริหารรถราชการ
บุคคลที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ สมมติให้เป็นผู้ตรวจสอบภายใน ของกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี ชื่อเปียว
สมมติให้เป็นพนักงานขับรถประจาสานักงาน ชื่อพี่นุ
บทสนทนาสังเกตการณ์และสอบถามข้อมูลเบื้องต้น

สวัสดีครับ ผมเปียว
มาจากกลุ่มตรวจสอบ สวัสดีครับ พี่ชื่อ นุ
ภายใน กรมบังคับคดี เป็นพนักงานขับรถ
นะครับ พี่ชื่ออะไร ประจาสานักงานนี้ ได้ครับ
ครับ ครับ น้องเปียว
วันนี้เปียวเข้า
ตรวจสอบ เรื่อง
การบริหารใช้รถ
ราชการนะครับ มี 2 คัน ได้แก่
รถตู้ 1 คัน
รถจักรยานยนต์
อีก 1 คันครับ
เก็บไว้โรงจอดรถ
อยากทราบว่ามี สานักงานครับ
รถกี่คัน จอดไว้ที่
ไหนบ้างครับ
รบกวนพี่พาเปียว ยินดีครับน้อง
ไปตรวจสภาพรถ
ได้ไหมครับ

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


9

ตรวจสภาพรถราชการ

รบกวนให้
พี่นุเปิดรถ
ให้หน่อย
ครับ

จะดูอะไรบ้าง ได้ครับ
1. ภายนอกรถว่ามีตราสานักงานไหม
2. สภาพรถภายในใช้งานได้ดีไหม
3. มีสมุดจดทะเบียนหรือเปล่า เป็นไงบ้าง
4. มีประกันภัยรถไหม ครับน้อง
5.น้ามันและกม./ไมล์ล่าสุดเท่าไร เปียว

ขอบคุณ
ครับพี่นุ
บอกมาเลย
เรียบร้อยดีครับพี่นุ ครับน้องเปียว
รบกวนพี่ช่วยจัดเตรียม เดี่ยวพี่เตรียม
เอกสารเพิ่มเติมให้หน่อย ไว้ให้
ครับ

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


10

ขอเอกสารหลักฐานที่สาคัญ ได้แก่
- แบบบั นทึ กจั ดท าบั ญชี ทะเบี ย นรถราชการ (แยกตาม
ประเภทรถราชการ (แบบ 2)
- ใบขออนุญาตการใช้รถราชการ (แบบ 3)
- แบบบันทึกการใช้รถราชการ (แบบ 4)
- สมุดคู่มือจดทะเบียนและการประกันภัยรถราชการ
- รายงานอุบัติเหตุ (แบบ 5) เมื่อเกิดอุบัติเหตุให้สอบถาม
ก่อนว่ามีการเกิดอุบัติเหตุหรือไม่ ถ้ามีให้ขอรายงาน แต่ถ้าไม่มี
ก็ไม่ต้องขอรายงานก็ได้
- แบบบันทึกรายละเอียดการซ่อมบารุง (แบบ 6)
- ทะเบียนคุมการจัดซื้อน้ามันเชื้อเพลิง (แบบ 7)
- ทะเบียนคุมการใช้บัตรเติมน้ามันรถราชการ (ตามหนังสือ
ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/ว 179 ลงวันที่ 9 เมษายน 2561)
- สรุปรายงานการใช้น้ามันเชื้อเพลิง
- เอกสารหลักฐานอื่นๆ

ระเบียบที่เกี่ยวข้ องเพื่อใช้ ในการตรวจสอบ ได้ แก่ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่า


ด้วยรถราชการ พ.ศ. 2523 และที่แก้ไขเพิ่มเติม , แนวทางปฏิบัติในการ
จัดซื้อน้ามันเชื้อเพลิงเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงานของรัฐ
หนังสือด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/ว 179 ลงวันที่ 9 เมษายน 2561,
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันภัยรถราชการ (ที่ กค 0409.6/13052
ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน 2549)

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


11

เมื่อได้ข้อมูลที่ถูกต้องแล้ว ให้นามาวิเคราะห์ผลการตรวจสอบ โดยกรอกเครื่องหมาย


√ (มี/ใช่) หรือ X (ไม่มี/ไม่ใช่) ลงในแบบประเมินการควบคุมการใช้รถราชการ
ซึ่งมีทั้งหมด 15 ประเด็น ได้แก่
1. มีจัดทาบัญชีทะเบียนคุมรถราชการ (แยกตามประเภทรถราชการ) ?
2. มีการตราเครื่องหมายประจาของส่วนราชการ ?
3. มีใบขออนุญาตใช้รถส่วนกลางก่อนการใช้รถราชการ ?
4. บันทึกการใช้รถราชการทุกครั้งที่ออกใช้งาน ?
5. มีการต่อทะเบียนรถราชการทุกคนเมื่อครบกาหนด ?
6. มีการจัดทาประกันภัยรถราชการ ?
7. เมื่อรถราชการเกิดอุบัติเหตุหรือเสียหาย มีรายงานต่อหัวหน้าส่วนราชการ ?
8. มีรายละเอียด / ประวัติการซ่อมรถราชการเป็นรายคัน ทุกคัน ?
9. มีการจัดทาทะเบียนคุมการใช้น้ามันเชื้อเพลิงเป็นรายคัน ทุกคัน ?
10. เมื่อเติมน้ามันมีการจดบันทึกในแบบบันทึกทุกครั้ง ?
11. รถราชการมีสภาพพร้อมใช้งานและปลอดภัยเพียงพอ ?
12. สถานที่เก็บรักษารถราชการปลอดภัย ?
13. จัดทาหนังสือขออนุญาตหัวหน้าส่วนราชการ ก่อนนารถไปเก็บรักษาที่อื่น ?
14. เมื่อได้รับอนุมัติให้จาหน่ายรถราชการ ได้บันทึกการจาหน่ายไว้ในบัญชีทะเบียน ?
15. มีสรุปรายงานการใช้น้ามันเชื้อเพลิงทุกเดือน ?

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


12

จากประเด็นทั้ง 15 ข้อ มี 3 ประเด็น ที่ต้องใช้วิธีสุ่มตรวจ (อย่างละ 2 เดือน) เพื่อเทียบเคียงกันให้ถูกต้องครบถ้วน


เป็นปัจจุบัน ได้แก่
1. การบันทึกการใช้รถราชการ (แบบ 4)
2. ใบขออนุญาตใช้รถส่วนกลาง (แบบ 3)
3. สรุปรายงานการใช้น้ามันเชื้อเพลิงทุกเดือน
ข้อสังเกตในการตรวจสอบที่พบบ่อยๆ
- พนักงานขับรถไม่จัดทาสมุดบันทึกการใช้รถหรือบันทึกไม่ครบถ้วน
- ไม่จัดทาใบขออนุญาตใช้รถส่วนกลาง
- ไม่จัดทาประวัติการซ่อมแซม
- รายงานการใช้นามั
้ นเชื้อเพลิงหรือการบันทึกระยะทางไม่ถูกต้องไม่
ครบถ้วน
ผู้ตรวจสอบต้องเป็นผู้แนะนาและให้คาปรึกษาแนวปฏิบัติที่ถูกต้อง
ให้กับหน่วยรับตรวจ
เมื่อนารถราชการไปใช้ ผู้ขอใช้รถให้จัดทาใบขออนุญาตเสนอหัวหน้า
ส่วนราชการทราบลงนามกากับ และพนักงานขับรถราชการบันทึกการใช้รถทุกครั้ง
(ตั้งแต่ออกเดินทาง – กลับถึงหน่วยงาน) แล้วให้ผู้ขอใช้รถ ลงนามกากับ
ค่าน้ามันเชื้อเพลิงให้บันทึกในทะเบียนคุมการใช้น้ามันเชื้อเพลิงทุกครั้ง
แล้วสรุปรางานการใช้น้ามันเชื้อเพลิงรถราชการประจาทุกเดือนด้วย

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


13

เข้าประชุมเพื่อหาข้อสรุปผลการตรวจสอบกับหัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายใน
ผู้ตรวจสอบภายในสรุปผลการตรวจสอบพร้อมแนบกระดาษทาการประเภทจัดทาเช็ค
ลิสต์และหลักฐานต่างๆที่สาคัญ เสนอหัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายในเพื่อพิจารณาและปรับปรุง
แก้ไข
ประชุมปิดตรวจกับหน่วยรับตรวจ
หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายใน สรุปผลการตรวจสอบของหน่วยรับตรวจทั้งข้อดีและ
ข้อเสีย/ปัญหาอุปสรรค เพื่อแนะนาและให้คาปรึกษาต่อไป

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


14

บรรณานุกรม
ระเบี ย บส านั กนายกรั ฐ มนตรี ว่า ด้ว ยรถราชการ พ.ศ. 2523 แก้ไขเพิ่มเติ มโดยระเบียบส านั ก
นายกรัฐมนตรีว่าด้วยรถราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2530 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2538
(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2541 และ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2545
แนวทางปฏิบัติในการจัดซื้อน้ามันเชื้อเพลิงเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงานของรัฐ
หนังสือด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) 0405.2/ว 179 ลงวันที่ 9 เมษายน 2561
หลักเกณฑ์การประกันภัยรถราชการ (ที่ กค 0409.6/13052 ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน 2549)
ที่กาหนดให้รถราชการต้องจั ดให้ มีการประกันภัยภาคบังคับตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจาก
รถ ส่วนการประกันภัยภาคสมัครใจให้ส่วนราชการพิจารณาตามความจาเป็นและเหมาะสม

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


15

ภาคผนวก

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


16

กระดาษทาการ
และตัวอย่างแบบเอกสาร
การควบคุมรถราชการ

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


17

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


18

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


19

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


20

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


21

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


22

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


23

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


24

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


25

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


26

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


27

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


28

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


29

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


30

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


31

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


32

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


33

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


34

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


35

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


36

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


37

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


38

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


39

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


40

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


41

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


42

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


43

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


44

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


45

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


46

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


47

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


48

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


49

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


50

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


51

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


52

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี


53

ขอบคุณครับ

คู่มือฉบับนี้ จัดทาโดย

นายกฤดากร สารทนงค์

และนางสาวบุษกร นุตาลัย

ตาแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชี

กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี

คู่มือการตรวจสอบ บริหารรถราชการ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน กรมบังคับคดี

You might also like